SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
ก
อนุมัติโครงการ
โครงการ ปลูกผักสวนครัวรอบรั้วโรงเรียน ตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง
Grow vegetables around the school fence The Sufficiency Economy
ผู้จัดทาโครงการ ๑. นรจ.ณภัทร รัตนวงษ์ เลขที่ ๖
๒. นรจ.สิทธา บุญรักษา เลขที่ ๑๓
๓. นรจ.กฤตยชญ์ เกื้อก่อยอด เลขที่ ๑๔
๔. นรจ.ภานุวัฒน์ งาวิจิตร เลขที่ ๒๘
๕. นรจ.ดนุพร จีนย้าย เลขที่ ๓๓
ครูประจาวิชา ร.ท.หญิง ญาดา วะตะ
ได้รับอนุมัติให้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชาโครงการวิชาชีพสายพลาธิการ ๒ หลักสูตรนักเรียนจ่า
พรรคพิเศษ เหล่าทหารพลาธิการ โรงเรียนพลาธิการ กรมพลาธิการทหารเรือ ปีการศึกษา ๒๕๖๑
อนุมัติ ไม่อนุมัติ
ลงชื่อ
(ณภัทร รัตนวงษ์)
ลงชื่อ
(สิทธา บุญรักษา)
ลงชื่อ
(กฤตยชญ์ เกื้อก่อยอด)
ลงชื่อ
(ภานุวัฒน์ งาวิจิตร)
ลงชื่อ
(ดนุพร จีนย้าย)
ลงชื่อ ร.ท.หญิง
( ญาดา วะตะ)
ครูประจาวิชาโครงการวิชาชีพสายพลาธิการ
ก
หัวข้อโครงการ ปลูกผักสวนครัวรอบรั้วโรงเรียน ตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง
Grow vegetables around the school fence The Sufficiency Economy
ผู้จัดทา ๑. นรจ.ณภัทร รัตนวงษ์ เลขที่ ๖
๒. นรจ.สิทธา บุญรักษา เลขที่ ๑๓
๓. นรจ.กฤตยชญ์ เกื้อก่อยอด เลขที่ ๑๔
๔. นรจ.ภานุวัฒน์ งาวิจิตร เลขที่ ๒๘
๕. นรจ.ดนุพร จีนย้าย เลขที่ ๓๓
ครูประจาวิชา ร.ท.หญิง ญาดา วะตะ
วิชา โครงการวิชาชีพสายพลาธิการ ๒
ปีการศึกษา ๒๕๖๑
บทคัดย่อ
โครงการปลูกผักสวนครัวรอบรั้วโรงเรียน ตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถ
ปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษได้ตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ สามารถถ่ายทอดความรู้ในการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษให้แก่
นร.พลฯ ที่เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ความเข้าใจและสามารถนาไปปฏิบัติจริงในชีวิตประจาวันได้ โดยมีระยะเวลาในการ
ดาเนินการตั้งแต่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ ถึง ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒และมีวิธีการดาเนินการดังนี้ (๑) สารวจพื้นที่บริเวณว่างเปล่า ของ
โรงเรียนพลาธิการกรมพลาธิการทหารเรือ (๒)ศึกษาแนวทางการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ จากเอกสารต่าง ๆ (๓) วางแผนการ
ดาเนินโครงการ ตั้งแต่กาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของสมาชิกภายในกลุ่มการคัดเลือกชนิดผักสวนครัวที่เหมาะสมกับสภาพดินของ
รร.พธ.ฯและความต้องการของผู้บริโภค การประมาณจานวนของผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ ระยะเวลาในการเก็บเกี่ยวผลผลิต
วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ การเตรียมดิน การผลิตน้าหมักชีวภาพ การเก็บเกี่ยวผลผลิต รวมทั้งการถ่ายทอดความรู้ในการปลูกผัก
สวนครัวปลอดสารพิษ (๔) ดาเนินโครงการตามแผนงานที่ได้กาหนดไว้ (๕) ประเมินผลโครงการ และ (๖) สรุปผลการ
ดาเนินงาน
ผลการดาเนินงาน สรุปได้ดังนี้ คณะผู้ดาเนินทาโครงการได้คัดเลือกพื้นที่ว่างข้างห้องเรียนชงกาแฟ โรงเรียนพลาธิการ
กรมพลาธิการทหารเรือ ในการทาแปลงผักสวนครัวปลอดสารพิษ ผักสวนครัวที่ผลิตได้ มี ๔ ชนิด ได้แก่ ผักบุ้ง ๕ แปลง ได้
ผลผลิตจานวน ๑๐ กิโลกรัม ผักคะน้า ๒ แปลง ได้ผลผลิตจานวน ๔ กิโลกรัม กวางตุ้ง ๒ แปลง ได้ผลผลิตจานวน ๓ กิโลกรัม
ผักชี ๑ แปลง ได้ผลผลิตจานวน ๑ กิโลกรัม และพริก ๕๐ ต้น โดยนาไปจาหน่ายให้แก่โรงครัว และข้าราชการ รร.พธ.ฯ มูลค่า
ทั้งสิ้น ๘๐๐ บาท และผลิตน้าหมักชีวิภาพได้จานวน ๓๐ ลิตร สาหรับประโยชน์ปุ๋ยหมักชีวภาพ ๑. ช่วยปรับสภาพความเป็น
กรด - ด่าง ในดิน ๒. ช่วยปรับสภาพโครงสร้างของดินให้ร่วนซุย อุ้มน้าและอากาศได้ดียิ่งขึ้น ๓. ช่วยย่อยสลายอินทรีย์วัตถุใน
ดินให้เป็นธาตุอาหารแก่พืช ๔.ช่วยเร่งการเจริญเติบโตของพืชให้สมบูรณ์ แข็งแรงตามธรรมชาติ ต้านทานโรคและแมลง
๕. ช่วยสร้างฮอร์โมนพืช ทาให้ผลผลิตสูง และคุณภาพของผลผลิตดีขึ้น นอกจากนี้ คณะผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ถ่ายทอดความรู้
และเทคนิคในการปลูกผักปลอดสารพิษให้แก่ นร.พลฯ ที่เข้าร่วมโครงการจานวน ๑ ครั้ง นร.พลฯ ที่เข้าร่วมโครงการทั้งหมด มี
จานวน ๒๐ นาย การทดสอบความรู้ นร.พลฯ ที่เข้าร่วมโครงการ พบว่า นร.พลฯ ร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
วิธีการปลูกผักปลอดสารพิษในระดับสูง มีคะแนนเฉลี่ย ๙.๗ จากคะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน โดยประเด็นที่นร.พลฯ ที่เข้าร่วม
โครงการมีคะแนนสูงสุด ได้แก่ กากกาแฟสามารถนามากันหอยทากกินพืชผักได้ ข้อเสนอแนะการทาโครงการในครั้งต่อไป
ควรมีการจัดทาโครงการปลูกผักสวนครัวอย่างต่อเนื่องและมีการเพิ่มชนิดผักให้หลากหลายมากขึ้น และจัดทาเป็นแหล่งเรียนรู้
สาหรับผู้ที่สนใจศึกษา
ข
กิตติกรรมประกาศ
โครงการปลูกผักสวนครัวรอบรั้วโรงเรียน ตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียงนี้ สาเร็จได้ด้วย
ความกรุณาของ ร.ท.หญิง ญาดา วะตะ ครูที่ปรึกษาโครงการ ซึ่งได้คอยให้คาปรึกษาข้อชี้แนะ และความ
ช่วยเหลือในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการจัดทาโครงการ การดาเนินโครงการ และการจัดทารูปเล่มรายงาน รวมทั้ง
น.ท.หญิง ปาริชาติ ช่อทองดี ที่ได้ให้ข้อเสนอและคาแนะนาเพิ่มเติม จนกระทั่งโครงการประสบความสาเร็จ
ลุล่วงไปด้วยดีตามเป้าหมายที่ได้กาหนดไว้ คณะผู้จัดทาโครงการจึงใคร่ขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมาณที่นี้
ขอบคุณสมาชิกในกลุ่มทุกคน ที่ให้ความร่วมมือ ร่วมแรงร่วมใจ ศึกษาหาข้อมูลเพื่อเป็น
แนวทางในการดาเนินโครงการร่วมกันช่วยแก้ไขปัญหาที่ขึ้น รวมทั้งเพื่อร่วมรุ่ม ได้แก่ นรจ.พีระพงษ์ ภู่ชัย
และ นรจ.กรศิพงศ์ ไวกูณฐอนุชิต ที่เป็นทั้งกาลังแรงงานและกาลังทางสติปัญญาช่วยสนับสนุนให้โครงการ
ปลูกผักสวนครัวรอบรั้วโรงเรียน ตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียงได้ดาเนินการสาเร็จลุล่วงตาม
วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้
สุดท้ายนี้คณะผู้จัดทาโครงการปลูกผักสวนครัวรอบรั้วโรงเรียน ตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง
ขอน้อมราลึกถึง พระคุณบิดา มารดา ครูอาจารย์ทุกท่านที่ได้กรุณาอบรมสั่งสอน รวมทั้งบุคคลในครอบครัวทุกคน
ที่อยู่เบื้องหลังความสาเร็จในครั้งนี้
คณะผู้จัดทา
๑. นรจ.ณภัทร รัตนวงษ์ เลขที่ ๖
๒. นรจ.สิทธา บุญรักษา เลขที่ ๑๓
๓. นรจ.กฤตยชญ์ เกื้อก่อยอดเลขที่ ๑๔
๔. นรจ.ภานุวัฒน์ งาวิจิตร เลขที่ ๒๘
๕. นรจ.ดนุพร จีนย้าย เลขที่ ๓๓
ค
คานา
โครงการปลูกผักสวนครัวรอบรั้วโรงเรียน ตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง จัดทาขึ้นตาม
วัตถุประสงค์ของวิชาโครงการวิชาชีพสายพลาธิการ ที่ต้องการให้ผู้เรียนได้บูรณาการความรู้ ทักษะ และ
ประสบการณ์เพื่อวางแผนสร้างและหรือพัฒนางานในสาขาวิชาชีพ ด้วยกระบวนการทดลอง สารวจ
ประดิษฐ์ คิดค้น หรือการปฏิบัติงานเชิงระบบ เนื้อหาส่วนใหญ่จะกล่าวถึง การปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ
โดยได้น้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดาเนินงาน นอกจากนี้คณะผู้จัดทาได้แบ่งการศึกษา
ออกเป็นขั้นตอนตั้งแต่การศึกษาค้นคว้าข้อมูลเบื้องต้นจากเอกสารและโครงการที่เกี่ยวข้อง วิธีการดาเนิน
โครงการ ผลการดาเนินโครงการ จนถึงบทสรุปและข้อมูลเสนอแนะเกี่ยวกับโครงการ
เนื้อหาภายในเล่มเกิดจากการศึกษาข้อมูลจากเอกสารและแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ในการจัดทาโครงการ
แล้วนามาบูรณาการกับความรู้พื้นฐานเดิมของสมาชิกภายในกลุ่ม จากนั้นผู้จัดทาโครงการได้นาข้อมูลที่
รวบรวมได้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อกาหนดเป็นแนวทางการปลูกผักสวนครัวที่เหมาะสมกับบริบทของ
โรงเรียนมากที่สุด แล้วนาไปใช้ในการปฏิบัติจริง บริเวณพื้นที่ว่าง ของโรงเรียนพลาธิการ กรมพลาธิการทหารเรือ
ซึ่งใช้เป็นแหล่งเรียนรู้และทดลองสาหรับ นรจ. ในการปลูกผักสวนครัวแบบปลอดสารพิษ สาหรับรายงานฉบับนี้
ผู้ที่สนใจหรือสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวข้องสามารถนาข้อมูลและความรู้ไปประยุกต์ใช้ แก้ปัญหา ปรับปรุง หรือแก้ไข
เพิ่มเติม เพื่อความเหมาะสมกับบริบทและพื้นที่ของตนเอง อย่างไรก็ตาม รายงานโครงการปลูกผักสวนครัว
รอบรั้วโรงเรียน ตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง ฉบับนี้ยังมีข้อจากัดหลายประการในดาเนินการ
และอาจมีข้อผิดพลาดบางประการ อันเนื่องมาจากความรู้ความเข้าใจของคณะผู้จัดทาโครงการ จึงใคร่ขออภัย
มา ณ ที่นี้
ท้ายที่สุดนี้ คณะผู้จัดทาโครงการปลูกผักสวนครัวรอบรั้วโรงเรียน ตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง
ขอขอบพระคุณผู้อานวยการโรงเรียนพลาธิการ กรมพลาธิการทหารเรือ คณะผู้บริหาร และคุณครูทุกท่านที่ให้
ความรู้และให้คาแนะนาในการจัดโครงการ การศึกษาค้นคว้าข้อมูล ตลอดจนการเขียนรายงานและการจัดทา
โครงการ จนสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี
คณะผู้จัดทา
๑. นรจ.ณภัทร รัตนวงษ์ เลขที่ ๖
๒. นรจ.สิทธา บุญรักษา เลขที่ ๑๓
๓. นรจ.กฤตยชญ์ เกื้อก่อยอดเลขที่ ๑๔
๔. นรจ.ภานุวัฒน์ งาวิจิตร เลขที่ ๒๘
๕. นรจ.ดนุพร จีนย้าย เลขที่ ๓๓
สารบัญ
ง
เรื่อง หน้า
หน้าอนุมัติโครงการ ก
บทคัดย่อ ข
กิตติกรรมประกาศ ค
คานา ง
สารบัญ จ
สารบัญ (ต่อ) ฉ
บทที่ ๑ บทนา
๑.๑ หลักการและเหตุผล ๑
๑.๒ วัตถุประสงค์ ๒
๑.๓ ขอบเขตของโครงการ ๒
๑.๔ เป้าหมายของโครงการ ๒
๑.๕ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๒
บทที่ ๒ เอกสารและโครงการที่เกี่ยวข้อง
๒.๑ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓
๒.๒ การปลูกผักสวนครัวแบบปลอดสารพิษ ๘
๒.๓ หลักการทาปุ๋ยหมักจากเศษอาหาร ๑๒
บทที่ ๓ วิธีการดาเนินโครงการ
๓.๑ การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการจัดการโครงการ ๑๓
๓.๒ ประชากรที่ใช้ในการดาเนินโครงการ ๑๓
๓.๓ สถานที่และระยะเวลาดาเนินโครงการ ๑๓
๓.๔ การดาเนินโครงการ ๑๓
๓.๕ เครื่องมือที่ใช้ในโครงการ ๑๗
๓.๖ การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในโครงการ ๑๗
๓.๗ การเก็บรวบรวมข้อมูล ๑๗
๓.๘ การวิเคราะห์ข้อมูล ๑๗
บทที่ ๔ ผลการดาเนินโครงการ
๔.๑ ผลผลิตจากการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ ๑๘
๔.๒ ความรู้ความเข้าใจเรื่องการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ ๑๙
จ
สารบัญ (ต่อ)
เรื่อง หน้า
บทที่ ๕ สรุปผล และข้อเสนอแนะ
๕.๑ สรุปผลการดาเนินการ ๒๑
๕.๒ ปัญหาและอุปสรรคในการทาโครงการ ๒๑
๕.๓ ข้อเสนอแนะในการทาโครงการครั้งต่อไป ๒๒
บรรณานุกรม ๒๓
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก. ๒๔
ภาคผนวก ข. ๒๙
ประวัติผู้จัดทา ๓๐
๑
บทที่ ๑
บทนา
หลักการและเหตุผล
โรงเรียนพลาธิการ กรมพลาธิการทหารเรือ เป็นสถาบันการศึกษาวิชาชีพสายพลาธิการของกองทัพเรือ
มีภารกิจหลักในการจัดการศึกษาอบรมและพัฒนาทหารเหล่าพลาธิการทุกระดับ ได้แก่ นายทหารสัญญาบัตร
นายทหารชั้นประทวน นักเรียนจ่า และนักเรียนพลทหาร ทางโรงเรียนพลาธิการ กรมพลาธิการทหารเรือ
ได้มีการจัดเลี้ยงอาหารให้แก่นักเรียนทุกหลักสูตรที่เข้ามาศึกษาอบรม โดยรายการอาหารทุกมื้อมีผักเป็น
ส่วนประกอบหลัก เพราะในผักประกอบด้วยใยอาหารที่ช่วยในเรื่องของระบบขับถ่าย รวมทั้งเป็นแหล่งของ
วิตามิน และแร่ธาตุที่จาเป็นต่อร่างกาย ซึ่งจะทาให้นักเรียนได้รับสารอาหารครบ ๕ หมู่ นอกจากนี้
นพ.ธเรศ กรัษนัยรวิวงศ์ ได้ให้ข้อมูลกับหนังสือพิมพ์มติชน เมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ว่า
ข้อมูลขององค์การอนามัยโลก พบว่า การรับประทานผักผลไม้มากกว่า ๔๐๐ กรัมต่อวัน จะช่วยป้องกันโรค
ต่าง ๆ ได้ เช่น โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โรคหัวใจขาดเลือด เส้นเลือดสมองตีบ มะเร็งกระเพาะอาหาร มะเร็งปอด
มะเร็งลาไส้ใหญ่ เป็นต้น จากการสอบถามข้อมูลเจ้าหน้าที่จัดเลี้ยง โรงเรียนพลาธิการ กรมพลาธิการทหารเรือ
ในเบื้องต้น พบว่า ผักที่นามาประกอบอาหารนั้น เป็นผักที่จัดซื้อจากท้องตลาด ซึ่งผักส่วนใหญ่มักมีการ
ปนเปื้อนสารเคมี แม้ก่อนการปรุงอาหารจะล้างทาความสะอาด แต่ก็ไม่สามารถชะล้างออกได้หมด
ซึ่งเมื่อบริโภคเข้าไปจะทาให้เกิดการสะสมของสารพิษในร่างกาย ส่งผลให้ร่างกายเกิดความเจ็บป่วย
และเกิดโรคชนิดต่าง ๆ และผักผลไม้ส่วนใหญ่ที่พบปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุด ๗อันดับแรก ได้แก่ พริกถั่วฝักยาว
คะน้า มะเขือยาว มะเขือเปราะ มะเขือเทศ และส้ม ซึ่งส่วนใหญ่จะพบสารกาจัดศัตรูพืช เช่น ไซเปอร์เมทริน
คาร์ไบฟูราน และคลอร์ไพริฟอส เนื่องจากเป็นพืชที่พบแมลงศัตรูพืชได้ง่าย
จากการสารวจพื้นที่โรงเรียนพลาธิการ กรมพลาธิการทหารเรือ พบว่า มีพื้นที่รอบบริเวณโรงเรียนพลาธิการ
กรมพลาธิการทหารเรือ สามารถนามาใช้ประโยชน์ในการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษได้ ดังนั้น
กลุ่มผู้จัดทาจึงมีแนวคิดที่จะจัดทาโครงการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ รอบรั้วโรงเรียนพลาธิการ กรมพลาธิการทหารเรือ
โดยน้อมนาแนวคิดตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช
เพราะผักสวนครัวเป็นพืชที่ปลูกง่าย เป็นอาหารที่มีประโยชน์มีคุณค่าทางอาหารสูง สามารถนาไปประกอบ
อาหารได้หลากหลาย สามารถบริโภคได้ทุกเพศทุกวัย ซึ่งจะทาให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่ดี อีกทั้งยังช่วย
ลดค่าใช้จ่ายของโรงเรียนพลาธิการ กรมพลาธิการทหารเรือ เป็นการพึ่งพาตนเอง สามารถดาเนินชีวิตให้
เข้ากับสภาพแวดล้อมในปัจจุบัน ลดความเสี่ยงจากสารเคมีสะสมในร่างกาย และมีสุขภาพที่สมบูรณ์
แข็งแรง
๒
วัตถุประสงค์ของโครงการ
๑. สามารถปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษได้ตามเป้าหมายที่กาหนดไว้
๒. สามารถถ่ายทอดความรู้ในการปลูกผักสวนครัวให้แก่ นร.พลฯ ที่เข้าร่วมโครงการได้
๓. นักเรียน พลฯ ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษและ
สามารถนาไปปฏิบัติในชีวิตประจาวันได้
ขอบเขตของโครงการ
๑. ปลูกผักสวนครัวบริเวณพื้นที่ว่างข้างห้องเรียนชงกาแฟโรงเรียนพลาธิการกรมพลาธิการทหารเรือ
๒. ผักสวนครัวที่ปลูกในโครงการ ได้แก่ ผักชี ผักบุ้ง พริก คะน้า กวางตุ้ง ฯ
๓. ถ่ายทอดความรู้ในการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษให้แก่นักเรียนพลฯ ผลัด ๒/๖๒ ที่สนใจ
เข้าร่วมโครงการ จานวน ๒๐ คน เท่านั้น
เป้าหมายและตัวชี้วัดของโครงการ
๑. ผลผลิตจากการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ ประกอบด้วย
๑.๑ ผักบุ้ง ๕ แปลง
๑.๒ ผักคะน้า ๒ แปลง
๑.๓ กวางตุ้ง ๒ แปลง
๑.๔ ผักชี ๑ แปลง
๑.๕ พริก ๕๐ ต้น
๑.๖ น้าหมักชีวภาพ ๓๐ ลิตร
๒. นักเรียนจ่า ถ่ายทอดความรู้และขั้นตอนการปลูกผักปลอดสารพิษให้แก่ นักเรียนพลฯ ที่เข้าร่วม
โครงการ ๑ ครั้ง
๓. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๘๕ มีความรู้ความเข้าใจในการปลูกผักปลอดสารพิษในระดับมาก
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
๑. นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม
๒. นักเรียนมีสุขภาพที่ดีร่างกายเจริญเติบโตแข็งแรง
๓. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการปลูกผักสวนครัวแบบปลอดสารพิษและสามารถนาไปใช้ปฏิบัติ
ได้จริงในชีวิตประจาวัน
๔. โรงเรียนพลาธิการ กรมพลาธิการทหาเรือ เป็นแหล่งการเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ให้กับนักเรียนพลฯ ในการนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน
๓
บทที่ ๒
เอกสารและโครงการที่เกี่ยวข้อง
โครงการ ปลูกผักสวนครัวรอบรั้วโรงเรียน ตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง คณะผู้จัดทา
โครงการได้ศึกษาเอกสารและโครงการที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินโครงการ โดยประกอบด้วย
หัวข้อดังนี้
๑. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๒. การปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ
๓. หลักการทาปุ๋ยหมัก
๑. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ผลการพัฒนาประเทศสู่ความทันสมัย ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแก่สังคมไทยอย่างมากในทุกด้าน
ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม สังคมและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การเพิ่มขึ้นของอัตราการ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความเจริญทางวัตถุ และการสาธารณูปโภคต่าง ๆ ระบบสื่อสารที่ทันสมัย หรือ
การขยายปริมาณและกระจายการศึกษาที่ทั่วถึงมากขึ้น กระจายไปสู่สังคมชนบท หรือผู้ด้อยโอกาสในสังคม
แต่ก็ได้ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสังคมในหลายด้าน อาทิ การขยายตัวของภาครัฐเข้าสู่ภาคชนบท
ได้ส่งผลให้สังคมชนบทเกิดความอ่อนแอและดารงอยู่ในลักษณะที่ต้องอาศัยและพึ่งพิงตลาดและพ่อค้าคนกลาง
ในการสั่งสินค้า ก่อให้เกิดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ และทาให้การรวมกลุ่มกันตามประเพณี
เพื่อการจัดการทรัพยากรที่เคยมีอยู่แต่เดิมล่มสลายลง ภูมิความรู้หรือภูมิปัญญาที่เคยใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ
ที่สั่งสมและสืบทอดกันมานั้นถูกลืมเลือนและเริ่มสูญหายไป สิ่งสาคัญ ก็คือ ความพอเพียงในการดาเนิน
ชีวิต ซึ่งเป็นเงื่อนไขพื้นฐานที่ทาให้คนไทยสามารถพึ่งตนเอง และดาเนินชีวิตไปได้อย่างมีศักดิ์ศรีภายใต้อานาจ
และความอิสระในการกาหนดชะตาชีวิตของตนเอง รวมทั้งความสามารถในการควบคุมและจัดการปัญหาต่าง ๆ
ได้ด้วยตนเองเหล่านี้ถือว่าเป็นศักยภาพพื้นฐานที่คนไทยและสังคมไทยเคยมีอยู่แต่เดิม และได้รับผลกระทบ
จากวิกฤตเศรษฐกิจปัญหาฟองสบู่และปัญหาความอ่อนแอของชนบท รวมทั้งปัญหาอื่น ๆ ที่เกิดขึ้น ล้วนแต่
เป็นข้อพิสูจน์และยั่งยืนปรากฎการณ์นี้ได้เป็นอย่างดี (มูลนิธิชัยพัฒนา, ๒๕๕๙)
๑.๑ ความเป็นมาของเศรษฐกิจพอเพียง
คาว่า “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรง
มีพระราชดารัสชี้แนะแนวทางในการดาเนินชีวิตให้แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๓๐ ปี
(ดวงใจ เปลี่ยนศรี, ๒๕๖๑)
การบรรลุเป้าหมายในการสร้าง “ความพออยู่พอกิน” ให้กับประชาชนชาวไทยทุกคน
โดยเฉพาะเกษตรกรผู้ยากไร้ในชนบท จากพระราชดารัสในปีต่อ ๆ มา โดยเฉพาะอย่างยิ่งตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๗
ได้ทรงดาเนินพระราชกรณียกิจดังนี้
๔
๑. ปรับแก้สภาพทางกายภาพของพื้นดินให้มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก
๒. เน้นความสามารถในการพัฒนาและใช้เทคโนโลยีโดยเน้นความประหยัดแต่ถูกหลักวิชาการ
๓. ส่งเสริมการผลิตที่หลากหลาย เพื่อลดความเสี่ยง และช่วยให้เกิดกระแสรายได้ที่เหมาะสม
๔. ส่งเสริมสถาบันหรือองค์กรของเกษตรกรเข้ามาช่วยแก้ไขปัญหา
๕. ส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตร
หลังจากนั้นได้ทรงค้นคว้าทดลองอย่างต่อเนื่อง ในวันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ ได้ทรง
เผยแพร่ “ทฤษฎีใหม่” ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของเศรษฐกิจพอเพียงในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ทรงเตือนผู้ที่เกี่ยวข้องใน
ขณะนั้น ให้ “มีความรอบคอบ” และอย่า “ตาโต” จนกระทั่งเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในปี พ.ศ.๒๕๔๐
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงแก้ปัญหาการดาเนินชีวิตในยามที่ประเทศประสบปัญหา
วิกฤติทางเศรษฐกิจใน พ.ศ.๒๕๔๐ และทรงเน้นย้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้ประชาชนรอดพ้นและสามารถอยู่
ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน
จากพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พระราชทาน
ความหมายของคาว่า พอเพียง และ เพียงพอไว้ว่า
“พอเพียง ไม่ได้หมายถึงการมีพอสาหรับใช้เองเท่านั้น แต่มีความหมายว่า พอมีพอกิน
พอมีพอกินนี้แปลว่า เศรษฐกิจพอเพียง”
“เพียงพอ หมายความว่ามีกินมีอยู่ ไม่ฟุ่มเฟือยไม่หรูหราก็ได้แต่ว่าพอ แม้บางอย่างอาจจะดู
ฟุ่มเฟือยแต่ก็ทาให้มีความสุข ถ้าทาได้ก็สมควรจะทา สมควรที่จะปฏิบัติ”
๑.๒ ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (๒๕๔๓) กล่าวไว้ว่า เศรษฐกิจพอเพียง
เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงมีพระราชดาริในการแก้ไข
ปัญหาการดาเนินชีวิตอย่างพอเพียงหรือพอมีพอกินใน ปี พ.ศ.๒๕๓๗ โดยทรงพระราชทานแนวพระราชดาริ
ทฤษฎีใหม่ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ตระหนักในความสาคัญสาหรับนาไปใช้ในการแก้ไขปัญหา
การพึ่งพาตนเองโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่สามารถครอบคลุมภาคเกษตรกรรม
อุตสาหกรรม และพาณิชยกรรม ตลอดจนการดาเนินชีวิตของพสกนิกรทุกกลุ่มอาชีพ ซึ่งพระองค์ได้ทรงทดลอง
จนเป็นที่ประจักษ์ว่าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่มีความเหมาะสมกับการดาเนินชีวิตของ
คนในสังคมปัจจุบันและอนาคต
เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ความสามารถของชุมชนเมือง รัฐ ประเทศ หรือภูมิภาคหนึ่ง ๆ
ในการผลิตสินค้าและบริการทุกชนิดเพื่อเลี้ยงสังคม โดยไม่ต้องพึ่งพาปัจจัยต่าง ๆ ที่เราไม่ได้เป็นเจ้าของ
เศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคลนั้น คือ ความสามารถในการดารงชีวิตได้อย่างไม่เดือดร้อน มีความเป็นอยู่
อย่างประมาณตน ตามฐานะ ตามอัตภาพ และที่สาคัญไม่หลงใหลไปตามกระแสของวัตถุนิยม มีอิสรภาพ
เสรีภาพ ไม่พันธนาการอยู่กับสิ่งใด
๕
๑.๓ หลักการของแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลาง
และความไม่ประมาท โดยคานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจน
ใช้ความรู้ความรอบคอบและคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจ และการกระทา
ภาพที่ ๑ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ที่มา: มูลนิธิชัยพัฒนา (๒๕๕๐)
จากกรอบแนวคิดเป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่ และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น
โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลก
เชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อความมั่นคง และ
ความยั่งยืนของการพัฒนา คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้
ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน โดยที่คานิยามความพอเพียง
จะต้องประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะ ๒ เงื่อนไข (มูลนิธิชัยพัฒนา, ๒๕๕๐) ดังนี้
ความพอประมาณ
ความพอประมาณ คือ การดารงชีวิตให้เหมาะสม ซึ่งเราควรจะมีความพอประมาณทั้งการหา
รายได้ และพอประมาณในการใช้จ่าย ความพอประมาณในการหารายได้ คือ ทางานหารายได้ด้วย
ช่องทางสุจริต ทางานให้เต็มความสามารถ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ส่วนความพอประมาณในการใช้จ่าย หมายถึง
การใช้จ่ายให้เหมาะกับฐานะความเป็นอยู่ ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือยหรือใช้จ่ายเกินตัว และในขณะเดียวกัน ก็ใช้จ่าย
ในการดูแลตนเอง และครอบครัวอย่างเหมาะสมไม่อยู่อย่างลาบาก และฝืดเคืองจนเกินไป
๖
ความมีเหตุผล
ความมีเหตุผล คือ ไม่ว่าจะเป็นการทาธุรกิจ หรือการดารงชีวิตประจาวัน เราจาเป็นต้องมีการ
ตัดสินใจตลอดเวลา ซึ่งการตัดสินใจที่ดี ควรตั้งอยู่บนการไตร่ตรองถึงเหตุ รวมทั้งคานึงถึงผลที่อาจตามมาจาก
การตัดสินใจอย่างรอบคอบ ไม่ใช่ตัดสินใจตามอารมณ์ หรือจากสิ่งที่คนอื่นบอกมาโดยปราศจากการวิเคราะห์
การมีภูมิคุ้มกันที่ดี
การมีภูมิคุ้มกันที่ดี คือ การเตรียมตัวให้พร้อมรับกับความเปลี่ยนแปลงในโลกที่ไม่มีอะไร
แน่นอน ทั้งสภาพลม ฟ้า อากาศ ที่ไม่เอื้ออานวยต่อการทาเกษตร การเปลี่ยนแปลงในบริษัทคู่ค้า การเลิกจ้าง
พนักงานในบริษัทใหญ่ หรือแม้แต่ความไม่แน่นอนของสถานการณ์ทั้งในและต่างประเทศที่มีผลต่อการลงทุน
เราจึงจาเป็นต้องเรียนรู้ที่จะดารงอยู่ได้ด้วยการพึ่งพาตนเอง และตั้งอยู่ในความไม่ประมาทอยู่เสมอ
เช่น เตรียมแผนสารองสาหรับแต่ละสถานการณ์ การมีรายได้หลายทางเพื่อลดความเสี่ยงในวันที่ถูกเลิกจ้าง
หรือการกระจายความเสี่ยงในการลงทุนโดยการดารงชีวิตตามหลักการทั้งสามข้อนั้น จาเป็นต้องมีความรู้และ
คุณธรรมประกอบด้วย ความรู้ช่วยสร้างภูมิคุ้มกันที่เหมาะสม เช่น ความรู้ในการประกอบวิชาชีพช่วยให้ธุรกิจ
และการงานเจริญก้าวหน้า หรือความรู้ในการลงทุนช่วยสร้างภูมิคุ้มกันให้นักลงทุน ทั้งนี้ ความรู้และ
ประสบการณ์ จะช่วยทาให้เราตัดสินใจได้อย่างเป็นเหตุเป็นผล ถึงแม้ว่า พื้นฐานความคิดและประสบการณ์
ที่แตกต่างกันอาจทาให้เหตุผลของแต่ละคนนั้นแตกต่างกัน แต่หากทุกคนยึดมั่นอยู่ในหลักคุณธรรม ก็จะทาให้
การอยู่ร่วมกันใสังคมเป็นไปอย่างสงบสุขอย่างที่กล่าวมาข้างต้น การพึ่งพาตัวเองได้เป็นเพียงส่วนเริ่มต้นของ
การพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง โดยเมื่อทุกคนสามารถดูแลตัวเอง และครอบครัวได้แล้ว ขั้นต่อไปอาจทาการ
พัฒนาธุรกิจ โดยมีการรวมกลุ่มกันในวิชาชีพเดียวกัน เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
ในการรวมกลุ่มกันนั้น ไม่จากัดเฉพาะการรวมกลุ่มของชาวบ้าน เกษตรกร ในรูปของสหกรณ์ การทางานในเมือง
ก็สามารถมีการรวมกลุ่มกันได้ เช่น การแบ่งปันความรู้ ประสบการณ์ในการทาธุรกิจของกลุ่ม
อุตสาหกรรมเดียวกัน การแลกเปลี่ยนแนวคิดการลงทุน เพื่อเป็นการต่อยอดความรู้ รวมไปจนถึงการแบ่งปัน
ความช่วยเหลือส่งกลับคืนสู่สังคมไปสู่กลุ่มที่ต้องการความช่วยเหลืออยู่ เช่น กิจกรรมจิตอาสา เพื่อสร้างสังคมที่
เข้มแข็งและอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขจะเห็นได้ว่า แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงนั้น เป็นแนวคิดที่ตั้งอยู่บนความ
ไม่ประมาท ด้วยการใช้ความรู้และคุณธรรม เพื่อให้เกิดการพึ่งพาตัวเองได้ และเผื่อแผ่ไปถึงสังคม
ซึ่งเราสามารถนาหลักการปฏิบัติไปปรับใช้ได้ทั้งในชีวิตการทางานและการดารงชีวิต
เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัย
ทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐานกล่าวคือ
เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่าง
รอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน
และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์
สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต
๗
๑.๔ การนาเอาหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในเกษตรกรรม
เกษตรทฤษฎีใหม่เป็นแนวทางการพัฒนาการเกษตรอย่างเป็นขั้นตอนนั้น เป็นตัวอย่างการใช้
หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม เฉพาะในพื้นที่ที่เหมาะสม ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริ
อาจเปรียบเทียบกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีอยู่ ๒ แบบ คือ แบบพื้นฐาน กับ แบบก้าวหน้า ได้ดังนี้ความ
พอเพียงในระดับบุคคล และครอบครัว โดยเฉพาะเกษตรกรเป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน
ทฤษฎีใหม่ขั้นต้น
ให้แบ่งพื้นที่ออกเป็น ๔ ส่วน ตามอัตราส่วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ มีความหมายดังนี้
พื้นที่ส่วนที่หนึ่ง ประมาณ ๓๐% ให้ขุดสระเก็บกักน้าเพื่อใช้เก็บกักน้าฝนในฤดูฝน และใช้เสริม
การปลูกพืชในฤดูแล้ง ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์และพืชน้าต่าง ๆ
พื้นที่ส่วนที่สอง ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝนเพื่อใช้เป็นอาหารประจาวันสาหรับ
ครอบครัวให้เพียงพอตลอดปี เพื่อตัดค่าใช้จ่ายและสามารถพึ่งตนเองได้
พื้นที่ส่วนที่สาม ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผัก พืชไร่ พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใช้
เป็นอาหารประจาวัน หากเหลือบริโภคก็นาไปจาหน่ายพื้นที่ส่วนที่สี่ ประมาณ ๑๐% เป็นที่อยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์
ถนนหนทาง และโรงเรือนอื่น ๆ
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง
เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบัติในที่ดินของตนจนได้ผลแล้ว ก็ต้องเริ่มขั้นที่สอง คือ
ให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูป กลุ่ม หรือ สหกรณ์ ร่วมแรงร่วมใจกันดาเนินการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. การผลิต (พันธุ์พืช เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ)
๒. การตลาด (ลานตากข้าว ยุ้ง เครื่องสีข้าว การจาหน่าย)
๓. การเป็นอยู่
๔. สวัสดิการ (สาธารณสุข เงินกู้)
๕. การศึกษา
๖. สังคมและศาสนา
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม
เมื่อดาเนินการผ่านพ้นขั้นที่สองแล้ว เกษตรกร หรือกลุ่มเกษตรกรก็ควรพัฒนาก้าวหน้าไปสู่ขั้นที่สามต่อไป
คือติดต่อประสานงานเพื่อจัดหาทุนหรือแหล่งเงิน เช่น ธนาคาร หรือบริษัท ห้างร้านเอกชนมาช่วยในการลงทุนและพัฒนา
คุณภาพชีวิต ทั้งนี้ ทั้งฝ่ายเกษตรกรและฝ่ายธนาคารหรือบริษัทเอกชนจะได้รับประโยชน์ร่วมกัน
- เกษตรกรขายข้าวได้ราคาสูง
- ธนาคารหรือบริษัทเอกชนสามารถซื้อข้าวบริโภคในราคาต่า ซื้อข้าวเปลือกตรงจากเกษตรกร
- เกษตรกรซื้อเครื่องอุปโภคบริโภคได้ในราคาต่า เพราะรวมกันซื้อเป็นจานวนมาก
- ธนาคารหรือบริษัทเอกชน จะสามารถกระจายบุคลากร เพื่อไปดาเนินการในกิจกรรมต่าง ๆ
ให้เกิดผลดียิ่งขึ้น
๘
๑.๕ การใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในการปลูกผักสวนครัว
น้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ
ความพอประมาณ
รู้จักคุณประโยชน์ของผัก ที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ผักเพื่อสุขภาพ รู้จักปลูกผักรับประทานเป็น
การประหยัดลดรายจ่าย รู้จักการประมาณในการใช้ผักให้เกิดประโยชน์และเลือกรับประทานในท้องถิ่นมา
ประกอบอาหาร จาหน่าย และใช้พืชผักให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ความมีเหตุผล
เป็นคนมีเหตุผลในความคิด สามารถเลือกพันธุ์ผักในการเพาะปลูก เตรียมสถานที่ปลูก และ
เลือกผักเพื่อนามาประกอบอาหาร รักษาขนบธรรมเนียมประเพณีไทย รู้คุณค่าของพืชผักไทย
การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
มีภูมิคุ้มกัน รู้ในคุณค่า ของพืชผักไทย มีความเข้าใจในเรื่องพืชผักไทย รู้ว่าการใช้ประโยชน์
ของพืชผักไทยคือวิถีชีวิตแบบไทย ย่อมทาให้เกิดความภาคภูมิใจ เข้าใจว่าพืชผักของไทย สามารถนามาเรียนรู้
ในทางปฏิบัติและนาผลผลิตที่ได้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิตและมีเจตคติที่ดีต่อพืชผักไทย
เงื่อนไขความรู้
นาความรู้เกี่ยวกับพืชผักไทย ที่ได้เรียนในสถานศึกษานามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน
รู้วิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของคนไทย รู้จักนาพืชผักไทยมาใช้ในการทาอาหารเพื่อรับประทานเองเป็นการประหยัด
ลดรายจ่าย รู้จักนาความรู้ที่ได้เรียนมาถ่ายทอดให้กับคนอื่น และปรับประยุกต์ใช้กับการทาอาหาร
เงื่อนไขคุณธรรม
ยึดหลักคุณธรรมตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนามาใช้ในการดาเนินชีวิต หรือทากิจกรรม
ต่าง ๆ ทั้งในและนอกโรงเรียน รู้จักอดทน อดออม อดกลั้น เสียสละไปใช้ในการดาเนินชีวิต และได้ปฏิบัติ
อย่างแท้จริง การแบ่งหน้าที่ดูแล รักษาผัก รดน้า ถอนหญ้า ใส่ปุ๋ย พรวนดิน
๒. การปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ
ผักสวนครัว นารี พูลสวัสดิ์ (๒๕๕๑) ให้ความหมายคาว่า ผักสวนครัวและการปลูกผักแบบไร้สารพิษ
ไว้ดังนี้ คือ ผักที่ปลูกไว้ในบริเวณบ้านหรือที่ว่างต่าง ๆ ในชุมชนต่าง ๆ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปลูกไว้สาหรับ
รับประทานเองภายในครอบครัวหรือชุมชน การปลูกผักสวนครัวไว้รับประทานจะทาให้ผู้ปลูกได้รับประทาน
ผักสดที่อุดมด้วย วิตามินและเกลือแร่ต่าง ๆ มีความมปลอดภัยจากสารเคมี ลดรายจ่ายในครัวเรือน
ที่สาคัญทาให้สมาชิกในครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกันในการปลูกผัก เพื่อเกิดสัมพันธ์ที่ดีภายในครอบครัว
โดยทั่วไปคนต้องมีการบริโภคผักอย่างน้อย วันละ ๒๐๐ กรัม ซึ่งจะทาให้ได้รับสารอาหารครบถ้วน ผักสวนครัว
แบ่งประเภท ตามลักษณะการนามาประกอบอาหารได้ ๔ ประเภท ดังนี้
๙
๑. ผักกินใบกินต้น เช่น คะน้า ผักบุ้ง กะหล่าปลี ผักกาดขาว
๒. ผักกินฝักกินผล เช่น พริก มะเขือ ถั่วฝักยาว ถั่วแขก ถั่วพู
๓. ผักกินหัวกินราก เช่น ผักกาดหัว กระเทียม กระชาย ขมิ้น
๔. ผักกินดอก เช่น กะหล่าดอก ดอกแค ขจร
ปัจจุบันผักส่วนใหญ่ที่คนนามาประกอบอาหารได้มาจากการซื้อจากตลาด ซึ่งเป็นผักที่มีลักษณะ
สวยงามสมบูรณ์ ไปด้วยใบและดอกแต่กระบวนการผลิตและการปลูกด้วยสารเคมี ดังนั้นควรซื้อผักที่มีใบขาด
หรือเป็นรูที่แมลงกัดจะทาให้ปลอดภัยจากสารเคมี/ยาฆ่าแมลง และ หากสามารถปลูกผักรับประทานเองได้
จะทาให้ไม่ต้องเสียงสารเคมี จากยาฆ่าแมลง
ในการปลูกผักที่ไร้สารพิษนั้น จะนาวัสดุธรรมชาติจากแหล่งที่มีอยู่ มาประยุกต์ใช้ในการกาจัดแมลง
หรือนาปุ๋ยอินทรีย์ที่มีอยู่ในธรรมชาติมาใช้เป็นปุ๋ย ทาให้ผักที่ออกมานั้นปลอดสารพิษ สามารถที่จะนามา
รับประทานโดยไม่ต้องกังวลกับเรื่องของสารเคมีที่จะเข้าสู้ร่างกาย
การปลูกผักแบบเกษตรธรรมชาติ หมายถึง การปลูกผักโดยไม่ใส่ปุ๋ยเคมี และไม่ใช้สารเคมีเพราะ
สารเคมีที่ใช้ในการเกษตร เช่น ยาฆ่าแมลง ยาป้องกันและกาจัดโรคพืช ยาปราบวัชพืช ส่วนการใช้ปุ๋ยเคมี
เมื่อใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานจะทาให้สภาพของดินเสื่อมลง
ผักเป็นพืชที่เรานามาประกอบเป็นอาหารในชีวิตประจาวันมีคุณค่าทางอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อ
ร่างกาย การปลูกผักสวนครัวปลอดสารเคมี เป็นการปลูกผักโดยไม่ใช้สารเคมี เช่น ปุ๋ยเคมี และ ยาฆ่าแมลง
แต่จะใช้ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมักชีวภาพ น้าสกัดชีวภาพและสารสมุนไพรกาจัดแมลง มาใช้ในการปลูก ทาให้
ปลอดภัยกับผู้ผลิตและผู้บริโภค โดยการปลูกผักแต่ละชนิดมีวิธีการดังนี้
๑. การปลูกตะไคร้ ขุดดินและตากดินไว้ประมาณ ๗ - ๑๐ วัน ย่อยดินให้ละเอียด ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ย
หมักคลุกเคล้าให้เข้ากับดินที่จะปลูกก่อนนาตะไคร้ไปปลูก โดยนาพันธุ์ที่เตรียมไว้ตัดใบออก ให้เหลือต้นยาว
ประมาณ ๓๐ - ๔๐เซนติเมตร มาแช่น้าประมาณ ๕ - ๗ วัน เพื่อให้รากงอก รากที่แก่เต็มที่จะมีสีเหลืองเข้ม
นาไปปลูกในแปลงวางต้นพันธุ์ ให้เอียง ๔๕ องศา ไปด้านใดด้านหนึ่งแล้วกลบดิน จากนั้นรดน้าให้ชุ่ม ตะไคร้
อายุประมาณ ๒ เดือนก็สามารถนามาทาอาหารได้แล้ว
๒. หอม พันธุ์หอมที่จะใช้ปลูก ควรเตรียมล่วงหน้าอย่างน้อย ๒ เดือน แต่ไม่ควรเก็บไว้นาน
เกิน ๖ เดือน นาพันธุ์หอมมาทาความสะอาด ตัดเล็มรากเก่าและใบแห้งทิ้งให้หมด หากเห็นว่ายอดอ่อนยาว
อาจตัดทิ้งสัก ๑ ใน ๑๐ เพื่อเร่งให้งอกไว ทั้งนี้ ก่อนปลูกหากเห็นว่าหัวหอมพันธุ์เป็นโรคราดา ควรฉีดพ่นหรือ
จุ่นน้าสารละลายป้องกันกาจัดเชื้อราเสียก่อน ตามอัตราส่วนที่กาหนดไว้ในฉลาก และผึ่งลมให้แห้งก่อนนาไป
ปลูก เมื่อเตรียมดินด้วยการพรวนดินให้ร่วนแล้ว ตักดินใส่กระถางโดยไม่ต้องกดหน้าดินให้แน่น ใช้มีดตัด
ต้นหอมเหนือราก ๑.๕ นิ้ว แล้วปักชาลงดิน โดยเว้นระยะห่างแต่ละต้น ๒ นิ้ว รดน้าพอให้ชุ่ม ถ้าปลูกด้วยเมล็ด
ให้โรยเมล็ดลงหน้าดินได้เลย ประมาณ ๕ เมล็ดต่อกระถางก็พอ เพื่อป้องกันไม่ให้ต้นและรากของต้นหอมติดกัน
เกินไป เมื่อโตขึ้นในแต่ละช่วงฤดูกาล หอมแดงจะมีอายุการเก็บเกี่ยวไม่เท่ากัน เช่น หอมแดงฤดูหนาวจะแก่จัด
เมื่ออายุ ๗๐ - ๑๑๐ วัน ส่วนฤดูฝนจะเก็บเกี่ยวได้ประมาณ ๔๕ วัน แต่ผลผลิตจะแตกต่างกันทั้งคุณภาพและ
ปริมาณ โดยในฤดูหนาวจะให้ผลผลิตมากกว่า ๒ - ๓ เท่า เพราะสภาพแวดล้อมอานวยในการเจริญเติบโต
๑๐
มากกว่า และก่อนการเก็บเกี่ยวประมาณ ๑๐ - ๑๕ วัน จะต้องงดให้น้าและอาจให้น้าอีกทีก่อนเก็บเกี่ยว ๑ วัน
เพื่อให้หอมแดงถอนได้
๓. ขึ้นฉ่าย ผักสวนครัวที่สามารถนามาประกอบอาหารได้หลายชนิด มีสรรพคุณทางยา
ช่วยลดความดันโลหิต เนื่องจากสารบางชนิดในขึ้นฉ่ายทาให้หลอดเลือดขยายตัว จึงป้องกันโรคหัวใจขาดเลือด
เหมาะสาหรับคนเป็นโรคไต เพราะเป็นผักที่มีโซเดียมน้อยมากและยังช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งได้อีก การปลูก
ขึ้นฉ่าย ควรยกแปลงดินที่ปลูกให้สูงกว่าปกติเล็กน้อยเพื่อระบายน้า ผสมปุ๋ยหมักคละเคล้ากับดินให้เข้า
กันให้มีความลึกประมาณ ๑๐ เซนติเมตร เพื่อให้ดินอุดมด้วยธาตุอาหาร จากนั้นจึงรดน้าแปลงปลูกด้วย
ฝักบัวตาถี่ ๆ บาง ๆ ให้ผิวดินมีความชุ่มชื้นขึ้นโดยปรับหน้าดินให้เรียบวิธีปลูกขึ้นฉ่ายเนื่องจากเมล็ด ขึ้นฉ่าย
มีขนาดเล็กมาก ก่อนหว่านจึงต้องนามาผสมทรายหยาบที่ร่อนแล้ว ๑:๓ ส่วน ทาการหว่านเมล็ดให้กระจายทั่ว
แปลง ตบเมล็ดและทรายให้จมลงในแปลงดิน และรดน้าให้ชุ่ม จากนั้นคลุมด้วยหนังสือพิมพ์หรือหญ้าแห้ง
รดน้าเช้า-เย็น ประมาณ ๔๐ วัน เมื่อต้นงอกออกมาแข็งแรงดีแล้วจึงแยกต้นไปปลูกเป็นกอ ๆ กอละ ๒-๓ ต้น
ปลูกให้ห่างกันกอละ ๑๐-๑๕ เซนติเมตร ให้ใช้ปุ๋ยคอกใส่บ้างที่ทาการพรวนดิน จากนั้นเมื่อขึ้นฉ่ายอายุได้ ๙๐ วัน
หลังย้ายปลูก จึงสามารถเก็บเกี่ยวได้ โดยใช้วิธีรดน้าให้ดินชุ่มก่อนถอนออกมาทั้งราก
๔. ผักชี เป็นพืชล้มลุกขนาดเล็ก ใบหยิก สีเขียวสด มีกลิ่นฉุน ความสูงของต้นขึ้นอยู่กับสายพันธุ์
นิยมนามาประกอบอาหารได้หลากหลายแบบ อาทิ ต้มยา สลัด ลาบ เป็นต้น ถือเป็นผักที่มีการใช้มากในการ
ประกอบอาหารในครัวเรือนมาก และปัจจุบันมีราคาค่อนข้างสูงพอควร โดยเฉพาะในหน้าฝน และหากเกิด
ภาวะน้าท่วมยิ่งมีราคาแพงมากขึ้น เพราะไม่ค่อยพบโรคหรือแมลงศัตรูพืชมากนัก เนื่องจากมีกลิ่นน้ามันหอม
ระเหยที่ช่วยไล่แมลงได้ แนวทางการปลูกผักชี เริ่มต้นการเตรียมแปลงปลูกเริ่มต้นด้วยการถางหญ้า
และปรับพื้นที่แปลงตามประเภทของแปลงให้เหมาะสมกับฤดู และพื้นที่ เช่น
๔.๑ ฤดูฝนหรือพื้นที่ชุ่มตลอดปี ควรทาแปลงปลูกแบบยกร่องสูงหรือจัดให้มีร่องแปลง เพื่อ
การระบายน้า
๔.๒ ฤดูแล้งหรือพื้นที่ขาดแคลนน้า ควรเตรียมแปลงในระดับพื้นหรือแปลงยกสันร่องแปลง
เมื่อ ทาการกาจัดหญ้า และปรับระดับแปลงให้ได้ระดับแล้วจึงทาการพรวนดินผสมกับปุ๋ย
ธรรมชาติที่ สามารถหาได้ในท้องถิ่น อาทิ แกลบ ขี้เลื่อย มูลโค-กระบือ ฟางข้าว เศษใบไม้ เป็นต้น เมล็ดพันธุ์ที่
มีการปลูกในปัจจุบัน ได้แก่ พันธุ์สิงคโปร์ และพันธุ์ไต้หวัน เมล็ดพันธุ์ผักชีที่ซื้อตามร้านค้ามักผสมกับผงเคมีกัน
แมลง และความชื้นมาด้วย จึงควรล้างออกให้สะอาด และแช่ด้วยน้าสะเดาประมาณ ๑ ชั่วโมง ก่อนนามาหว่าน
ที่แปลง เพื่อช่วยป้องกันแมลงมากัดกินเมล็ดพันธ์ผักชีก่อนการงอก สาหรับการแช่อาจแช่ใส่ถังน้าหรือใส่ห่อผ้า
มัด และแช่ในถังก็ได้ ให้ทาการหว่านเมล็ด โดยให้แต่ละเมล็ดห่างกันประมาณ ๕-๑๐ เซนติเมตร จากนั้นให้ใช้
คราด ทาการคราดตามแนวยาว และแนวขวางของแปลงประมาณ ๒ รอบ พร้อมนาฟางข้าวโปรยกลบ ซึ่งควร
ใช้ฟางข้าวที่มีการบดหรือสับขนาดสั้นๆ และไม่หว่านโปรยให้หนาจนเกินไป พร้อมทาการรดน้าให้ชุ่ม การให้
น้าในระยะเริ่มแรกหลังการหว่านเมล็ดจะให้น้าประมาณ ๒ ครั้ง/วัน ในช่วงเช้าเย็นทุกวัน จนถึงระยะประมาณ
๓๐ วัน ให้เว้นช่วงวันให้น้าประมาณ ๒-๓ วัน/ครั้ง โดยให้น้าเช้าเย็นเช่นกัน สาหรับช่วงก่อนการเก็บเกี่ยว
๑๑
ประมาณ ๑ สัปดาห์ ควรให้น้าน้อยลงประมาณ ๓ - ๔ วัน/ครั้งการใส่ปุ๋ย ให้ใช้น้าแช่มูลสัตว์ เช่น มูลโค
กระบือ ไก่ หมู โดยทาการแช่น้ามูลสัตว์ใส่ถังทิ้งไว้ประมาณ ๑ สัปดาห์ และนาเอาส่วนที่เป็นน้ารดใน
แปลงผักชีประมาณ ๒ - ๓ ครั้ง ต่อสัปดาห์ โดยเป็นการร่วมกับการให้น้าทั่วไป
๕. กะเพรา การปลูกกะเพรามีทั้งการปลูกเพื่อการขายในแปลงขนาดใหญ่ และการปลูกเพื่อ
รับประทานเองภายในบ้านที่อาจปลูกในแปลงดินที่ว่างขนาดเล็กหรือการปลูกในกระถาง ด้วยแยกกล้าปลูก
และการหว่านเมล็ด ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้
๕.๑ การปลูกในแปลงขนาดใหญ่
การเตรียมกล้าพันธุ์จะใช้วิธีการหว่านเมล็ดในแปลงเพาะกล้าตามขนาดปริมาณที่ปลูก
ด้วยการไถหน้าดินให้ลึก พร้อมกาจัดวัชพืช และหว่านกล้าพันธุ์ลงแปลง หลังจากนั้นจะให้น้า ๑ - ๒ ครั้ง/วัน
จนกล้าแตกใบแท้ ๒-๕ ใบ ก็ย้ายลงปลูกในแปลงการปลูกในแปลงขนาดใหญ่มีทั้งรูปแบบแปลงยกร่องแปลงที่
ไม่ยกร่องโดยควรมีขนาดแปลงกว้าง ประมาณ ๑.๕-๒.๕ เมตร ความยาวตามความเหมาะสมของพื้นที่
– ไถดะกลบวัชพืช และตากหน้าดินนาน ๕-๑๐ วัน ขึ้นอยู่กับชนิดดิน
– ทาการหว่านปุ๋ยหมัก ปุ๋ยมูลสัตว์ ในอัตรา ๕๐๐ กก./ไร่ ปุ๋ยเคมีสูตร ๑๕-๑๕-๑๕ ใน
อัตรา ๑๐-๓๐ กก./ไร่ หรือใช้ปุ๋ยคอกรองพื้นอย่างเดียว
– ทาการไถกลบอีกรอบ พร้อมกาจัดวัชพืช และตากดินประมาณ ๑ สัปดาห์ หรืออาจน้อยกว่า
วิธีการปลูก
– ย้ายต้นกล้า โดยควรให้มีดินติดรากมาด้วย และควรปลูกทันทีเมื่อมีการถอนย้าย
– ระยะที่ปลูกในระหว่างแถว และหลุมปลูก ที่ ๒๐-๔๐ x ๒๐-๔๐ เซนติเมตร หากปลูกเพื่อ
การค้ามักปลูกใน ระยะถี่ขึ้น เช่น ๒๐-๓๐ x ๒๐-๓๐ เซนติเมตร
– หลังจากปลูกเสร็จให้รดน้าให้ชุ่ม
การดูแล
– ให้น้าหลังจากปลูกวันละ ๑ - ๒ ครั้ง หรืออาจให้วันเว้นวันเมื่อต้นกะเพราแตกกิ่งเป็นพุ่มใหญ่
– ให้ปุ๋ยคอก อัตรา ๒๐๐ กก./ไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีสูตร ๑๕-๑๕-๑๕ ในอัตรา ๓๐-๕๐
กก./ไร่ หลังปลูกประมาณ ๒ - ๔ อาทิตย์ เมื่อต้นกล้าตั้งต้นได้แล้ว
การเก็บเกี่ยว
การเก็บกระเพราจะเริ่มเก็บได้หลังการปลูก ๔๐-๕๐ วัน และเก็บได้อย่างต่อเนื่องอีกหลาย
เดือน หากไม่มีการเก็บโดยการถอนทั้งต้น ซึ่งควรเก็บกิ่งแก่ในระยะก่อนออกดอกหรือเริ่มออกดอกซึ่งจะได้
กระเพราที่มีกลิ่นหอม
๕.๒ การปลูกในแปลงขนาดเล็ก
การปลูกในแปลงขนาดเล็กอาจใช้วิธีการยกร่องสูง ๒๐-๓๐ ซม.หรือไม่ยกร่องซึ่งเริ่มด้วยการ
พรวนดิน และกาจัดวัชพืชในแปลง และตากดิน ๒-๓ วัน การปลูกด้วยต้นกล้า เนื่องจากเป็นการปลูกในปริมาณ
น้อยจึงเตรียมกล้าในแปลงบางส่วนที่เตรียมไว้หรือเตรียมในดินที่ว่างนอกแปลงแล้วจึงย้ายมาปลูกในแปลงใน
ระยะ ๓๐-๔๐ ซม./ต้น หากปลูกเพื่อการค้ามักปลูกในระยะถี่ขึ้น เช่น ๒๐-๓๐ x ๒๐-๓๐ เซนติเมตร การปลูก
๑๒
ด้วยการหว่านที่มักปลูกเพื่อการค้า จะใช้วิธีหว่านเมล็ดลงแปลง โดยพยายามให้เมล็ดตกห่างกันให้มากที่สุด
๒๐ - ๓๐ ซม. พร้อมด้วยใช้คราดเกลี่ยดินกลบเล็กน้อย
๖. ผักบุ้งจีน
เป็นผักที่บริโภคในส่วนของต้นและใบ ผักบุ้งเป็นพืชปลูกง่ายมี และเจริญเติบโตเร็ว การดูแล
รักษาง่าย สามารถปลูกได้ตลอดปี และสามารถขึ้นได้ในดินทุกชนิด การเตรียมดินและการปลูก ผักบุ้งจีน
เป็นผักที่มีระบบรากตื้น ขุดดินลึกประมาณ ๑๕ - ๒๐ ซม. ใส่ปุ๋ยคอกและปุ๋ยหมัก คลุกเคล้าให้เข้าทั่วแปลง
หว่านเมล็ดให้กระจายทั่วแปลงอย่างสม่าเสมอ หรืออาจใช้เมล็ดโรยเป็นร่อง โดยระยะห่างระหว่างแถวปลูก
๑๕ ซม. กลบเมล็ดด้วยปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยคอก รดน้าให้ชุ่มคลุมด้วยฟางข้าวบาง ๆ เพื่อรักษาความชุ่มชื้น
ของหน้าดิน ต้นกล้าจะเริ่มงอก ๒ - ๓ วันหลังหยอดเมล็ดการดูแลรักษา การใส่ปุ๋ย ผักบุ้งจีนเป็นผักที่กินใบที่
มีอายุสั้น ดังนั้นควรใส่ปุ๋ยไนโตรเจน เช่น ยูเรีย หรือ แอมโมเนี่ยมซัลเฟต อัตรา ๑ - ๒ ช้อนชาต่อน้า ๑๐ ลิตร
ละลายผสมน้ารดผักบุ้ง ทุก ๆ ๕ - ๗ วันหรือหว่านโดยตรงในแปลงอัตรา ๑ กา (๒ - ๓ ช้อนแกง) ต่อพื้นที่ปลูก
๑ ตารางเมตร และรดน้าตามทันทีหรือจะใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักอย่างสม่าเสมอ โดยใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์
น้อยลงได้ การให้น้า ผักบุ้งชอบดินที่มีความชื้นสูง ควรให้น้าบ่อย ๆ อย่าให้ขาดน้า ผักบุ้งอาจจะชะงักการ
เจริญเติบโต แคระแกรนและคุณภาพไม่ดีการกาจัดวัชพืชไม่จาเป็น เพราะเป็นผักที่มีอายุสั้นและ
เจริญเติบโตเร็วมาก สามารถขึ้นคลุมพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว การเก็บเกี่ยวหว่านเมล็ดประมาณ ๒๕ - ๓๐วัน
สามารถเก็บเกี่ยวได้วิธีการเก็บโดยใช้มือถอนทั้งราก แล้วนามาล้างให้สะอาดหรือหากไม่ถอน สามารถใช้มือ
เด็ดหรือมีดตัดยอดไปบริโภคและปล่อยโคนไว้ บารุงด้วยปุ๋ยวิทยาศาสตร์หรือปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก และหมั่นรดน้า
ประมาณ ๑๕ วัน ต่อมาสามารถทยอยตัดได้อีก
๓. หลักการทาปุ๋ยหมักจากเศษอาหาร
ปุ๋ยหมักจากเศษอาหารประกอบด้วยมีธาตุอาหารที่ช่วยให้พืชเจริญเติบโตได้ดีและมีคุณสมบัติในการ
ช่วยเพิ่มจุลินทรีย์ในดิน ช่วยย่อยสลายอินทรียวัตถุให้กลายเป็นปุ๋ยสาหรับพืช ทาให้ดินร่วนซุย และพัฒนาการ
เจริญเติบโตของพืช แต่ละวัน ในครัวเรือนจะมีเศษอาหารเหลือทิ้งจานวนไม่น้อย เราสามารถนาเศษอาหารนี้
มาทาเป็นปุ๋ยสาหรับปลูกผักสวนครัวในบ้านได้ง่ายๆ หลักการคือใช้เศษอาหาร (แยกน้า กระดูกและก้างปลา
ออก) ดินหรือปุ๋ยคอก ใบไม้แห้งเทซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ส่วนการทาถังปุ๋ยโดยการนาตะกร้าพลาสติก เข่ง หรือ
ภาชนะทรงสูง เจาะให้มีรูระบายน้าได้ กรุถุงพลาสติกที่เจาะรูรอบลงไปเป็นภาชนะรองรับด้านใน เมื่อมีเศษ
อาหารให้เทลงไปแล้วตามด้วยดินหรือปุ๋ยคอก และใบไม้แห้งซ้อนเป็นชั้น ๆ ในสัดส่วนอย่างละเท่าๆ กัน รวบ
ปากถุงพลาสติกคร่าวๆ แล้วปิดฝาเพื่อป้องกันแมลงวันมาวางไข่ ทาซ้าเช่นนี้ทุกครั้งเมื่อทิ้งเศษอาหารหากเต็ม
แล้วปิดฝาทิ้งไว้รดน้าทุก ๗ วัน เพื่อระบายความร้อนในกองปุ๋ยออก หนึ่งเดือนผ่านไป เศษอาหารจะย่อยสลาย
กลายเป็นปุ๋ยหมักสีดาเข้มโดยไม่ส่งกลิ่นเหม็นรบกวนเลย ปุ๋ยที่ได้นี้ใช้ผสมดินปลูกผักสวนครัวช่วยบารุงผักให้
งอกงาม (บ้านและสวน, ๒๕๖๑)
นอกจากนี้ เศษวัสดุบางอย่างสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้อีกหลายอย่าง เช่น เปลือกไข่ นาไปตาก
แห้งบดให้ละเอียดเก็บไว้ ใช้โรยรอบแปลงผักหรือกระถางเพาะเมล็ด ช่วยป้องกันหอยทากมากินต้นอ่อนพืชได้
หรือใช้โรยในถังไส้เดือนช่วยลดความเป็นกรดของดินและกาจัดไรแดงในถังเลี้ยงได้ ส่วนเปลือกถั่วลิสง
มีไนโตรเจนสูงตากแห้งแล้วบดหยาบ ๆ ผสมกับดินปลูก ช่วยบารุงต้นไม้และพืชผักได้เป็นอย่างดี
16262
16262
16262
16262
16262
16262
16262
16262
16262
16262
16262
16262
16262
16262
16262
16262
16262
16262

More Related Content

Similar to 16262

โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนnun31march
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนnun31march
 
โครงการชั่งหัวมัน
โครงการชั่งหัวมันโครงการชั่งหัวมัน
โครงการชั่งหัวมันMickey-Mint
 
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปันโครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปันพัน พัน
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำWareerut Hunter
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอtongkesmanee
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9Pai Chensuriyakun
 
ต้นกำเนิดของยางแท่ง
ต้นกำเนิดของยางแท่งต้นกำเนิดของยางแท่ง
ต้นกำเนิดของยางแท่งCheeta2
 
โครงการห้วยองคต (2)
โครงการห้วยองคต (2)โครงการห้วยองคต (2)
โครงการห้วยองคต (2)kanokporn_ice
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศJutarat Bussadee
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลเขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลjeabjeabloei
 
Dooshell
DooshellDooshell
DooshellTaiXing
 
ห้วยองคต
ห้วยองคตห้วยองคต
ห้วยองคตSnook12
 
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมดโครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมดPapatsorn Tangsermkit
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)Anny Na Sonsawan
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)Lekleklek Jongrak
 
ความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชนความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชนAnchalee Tanphet
 

Similar to 16262 (20)

โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
 
โครงการชั่งหัวมัน
โครงการชั่งหัวมันโครงการชั่งหัวมัน
โครงการชั่งหัวมัน
 
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปันโครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
 
ต้นกำเนิดของยางแท่ง
ต้นกำเนิดของยางแท่งต้นกำเนิดของยางแท่ง
ต้นกำเนิดของยางแท่ง
 
โครงการห้วยองคต (2)
โครงการห้วยองคต (2)โครงการห้วยองคต (2)
โครงการห้วยองคต (2)
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลเขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชล
 
Dooshell
DooshellDooshell
Dooshell
 
932 pre3
932 pre3932 pre3
932 pre3
 
ห้วยองคต
ห้วยองคตห้วยองคต
ห้วยองคต
 
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมดโครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
 
Pcm
PcmPcm
Pcm
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)
 
ความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชนความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชน
 

16262

  • 1. ก อนุมัติโครงการ โครงการ ปลูกผักสวนครัวรอบรั้วโรงเรียน ตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง Grow vegetables around the school fence The Sufficiency Economy ผู้จัดทาโครงการ ๑. นรจ.ณภัทร รัตนวงษ์ เลขที่ ๖ ๒. นรจ.สิทธา บุญรักษา เลขที่ ๑๓ ๓. นรจ.กฤตยชญ์ เกื้อก่อยอด เลขที่ ๑๔ ๔. นรจ.ภานุวัฒน์ งาวิจิตร เลขที่ ๒๘ ๕. นรจ.ดนุพร จีนย้าย เลขที่ ๓๓ ครูประจาวิชา ร.ท.หญิง ญาดา วะตะ ได้รับอนุมัติให้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชาโครงการวิชาชีพสายพลาธิการ ๒ หลักสูตรนักเรียนจ่า พรรคพิเศษ เหล่าทหารพลาธิการ โรงเรียนพลาธิการ กรมพลาธิการทหารเรือ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ อนุมัติ ไม่อนุมัติ ลงชื่อ (ณภัทร รัตนวงษ์) ลงชื่อ (สิทธา บุญรักษา) ลงชื่อ (กฤตยชญ์ เกื้อก่อยอด) ลงชื่อ (ภานุวัฒน์ งาวิจิตร) ลงชื่อ (ดนุพร จีนย้าย) ลงชื่อ ร.ท.หญิง ( ญาดา วะตะ) ครูประจาวิชาโครงการวิชาชีพสายพลาธิการ
  • 2. ก หัวข้อโครงการ ปลูกผักสวนครัวรอบรั้วโรงเรียน ตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง Grow vegetables around the school fence The Sufficiency Economy ผู้จัดทา ๑. นรจ.ณภัทร รัตนวงษ์ เลขที่ ๖ ๒. นรจ.สิทธา บุญรักษา เลขที่ ๑๓ ๓. นรจ.กฤตยชญ์ เกื้อก่อยอด เลขที่ ๑๔ ๔. นรจ.ภานุวัฒน์ งาวิจิตร เลขที่ ๒๘ ๕. นรจ.ดนุพร จีนย้าย เลขที่ ๓๓ ครูประจาวิชา ร.ท.หญิง ญาดา วะตะ วิชา โครงการวิชาชีพสายพลาธิการ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ บทคัดย่อ โครงการปลูกผักสวนครัวรอบรั้วโรงเรียน ตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถ ปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษได้ตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ สามารถถ่ายทอดความรู้ในการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษให้แก่ นร.พลฯ ที่เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ความเข้าใจและสามารถนาไปปฏิบัติจริงในชีวิตประจาวันได้ โดยมีระยะเวลาในการ ดาเนินการตั้งแต่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ ถึง ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒และมีวิธีการดาเนินการดังนี้ (๑) สารวจพื้นที่บริเวณว่างเปล่า ของ โรงเรียนพลาธิการกรมพลาธิการทหารเรือ (๒)ศึกษาแนวทางการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ จากเอกสารต่าง ๆ (๓) วางแผนการ ดาเนินโครงการ ตั้งแต่กาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของสมาชิกภายในกลุ่มการคัดเลือกชนิดผักสวนครัวที่เหมาะสมกับสภาพดินของ รร.พธ.ฯและความต้องการของผู้บริโภค การประมาณจานวนของผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ ระยะเวลาในการเก็บเกี่ยวผลผลิต วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ การเตรียมดิน การผลิตน้าหมักชีวภาพ การเก็บเกี่ยวผลผลิต รวมทั้งการถ่ายทอดความรู้ในการปลูกผัก สวนครัวปลอดสารพิษ (๔) ดาเนินโครงการตามแผนงานที่ได้กาหนดไว้ (๕) ประเมินผลโครงการ และ (๖) สรุปผลการ ดาเนินงาน ผลการดาเนินงาน สรุปได้ดังนี้ คณะผู้ดาเนินทาโครงการได้คัดเลือกพื้นที่ว่างข้างห้องเรียนชงกาแฟ โรงเรียนพลาธิการ กรมพลาธิการทหารเรือ ในการทาแปลงผักสวนครัวปลอดสารพิษ ผักสวนครัวที่ผลิตได้ มี ๔ ชนิด ได้แก่ ผักบุ้ง ๕ แปลง ได้ ผลผลิตจานวน ๑๐ กิโลกรัม ผักคะน้า ๒ แปลง ได้ผลผลิตจานวน ๔ กิโลกรัม กวางตุ้ง ๒ แปลง ได้ผลผลิตจานวน ๓ กิโลกรัม ผักชี ๑ แปลง ได้ผลผลิตจานวน ๑ กิโลกรัม และพริก ๕๐ ต้น โดยนาไปจาหน่ายให้แก่โรงครัว และข้าราชการ รร.พธ.ฯ มูลค่า ทั้งสิ้น ๘๐๐ บาท และผลิตน้าหมักชีวิภาพได้จานวน ๓๐ ลิตร สาหรับประโยชน์ปุ๋ยหมักชีวภาพ ๑. ช่วยปรับสภาพความเป็น กรด - ด่าง ในดิน ๒. ช่วยปรับสภาพโครงสร้างของดินให้ร่วนซุย อุ้มน้าและอากาศได้ดียิ่งขึ้น ๓. ช่วยย่อยสลายอินทรีย์วัตถุใน ดินให้เป็นธาตุอาหารแก่พืช ๔.ช่วยเร่งการเจริญเติบโตของพืชให้สมบูรณ์ แข็งแรงตามธรรมชาติ ต้านทานโรคและแมลง ๕. ช่วยสร้างฮอร์โมนพืช ทาให้ผลผลิตสูง และคุณภาพของผลผลิตดีขึ้น นอกจากนี้ คณะผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ถ่ายทอดความรู้ และเทคนิคในการปลูกผักปลอดสารพิษให้แก่ นร.พลฯ ที่เข้าร่วมโครงการจานวน ๑ ครั้ง นร.พลฯ ที่เข้าร่วมโครงการทั้งหมด มี จานวน ๒๐ นาย การทดสอบความรู้ นร.พลฯ ที่เข้าร่วมโครงการ พบว่า นร.พลฯ ร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ วิธีการปลูกผักปลอดสารพิษในระดับสูง มีคะแนนเฉลี่ย ๙.๗ จากคะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน โดยประเด็นที่นร.พลฯ ที่เข้าร่วม โครงการมีคะแนนสูงสุด ได้แก่ กากกาแฟสามารถนามากันหอยทากกินพืชผักได้ ข้อเสนอแนะการทาโครงการในครั้งต่อไป ควรมีการจัดทาโครงการปลูกผักสวนครัวอย่างต่อเนื่องและมีการเพิ่มชนิดผักให้หลากหลายมากขึ้น และจัดทาเป็นแหล่งเรียนรู้ สาหรับผู้ที่สนใจศึกษา
  • 3. ข กิตติกรรมประกาศ โครงการปลูกผักสวนครัวรอบรั้วโรงเรียน ตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียงนี้ สาเร็จได้ด้วย ความกรุณาของ ร.ท.หญิง ญาดา วะตะ ครูที่ปรึกษาโครงการ ซึ่งได้คอยให้คาปรึกษาข้อชี้แนะ และความ ช่วยเหลือในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการจัดทาโครงการ การดาเนินโครงการ และการจัดทารูปเล่มรายงาน รวมทั้ง น.ท.หญิง ปาริชาติ ช่อทองดี ที่ได้ให้ข้อเสนอและคาแนะนาเพิ่มเติม จนกระทั่งโครงการประสบความสาเร็จ ลุล่วงไปด้วยดีตามเป้าหมายที่ได้กาหนดไว้ คณะผู้จัดทาโครงการจึงใคร่ขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมาณที่นี้ ขอบคุณสมาชิกในกลุ่มทุกคน ที่ให้ความร่วมมือ ร่วมแรงร่วมใจ ศึกษาหาข้อมูลเพื่อเป็น แนวทางในการดาเนินโครงการร่วมกันช่วยแก้ไขปัญหาที่ขึ้น รวมทั้งเพื่อร่วมรุ่ม ได้แก่ นรจ.พีระพงษ์ ภู่ชัย และ นรจ.กรศิพงศ์ ไวกูณฐอนุชิต ที่เป็นทั้งกาลังแรงงานและกาลังทางสติปัญญาช่วยสนับสนุนให้โครงการ ปลูกผักสวนครัวรอบรั้วโรงเรียน ตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียงได้ดาเนินการสาเร็จลุล่วงตาม วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ สุดท้ายนี้คณะผู้จัดทาโครงการปลูกผักสวนครัวรอบรั้วโรงเรียน ตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง ขอน้อมราลึกถึง พระคุณบิดา มารดา ครูอาจารย์ทุกท่านที่ได้กรุณาอบรมสั่งสอน รวมทั้งบุคคลในครอบครัวทุกคน ที่อยู่เบื้องหลังความสาเร็จในครั้งนี้ คณะผู้จัดทา ๑. นรจ.ณภัทร รัตนวงษ์ เลขที่ ๖ ๒. นรจ.สิทธา บุญรักษา เลขที่ ๑๓ ๓. นรจ.กฤตยชญ์ เกื้อก่อยอดเลขที่ ๑๔ ๔. นรจ.ภานุวัฒน์ งาวิจิตร เลขที่ ๒๘ ๕. นรจ.ดนุพร จีนย้าย เลขที่ ๓๓
  • 4. ค คานา โครงการปลูกผักสวนครัวรอบรั้วโรงเรียน ตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง จัดทาขึ้นตาม วัตถุประสงค์ของวิชาโครงการวิชาชีพสายพลาธิการ ที่ต้องการให้ผู้เรียนได้บูรณาการความรู้ ทักษะ และ ประสบการณ์เพื่อวางแผนสร้างและหรือพัฒนางานในสาขาวิชาชีพ ด้วยกระบวนการทดลอง สารวจ ประดิษฐ์ คิดค้น หรือการปฏิบัติงานเชิงระบบ เนื้อหาส่วนใหญ่จะกล่าวถึง การปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ โดยได้น้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดาเนินงาน นอกจากนี้คณะผู้จัดทาได้แบ่งการศึกษา ออกเป็นขั้นตอนตั้งแต่การศึกษาค้นคว้าข้อมูลเบื้องต้นจากเอกสารและโครงการที่เกี่ยวข้อง วิธีการดาเนิน โครงการ ผลการดาเนินโครงการ จนถึงบทสรุปและข้อมูลเสนอแนะเกี่ยวกับโครงการ เนื้อหาภายในเล่มเกิดจากการศึกษาข้อมูลจากเอกสารและแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ในการจัดทาโครงการ แล้วนามาบูรณาการกับความรู้พื้นฐานเดิมของสมาชิกภายในกลุ่ม จากนั้นผู้จัดทาโครงการได้นาข้อมูลที่ รวบรวมได้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อกาหนดเป็นแนวทางการปลูกผักสวนครัวที่เหมาะสมกับบริบทของ โรงเรียนมากที่สุด แล้วนาไปใช้ในการปฏิบัติจริง บริเวณพื้นที่ว่าง ของโรงเรียนพลาธิการ กรมพลาธิการทหารเรือ ซึ่งใช้เป็นแหล่งเรียนรู้และทดลองสาหรับ นรจ. ในการปลูกผักสวนครัวแบบปลอดสารพิษ สาหรับรายงานฉบับนี้ ผู้ที่สนใจหรือสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวข้องสามารถนาข้อมูลและความรู้ไปประยุกต์ใช้ แก้ปัญหา ปรับปรุง หรือแก้ไข เพิ่มเติม เพื่อความเหมาะสมกับบริบทและพื้นที่ของตนเอง อย่างไรก็ตาม รายงานโครงการปลูกผักสวนครัว รอบรั้วโรงเรียน ตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง ฉบับนี้ยังมีข้อจากัดหลายประการในดาเนินการ และอาจมีข้อผิดพลาดบางประการ อันเนื่องมาจากความรู้ความเข้าใจของคณะผู้จัดทาโครงการ จึงใคร่ขออภัย มา ณ ที่นี้ ท้ายที่สุดนี้ คณะผู้จัดทาโครงการปลูกผักสวนครัวรอบรั้วโรงเรียน ตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง ขอขอบพระคุณผู้อานวยการโรงเรียนพลาธิการ กรมพลาธิการทหารเรือ คณะผู้บริหาร และคุณครูทุกท่านที่ให้ ความรู้และให้คาแนะนาในการจัดโครงการ การศึกษาค้นคว้าข้อมูล ตลอดจนการเขียนรายงานและการจัดทา โครงการ จนสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี คณะผู้จัดทา ๑. นรจ.ณภัทร รัตนวงษ์ เลขที่ ๖ ๒. นรจ.สิทธา บุญรักษา เลขที่ ๑๓ ๓. นรจ.กฤตยชญ์ เกื้อก่อยอดเลขที่ ๑๔ ๔. นรจ.ภานุวัฒน์ งาวิจิตร เลขที่ ๒๘ ๕. นรจ.ดนุพร จีนย้าย เลขที่ ๓๓ สารบัญ
  • 5. ง เรื่อง หน้า หน้าอนุมัติโครงการ ก บทคัดย่อ ข กิตติกรรมประกาศ ค คานา ง สารบัญ จ สารบัญ (ต่อ) ฉ บทที่ ๑ บทนา ๑.๑ หลักการและเหตุผล ๑ ๑.๒ วัตถุประสงค์ ๒ ๑.๓ ขอบเขตของโครงการ ๒ ๑.๔ เป้าหมายของโครงการ ๒ ๑.๕ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๒ บทที่ ๒ เอกสารและโครงการที่เกี่ยวข้อง ๒.๑ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓ ๒.๒ การปลูกผักสวนครัวแบบปลอดสารพิษ ๘ ๒.๓ หลักการทาปุ๋ยหมักจากเศษอาหาร ๑๒ บทที่ ๓ วิธีการดาเนินโครงการ ๓.๑ การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการจัดการโครงการ ๑๓ ๓.๒ ประชากรที่ใช้ในการดาเนินโครงการ ๑๓ ๓.๓ สถานที่และระยะเวลาดาเนินโครงการ ๑๓ ๓.๔ การดาเนินโครงการ ๑๓ ๓.๕ เครื่องมือที่ใช้ในโครงการ ๑๗ ๓.๖ การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในโครงการ ๑๗ ๓.๗ การเก็บรวบรวมข้อมูล ๑๗ ๓.๘ การวิเคราะห์ข้อมูล ๑๗ บทที่ ๔ ผลการดาเนินโครงการ ๔.๑ ผลผลิตจากการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ ๑๘ ๔.๒ ความรู้ความเข้าใจเรื่องการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ ๑๙
  • 6. จ สารบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้า บทที่ ๕ สรุปผล และข้อเสนอแนะ ๕.๑ สรุปผลการดาเนินการ ๒๑ ๕.๒ ปัญหาและอุปสรรคในการทาโครงการ ๒๑ ๕.๓ ข้อเสนอแนะในการทาโครงการครั้งต่อไป ๒๒ บรรณานุกรม ๒๓ ภาคผนวก ภาคผนวก ก. ๒๔ ภาคผนวก ข. ๒๙ ประวัติผู้จัดทา ๓๐
  • 7. ๑ บทที่ ๑ บทนา หลักการและเหตุผล โรงเรียนพลาธิการ กรมพลาธิการทหารเรือ เป็นสถาบันการศึกษาวิชาชีพสายพลาธิการของกองทัพเรือ มีภารกิจหลักในการจัดการศึกษาอบรมและพัฒนาทหารเหล่าพลาธิการทุกระดับ ได้แก่ นายทหารสัญญาบัตร นายทหารชั้นประทวน นักเรียนจ่า และนักเรียนพลทหาร ทางโรงเรียนพลาธิการ กรมพลาธิการทหารเรือ ได้มีการจัดเลี้ยงอาหารให้แก่นักเรียนทุกหลักสูตรที่เข้ามาศึกษาอบรม โดยรายการอาหารทุกมื้อมีผักเป็น ส่วนประกอบหลัก เพราะในผักประกอบด้วยใยอาหารที่ช่วยในเรื่องของระบบขับถ่าย รวมทั้งเป็นแหล่งของ วิตามิน และแร่ธาตุที่จาเป็นต่อร่างกาย ซึ่งจะทาให้นักเรียนได้รับสารอาหารครบ ๕ หมู่ นอกจากนี้ นพ.ธเรศ กรัษนัยรวิวงศ์ ได้ให้ข้อมูลกับหนังสือพิมพ์มติชน เมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ว่า ข้อมูลขององค์การอนามัยโลก พบว่า การรับประทานผักผลไม้มากกว่า ๔๐๐ กรัมต่อวัน จะช่วยป้องกันโรค ต่าง ๆ ได้ เช่น โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โรคหัวใจขาดเลือด เส้นเลือดสมองตีบ มะเร็งกระเพาะอาหาร มะเร็งปอด มะเร็งลาไส้ใหญ่ เป็นต้น จากการสอบถามข้อมูลเจ้าหน้าที่จัดเลี้ยง โรงเรียนพลาธิการ กรมพลาธิการทหารเรือ ในเบื้องต้น พบว่า ผักที่นามาประกอบอาหารนั้น เป็นผักที่จัดซื้อจากท้องตลาด ซึ่งผักส่วนใหญ่มักมีการ ปนเปื้อนสารเคมี แม้ก่อนการปรุงอาหารจะล้างทาความสะอาด แต่ก็ไม่สามารถชะล้างออกได้หมด ซึ่งเมื่อบริโภคเข้าไปจะทาให้เกิดการสะสมของสารพิษในร่างกาย ส่งผลให้ร่างกายเกิดความเจ็บป่วย และเกิดโรคชนิดต่าง ๆ และผักผลไม้ส่วนใหญ่ที่พบปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุด ๗อันดับแรก ได้แก่ พริกถั่วฝักยาว คะน้า มะเขือยาว มะเขือเปราะ มะเขือเทศ และส้ม ซึ่งส่วนใหญ่จะพบสารกาจัดศัตรูพืช เช่น ไซเปอร์เมทริน คาร์ไบฟูราน และคลอร์ไพริฟอส เนื่องจากเป็นพืชที่พบแมลงศัตรูพืชได้ง่าย จากการสารวจพื้นที่โรงเรียนพลาธิการ กรมพลาธิการทหารเรือ พบว่า มีพื้นที่รอบบริเวณโรงเรียนพลาธิการ กรมพลาธิการทหารเรือ สามารถนามาใช้ประโยชน์ในการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษได้ ดังนั้น กลุ่มผู้จัดทาจึงมีแนวคิดที่จะจัดทาโครงการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ รอบรั้วโรงเรียนพลาธิการ กรมพลาธิการทหารเรือ โดยน้อมนาแนวคิดตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช เพราะผักสวนครัวเป็นพืชที่ปลูกง่าย เป็นอาหารที่มีประโยชน์มีคุณค่าทางอาหารสูง สามารถนาไปประกอบ อาหารได้หลากหลาย สามารถบริโภคได้ทุกเพศทุกวัย ซึ่งจะทาให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่ดี อีกทั้งยังช่วย ลดค่าใช้จ่ายของโรงเรียนพลาธิการ กรมพลาธิการทหารเรือ เป็นการพึ่งพาตนเอง สามารถดาเนินชีวิตให้ เข้ากับสภาพแวดล้อมในปัจจุบัน ลดความเสี่ยงจากสารเคมีสะสมในร่างกาย และมีสุขภาพที่สมบูรณ์ แข็งแรง
  • 8. ๒ วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑. สามารถปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษได้ตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ ๒. สามารถถ่ายทอดความรู้ในการปลูกผักสวนครัวให้แก่ นร.พลฯ ที่เข้าร่วมโครงการได้ ๓. นักเรียน พลฯ ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษและ สามารถนาไปปฏิบัติในชีวิตประจาวันได้ ขอบเขตของโครงการ ๑. ปลูกผักสวนครัวบริเวณพื้นที่ว่างข้างห้องเรียนชงกาแฟโรงเรียนพลาธิการกรมพลาธิการทหารเรือ ๒. ผักสวนครัวที่ปลูกในโครงการ ได้แก่ ผักชี ผักบุ้ง พริก คะน้า กวางตุ้ง ฯ ๓. ถ่ายทอดความรู้ในการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษให้แก่นักเรียนพลฯ ผลัด ๒/๖๒ ที่สนใจ เข้าร่วมโครงการ จานวน ๒๐ คน เท่านั้น เป้าหมายและตัวชี้วัดของโครงการ ๑. ผลผลิตจากการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ ประกอบด้วย ๑.๑ ผักบุ้ง ๕ แปลง ๑.๒ ผักคะน้า ๒ แปลง ๑.๓ กวางตุ้ง ๒ แปลง ๑.๔ ผักชี ๑ แปลง ๑.๕ พริก ๕๐ ต้น ๑.๖ น้าหมักชีวภาพ ๓๐ ลิตร ๒. นักเรียนจ่า ถ่ายทอดความรู้และขั้นตอนการปลูกผักปลอดสารพิษให้แก่ นักเรียนพลฯ ที่เข้าร่วม โครงการ ๑ ครั้ง ๓. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๘๕ มีความรู้ความเข้าใจในการปลูกผักปลอดสารพิษในระดับมาก ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๑. นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม ๒. นักเรียนมีสุขภาพที่ดีร่างกายเจริญเติบโตแข็งแรง ๓. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการปลูกผักสวนครัวแบบปลอดสารพิษและสามารถนาไปใช้ปฏิบัติ ได้จริงในชีวิตประจาวัน ๔. โรงเรียนพลาธิการ กรมพลาธิการทหาเรือ เป็นแหล่งการเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ให้กับนักเรียนพลฯ ในการนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน
  • 9. ๓ บทที่ ๒ เอกสารและโครงการที่เกี่ยวข้อง โครงการ ปลูกผักสวนครัวรอบรั้วโรงเรียน ตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง คณะผู้จัดทา โครงการได้ศึกษาเอกสารและโครงการที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินโครงการ โดยประกอบด้วย หัวข้อดังนี้ ๑. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. การปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ ๓. หลักการทาปุ๋ยหมัก ๑. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผลการพัฒนาประเทศสู่ความทันสมัย ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแก่สังคมไทยอย่างมากในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม สังคมและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การเพิ่มขึ้นของอัตราการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความเจริญทางวัตถุ และการสาธารณูปโภคต่าง ๆ ระบบสื่อสารที่ทันสมัย หรือ การขยายปริมาณและกระจายการศึกษาที่ทั่วถึงมากขึ้น กระจายไปสู่สังคมชนบท หรือผู้ด้อยโอกาสในสังคม แต่ก็ได้ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสังคมในหลายด้าน อาทิ การขยายตัวของภาครัฐเข้าสู่ภาคชนบท ได้ส่งผลให้สังคมชนบทเกิดความอ่อนแอและดารงอยู่ในลักษณะที่ต้องอาศัยและพึ่งพิงตลาดและพ่อค้าคนกลาง ในการสั่งสินค้า ก่อให้เกิดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ และทาให้การรวมกลุ่มกันตามประเพณี เพื่อการจัดการทรัพยากรที่เคยมีอยู่แต่เดิมล่มสลายลง ภูมิความรู้หรือภูมิปัญญาที่เคยใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ ที่สั่งสมและสืบทอดกันมานั้นถูกลืมเลือนและเริ่มสูญหายไป สิ่งสาคัญ ก็คือ ความพอเพียงในการดาเนิน ชีวิต ซึ่งเป็นเงื่อนไขพื้นฐานที่ทาให้คนไทยสามารถพึ่งตนเอง และดาเนินชีวิตไปได้อย่างมีศักดิ์ศรีภายใต้อานาจ และความอิสระในการกาหนดชะตาชีวิตของตนเอง รวมทั้งความสามารถในการควบคุมและจัดการปัญหาต่าง ๆ ได้ด้วยตนเองเหล่านี้ถือว่าเป็นศักยภาพพื้นฐานที่คนไทยและสังคมไทยเคยมีอยู่แต่เดิม และได้รับผลกระทบ จากวิกฤตเศรษฐกิจปัญหาฟองสบู่และปัญหาความอ่อนแอของชนบท รวมทั้งปัญหาอื่น ๆ ที่เกิดขึ้น ล้วนแต่ เป็นข้อพิสูจน์และยั่งยืนปรากฎการณ์นี้ได้เป็นอย่างดี (มูลนิธิชัยพัฒนา, ๒๕๕๙) ๑.๑ ความเป็นมาของเศรษฐกิจพอเพียง คาว่า “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรง มีพระราชดารัสชี้แนะแนวทางในการดาเนินชีวิตให้แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๓๐ ปี (ดวงใจ เปลี่ยนศรี, ๒๕๖๑) การบรรลุเป้าหมายในการสร้าง “ความพออยู่พอกิน” ให้กับประชาชนชาวไทยทุกคน โดยเฉพาะเกษตรกรผู้ยากไร้ในชนบท จากพระราชดารัสในปีต่อ ๆ มา โดยเฉพาะอย่างยิ่งตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๗ ได้ทรงดาเนินพระราชกรณียกิจดังนี้
  • 10. ๔ ๑. ปรับแก้สภาพทางกายภาพของพื้นดินให้มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก ๒. เน้นความสามารถในการพัฒนาและใช้เทคโนโลยีโดยเน้นความประหยัดแต่ถูกหลักวิชาการ ๓. ส่งเสริมการผลิตที่หลากหลาย เพื่อลดความเสี่ยง และช่วยให้เกิดกระแสรายได้ที่เหมาะสม ๔. ส่งเสริมสถาบันหรือองค์กรของเกษตรกรเข้ามาช่วยแก้ไขปัญหา ๕. ส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตร หลังจากนั้นได้ทรงค้นคว้าทดลองอย่างต่อเนื่อง ในวันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ ได้ทรง เผยแพร่ “ทฤษฎีใหม่” ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของเศรษฐกิจพอเพียงในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ทรงเตือนผู้ที่เกี่ยวข้องใน ขณะนั้น ให้ “มีความรอบคอบ” และอย่า “ตาโต” จนกระทั่งเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในปี พ.ศ.๒๕๔๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงแก้ปัญหาการดาเนินชีวิตในยามที่ประเทศประสบปัญหา วิกฤติทางเศรษฐกิจใน พ.ศ.๒๕๔๐ และทรงเน้นย้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้ประชาชนรอดพ้นและสามารถอยู่ ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน จากพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พระราชทาน ความหมายของคาว่า พอเพียง และ เพียงพอไว้ว่า “พอเพียง ไม่ได้หมายถึงการมีพอสาหรับใช้เองเท่านั้น แต่มีความหมายว่า พอมีพอกิน พอมีพอกินนี้แปลว่า เศรษฐกิจพอเพียง” “เพียงพอ หมายความว่ามีกินมีอยู่ ไม่ฟุ่มเฟือยไม่หรูหราก็ได้แต่ว่าพอ แม้บางอย่างอาจจะดู ฟุ่มเฟือยแต่ก็ทาให้มีความสุข ถ้าทาได้ก็สมควรจะทา สมควรที่จะปฏิบัติ” ๑.๒ ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (๒๕๔๓) กล่าวไว้ว่า เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงมีพระราชดาริในการแก้ไข ปัญหาการดาเนินชีวิตอย่างพอเพียงหรือพอมีพอกินใน ปี พ.ศ.๒๕๓๗ โดยทรงพระราชทานแนวพระราชดาริ ทฤษฎีใหม่ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ตระหนักในความสาคัญสาหรับนาไปใช้ในการแก้ไขปัญหา การพึ่งพาตนเองโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่สามารถครอบคลุมภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และพาณิชยกรรม ตลอดจนการดาเนินชีวิตของพสกนิกรทุกกลุ่มอาชีพ ซึ่งพระองค์ได้ทรงทดลอง จนเป็นที่ประจักษ์ว่าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่มีความเหมาะสมกับการดาเนินชีวิตของ คนในสังคมปัจจุบันและอนาคต เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ความสามารถของชุมชนเมือง รัฐ ประเทศ หรือภูมิภาคหนึ่ง ๆ ในการผลิตสินค้าและบริการทุกชนิดเพื่อเลี้ยงสังคม โดยไม่ต้องพึ่งพาปัจจัยต่าง ๆ ที่เราไม่ได้เป็นเจ้าของ เศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคลนั้น คือ ความสามารถในการดารงชีวิตได้อย่างไม่เดือดร้อน มีความเป็นอยู่ อย่างประมาณตน ตามฐานะ ตามอัตภาพ และที่สาคัญไม่หลงใหลไปตามกระแสของวัตถุนิยม มีอิสรภาพ เสรีภาพ ไม่พันธนาการอยู่กับสิ่งใด
  • 11. ๕ ๑.๓ หลักการของแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท โดยคานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจน ใช้ความรู้ความรอบคอบและคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจ และการกระทา ภาพที่ ๑ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่มา: มูลนิธิชัยพัฒนา (๒๕๕๐) จากกรอบแนวคิดเป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่ และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลก เชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อความมั่นคง และ ความยั่งยืนของการพัฒนา คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน โดยที่คานิยามความพอเพียง จะต้องประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะ ๒ เงื่อนไข (มูลนิธิชัยพัฒนา, ๒๕๕๐) ดังนี้ ความพอประมาณ ความพอประมาณ คือ การดารงชีวิตให้เหมาะสม ซึ่งเราควรจะมีความพอประมาณทั้งการหา รายได้ และพอประมาณในการใช้จ่าย ความพอประมาณในการหารายได้ คือ ทางานหารายได้ด้วย ช่องทางสุจริต ทางานให้เต็มความสามารถ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ส่วนความพอประมาณในการใช้จ่าย หมายถึง การใช้จ่ายให้เหมาะกับฐานะความเป็นอยู่ ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือยหรือใช้จ่ายเกินตัว และในขณะเดียวกัน ก็ใช้จ่าย ในการดูแลตนเอง และครอบครัวอย่างเหมาะสมไม่อยู่อย่างลาบาก และฝืดเคืองจนเกินไป
  • 12. ๖ ความมีเหตุผล ความมีเหตุผล คือ ไม่ว่าจะเป็นการทาธุรกิจ หรือการดารงชีวิตประจาวัน เราจาเป็นต้องมีการ ตัดสินใจตลอดเวลา ซึ่งการตัดสินใจที่ดี ควรตั้งอยู่บนการไตร่ตรองถึงเหตุ รวมทั้งคานึงถึงผลที่อาจตามมาจาก การตัดสินใจอย่างรอบคอบ ไม่ใช่ตัดสินใจตามอารมณ์ หรือจากสิ่งที่คนอื่นบอกมาโดยปราศจากการวิเคราะห์ การมีภูมิคุ้มกันที่ดี การมีภูมิคุ้มกันที่ดี คือ การเตรียมตัวให้พร้อมรับกับความเปลี่ยนแปลงในโลกที่ไม่มีอะไร แน่นอน ทั้งสภาพลม ฟ้า อากาศ ที่ไม่เอื้ออานวยต่อการทาเกษตร การเปลี่ยนแปลงในบริษัทคู่ค้า การเลิกจ้าง พนักงานในบริษัทใหญ่ หรือแม้แต่ความไม่แน่นอนของสถานการณ์ทั้งในและต่างประเทศที่มีผลต่อการลงทุน เราจึงจาเป็นต้องเรียนรู้ที่จะดารงอยู่ได้ด้วยการพึ่งพาตนเอง และตั้งอยู่ในความไม่ประมาทอยู่เสมอ เช่น เตรียมแผนสารองสาหรับแต่ละสถานการณ์ การมีรายได้หลายทางเพื่อลดความเสี่ยงในวันที่ถูกเลิกจ้าง หรือการกระจายความเสี่ยงในการลงทุนโดยการดารงชีวิตตามหลักการทั้งสามข้อนั้น จาเป็นต้องมีความรู้และ คุณธรรมประกอบด้วย ความรู้ช่วยสร้างภูมิคุ้มกันที่เหมาะสม เช่น ความรู้ในการประกอบวิชาชีพช่วยให้ธุรกิจ และการงานเจริญก้าวหน้า หรือความรู้ในการลงทุนช่วยสร้างภูมิคุ้มกันให้นักลงทุน ทั้งนี้ ความรู้และ ประสบการณ์ จะช่วยทาให้เราตัดสินใจได้อย่างเป็นเหตุเป็นผล ถึงแม้ว่า พื้นฐานความคิดและประสบการณ์ ที่แตกต่างกันอาจทาให้เหตุผลของแต่ละคนนั้นแตกต่างกัน แต่หากทุกคนยึดมั่นอยู่ในหลักคุณธรรม ก็จะทาให้ การอยู่ร่วมกันใสังคมเป็นไปอย่างสงบสุขอย่างที่กล่าวมาข้างต้น การพึ่งพาตัวเองได้เป็นเพียงส่วนเริ่มต้นของ การพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง โดยเมื่อทุกคนสามารถดูแลตัวเอง และครอบครัวได้แล้ว ขั้นต่อไปอาจทาการ พัฒนาธุรกิจ โดยมีการรวมกลุ่มกันในวิชาชีพเดียวกัน เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในการรวมกลุ่มกันนั้น ไม่จากัดเฉพาะการรวมกลุ่มของชาวบ้าน เกษตรกร ในรูปของสหกรณ์ การทางานในเมือง ก็สามารถมีการรวมกลุ่มกันได้ เช่น การแบ่งปันความรู้ ประสบการณ์ในการทาธุรกิจของกลุ่ม อุตสาหกรรมเดียวกัน การแลกเปลี่ยนแนวคิดการลงทุน เพื่อเป็นการต่อยอดความรู้ รวมไปจนถึงการแบ่งปัน ความช่วยเหลือส่งกลับคืนสู่สังคมไปสู่กลุ่มที่ต้องการความช่วยเหลืออยู่ เช่น กิจกรรมจิตอาสา เพื่อสร้างสังคมที่ เข้มแข็งและอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขจะเห็นได้ว่า แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงนั้น เป็นแนวคิดที่ตั้งอยู่บนความ ไม่ประมาท ด้วยการใช้ความรู้และคุณธรรม เพื่อให้เกิดการพึ่งพาตัวเองได้ และเผื่อแผ่ไปถึงสังคม ซึ่งเราสามารถนาหลักการปฏิบัติไปปรับใช้ได้ทั้งในชีวิตการทางานและการดารงชีวิต เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัย ทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐานกล่าวคือ เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่าง รอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์ สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต
  • 13. ๗ ๑.๔ การนาเอาหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในเกษตรกรรม เกษตรทฤษฎีใหม่เป็นแนวทางการพัฒนาการเกษตรอย่างเป็นขั้นตอนนั้น เป็นตัวอย่างการใช้ หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม เฉพาะในพื้นที่ที่เหมาะสม ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริ อาจเปรียบเทียบกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีอยู่ ๒ แบบ คือ แบบพื้นฐาน กับ แบบก้าวหน้า ได้ดังนี้ความ พอเพียงในระดับบุคคล และครอบครัว โดยเฉพาะเกษตรกรเป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน ทฤษฎีใหม่ขั้นต้น ให้แบ่งพื้นที่ออกเป็น ๔ ส่วน ตามอัตราส่วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ มีความหมายดังนี้ พื้นที่ส่วนที่หนึ่ง ประมาณ ๓๐% ให้ขุดสระเก็บกักน้าเพื่อใช้เก็บกักน้าฝนในฤดูฝน และใช้เสริม การปลูกพืชในฤดูแล้ง ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์และพืชน้าต่าง ๆ พื้นที่ส่วนที่สอง ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝนเพื่อใช้เป็นอาหารประจาวันสาหรับ ครอบครัวให้เพียงพอตลอดปี เพื่อตัดค่าใช้จ่ายและสามารถพึ่งตนเองได้ พื้นที่ส่วนที่สาม ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผัก พืชไร่ พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใช้ เป็นอาหารประจาวัน หากเหลือบริโภคก็นาไปจาหน่ายพื้นที่ส่วนที่สี่ ประมาณ ๑๐% เป็นที่อยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์ ถนนหนทาง และโรงเรือนอื่น ๆ ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบัติในที่ดินของตนจนได้ผลแล้ว ก็ต้องเริ่มขั้นที่สอง คือ ให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูป กลุ่ม หรือ สหกรณ์ ร่วมแรงร่วมใจกันดาเนินการในด้านต่าง ๆ ดังนี้ ๑. การผลิต (พันธุ์พืช เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ) ๒. การตลาด (ลานตากข้าว ยุ้ง เครื่องสีข้าว การจาหน่าย) ๓. การเป็นอยู่ ๔. สวัสดิการ (สาธารณสุข เงินกู้) ๕. การศึกษา ๖. สังคมและศาสนา ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม เมื่อดาเนินการผ่านพ้นขั้นที่สองแล้ว เกษตรกร หรือกลุ่มเกษตรกรก็ควรพัฒนาก้าวหน้าไปสู่ขั้นที่สามต่อไป คือติดต่อประสานงานเพื่อจัดหาทุนหรือแหล่งเงิน เช่น ธนาคาร หรือบริษัท ห้างร้านเอกชนมาช่วยในการลงทุนและพัฒนา คุณภาพชีวิต ทั้งนี้ ทั้งฝ่ายเกษตรกรและฝ่ายธนาคารหรือบริษัทเอกชนจะได้รับประโยชน์ร่วมกัน - เกษตรกรขายข้าวได้ราคาสูง - ธนาคารหรือบริษัทเอกชนสามารถซื้อข้าวบริโภคในราคาต่า ซื้อข้าวเปลือกตรงจากเกษตรกร - เกษตรกรซื้อเครื่องอุปโภคบริโภคได้ในราคาต่า เพราะรวมกันซื้อเป็นจานวนมาก - ธนาคารหรือบริษัทเอกชน จะสามารถกระจายบุคลากร เพื่อไปดาเนินการในกิจกรรมต่าง ๆ ให้เกิดผลดียิ่งขึ้น
  • 14. ๘ ๑.๕ การใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในการปลูกผักสวนครัว น้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ ความพอประมาณ รู้จักคุณประโยชน์ของผัก ที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ผักเพื่อสุขภาพ รู้จักปลูกผักรับประทานเป็น การประหยัดลดรายจ่าย รู้จักการประมาณในการใช้ผักให้เกิดประโยชน์และเลือกรับประทานในท้องถิ่นมา ประกอบอาหาร จาหน่าย และใช้พืชผักให้เกิดประโยชน์สูงสุด ความมีเหตุผล เป็นคนมีเหตุผลในความคิด สามารถเลือกพันธุ์ผักในการเพาะปลูก เตรียมสถานที่ปลูก และ เลือกผักเพื่อนามาประกอบอาหาร รักษาขนบธรรมเนียมประเพณีไทย รู้คุณค่าของพืชผักไทย การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี มีภูมิคุ้มกัน รู้ในคุณค่า ของพืชผักไทย มีความเข้าใจในเรื่องพืชผักไทย รู้ว่าการใช้ประโยชน์ ของพืชผักไทยคือวิถีชีวิตแบบไทย ย่อมทาให้เกิดความภาคภูมิใจ เข้าใจว่าพืชผักของไทย สามารถนามาเรียนรู้ ในทางปฏิบัติและนาผลผลิตที่ได้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิตและมีเจตคติที่ดีต่อพืชผักไทย เงื่อนไขความรู้ นาความรู้เกี่ยวกับพืชผักไทย ที่ได้เรียนในสถานศึกษานามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน รู้วิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของคนไทย รู้จักนาพืชผักไทยมาใช้ในการทาอาหารเพื่อรับประทานเองเป็นการประหยัด ลดรายจ่าย รู้จักนาความรู้ที่ได้เรียนมาถ่ายทอดให้กับคนอื่น และปรับประยุกต์ใช้กับการทาอาหาร เงื่อนไขคุณธรรม ยึดหลักคุณธรรมตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนามาใช้ในการดาเนินชีวิต หรือทากิจกรรม ต่าง ๆ ทั้งในและนอกโรงเรียน รู้จักอดทน อดออม อดกลั้น เสียสละไปใช้ในการดาเนินชีวิต และได้ปฏิบัติ อย่างแท้จริง การแบ่งหน้าที่ดูแล รักษาผัก รดน้า ถอนหญ้า ใส่ปุ๋ย พรวนดิน ๒. การปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ ผักสวนครัว นารี พูลสวัสดิ์ (๒๕๕๑) ให้ความหมายคาว่า ผักสวนครัวและการปลูกผักแบบไร้สารพิษ ไว้ดังนี้ คือ ผักที่ปลูกไว้ในบริเวณบ้านหรือที่ว่างต่าง ๆ ในชุมชนต่าง ๆ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปลูกไว้สาหรับ รับประทานเองภายในครอบครัวหรือชุมชน การปลูกผักสวนครัวไว้รับประทานจะทาให้ผู้ปลูกได้รับประทาน ผักสดที่อุดมด้วย วิตามินและเกลือแร่ต่าง ๆ มีความมปลอดภัยจากสารเคมี ลดรายจ่ายในครัวเรือน ที่สาคัญทาให้สมาชิกในครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกันในการปลูกผัก เพื่อเกิดสัมพันธ์ที่ดีภายในครอบครัว โดยทั่วไปคนต้องมีการบริโภคผักอย่างน้อย วันละ ๒๐๐ กรัม ซึ่งจะทาให้ได้รับสารอาหารครบถ้วน ผักสวนครัว แบ่งประเภท ตามลักษณะการนามาประกอบอาหารได้ ๔ ประเภท ดังนี้
  • 15. ๙ ๑. ผักกินใบกินต้น เช่น คะน้า ผักบุ้ง กะหล่าปลี ผักกาดขาว ๒. ผักกินฝักกินผล เช่น พริก มะเขือ ถั่วฝักยาว ถั่วแขก ถั่วพู ๓. ผักกินหัวกินราก เช่น ผักกาดหัว กระเทียม กระชาย ขมิ้น ๔. ผักกินดอก เช่น กะหล่าดอก ดอกแค ขจร ปัจจุบันผักส่วนใหญ่ที่คนนามาประกอบอาหารได้มาจากการซื้อจากตลาด ซึ่งเป็นผักที่มีลักษณะ สวยงามสมบูรณ์ ไปด้วยใบและดอกแต่กระบวนการผลิตและการปลูกด้วยสารเคมี ดังนั้นควรซื้อผักที่มีใบขาด หรือเป็นรูที่แมลงกัดจะทาให้ปลอดภัยจากสารเคมี/ยาฆ่าแมลง และ หากสามารถปลูกผักรับประทานเองได้ จะทาให้ไม่ต้องเสียงสารเคมี จากยาฆ่าแมลง ในการปลูกผักที่ไร้สารพิษนั้น จะนาวัสดุธรรมชาติจากแหล่งที่มีอยู่ มาประยุกต์ใช้ในการกาจัดแมลง หรือนาปุ๋ยอินทรีย์ที่มีอยู่ในธรรมชาติมาใช้เป็นปุ๋ย ทาให้ผักที่ออกมานั้นปลอดสารพิษ สามารถที่จะนามา รับประทานโดยไม่ต้องกังวลกับเรื่องของสารเคมีที่จะเข้าสู้ร่างกาย การปลูกผักแบบเกษตรธรรมชาติ หมายถึง การปลูกผักโดยไม่ใส่ปุ๋ยเคมี และไม่ใช้สารเคมีเพราะ สารเคมีที่ใช้ในการเกษตร เช่น ยาฆ่าแมลง ยาป้องกันและกาจัดโรคพืช ยาปราบวัชพืช ส่วนการใช้ปุ๋ยเคมี เมื่อใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานจะทาให้สภาพของดินเสื่อมลง ผักเป็นพืชที่เรานามาประกอบเป็นอาหารในชีวิตประจาวันมีคุณค่าทางอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อ ร่างกาย การปลูกผักสวนครัวปลอดสารเคมี เป็นการปลูกผักโดยไม่ใช้สารเคมี เช่น ปุ๋ยเคมี และ ยาฆ่าแมลง แต่จะใช้ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมักชีวภาพ น้าสกัดชีวภาพและสารสมุนไพรกาจัดแมลง มาใช้ในการปลูก ทาให้ ปลอดภัยกับผู้ผลิตและผู้บริโภค โดยการปลูกผักแต่ละชนิดมีวิธีการดังนี้ ๑. การปลูกตะไคร้ ขุดดินและตากดินไว้ประมาณ ๗ - ๑๐ วัน ย่อยดินให้ละเอียด ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ย หมักคลุกเคล้าให้เข้ากับดินที่จะปลูกก่อนนาตะไคร้ไปปลูก โดยนาพันธุ์ที่เตรียมไว้ตัดใบออก ให้เหลือต้นยาว ประมาณ ๓๐ - ๔๐เซนติเมตร มาแช่น้าประมาณ ๕ - ๗ วัน เพื่อให้รากงอก รากที่แก่เต็มที่จะมีสีเหลืองเข้ม นาไปปลูกในแปลงวางต้นพันธุ์ ให้เอียง ๔๕ องศา ไปด้านใดด้านหนึ่งแล้วกลบดิน จากนั้นรดน้าให้ชุ่ม ตะไคร้ อายุประมาณ ๒ เดือนก็สามารถนามาทาอาหารได้แล้ว ๒. หอม พันธุ์หอมที่จะใช้ปลูก ควรเตรียมล่วงหน้าอย่างน้อย ๒ เดือน แต่ไม่ควรเก็บไว้นาน เกิน ๖ เดือน นาพันธุ์หอมมาทาความสะอาด ตัดเล็มรากเก่าและใบแห้งทิ้งให้หมด หากเห็นว่ายอดอ่อนยาว อาจตัดทิ้งสัก ๑ ใน ๑๐ เพื่อเร่งให้งอกไว ทั้งนี้ ก่อนปลูกหากเห็นว่าหัวหอมพันธุ์เป็นโรคราดา ควรฉีดพ่นหรือ จุ่นน้าสารละลายป้องกันกาจัดเชื้อราเสียก่อน ตามอัตราส่วนที่กาหนดไว้ในฉลาก และผึ่งลมให้แห้งก่อนนาไป ปลูก เมื่อเตรียมดินด้วยการพรวนดินให้ร่วนแล้ว ตักดินใส่กระถางโดยไม่ต้องกดหน้าดินให้แน่น ใช้มีดตัด ต้นหอมเหนือราก ๑.๕ นิ้ว แล้วปักชาลงดิน โดยเว้นระยะห่างแต่ละต้น ๒ นิ้ว รดน้าพอให้ชุ่ม ถ้าปลูกด้วยเมล็ด ให้โรยเมล็ดลงหน้าดินได้เลย ประมาณ ๕ เมล็ดต่อกระถางก็พอ เพื่อป้องกันไม่ให้ต้นและรากของต้นหอมติดกัน เกินไป เมื่อโตขึ้นในแต่ละช่วงฤดูกาล หอมแดงจะมีอายุการเก็บเกี่ยวไม่เท่ากัน เช่น หอมแดงฤดูหนาวจะแก่จัด เมื่ออายุ ๗๐ - ๑๑๐ วัน ส่วนฤดูฝนจะเก็บเกี่ยวได้ประมาณ ๔๕ วัน แต่ผลผลิตจะแตกต่างกันทั้งคุณภาพและ ปริมาณ โดยในฤดูหนาวจะให้ผลผลิตมากกว่า ๒ - ๓ เท่า เพราะสภาพแวดล้อมอานวยในการเจริญเติบโต
  • 16. ๑๐ มากกว่า และก่อนการเก็บเกี่ยวประมาณ ๑๐ - ๑๕ วัน จะต้องงดให้น้าและอาจให้น้าอีกทีก่อนเก็บเกี่ยว ๑ วัน เพื่อให้หอมแดงถอนได้ ๓. ขึ้นฉ่าย ผักสวนครัวที่สามารถนามาประกอบอาหารได้หลายชนิด มีสรรพคุณทางยา ช่วยลดความดันโลหิต เนื่องจากสารบางชนิดในขึ้นฉ่ายทาให้หลอดเลือดขยายตัว จึงป้องกันโรคหัวใจขาดเลือด เหมาะสาหรับคนเป็นโรคไต เพราะเป็นผักที่มีโซเดียมน้อยมากและยังช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งได้อีก การปลูก ขึ้นฉ่าย ควรยกแปลงดินที่ปลูกให้สูงกว่าปกติเล็กน้อยเพื่อระบายน้า ผสมปุ๋ยหมักคละเคล้ากับดินให้เข้า กันให้มีความลึกประมาณ ๑๐ เซนติเมตร เพื่อให้ดินอุดมด้วยธาตุอาหาร จากนั้นจึงรดน้าแปลงปลูกด้วย ฝักบัวตาถี่ ๆ บาง ๆ ให้ผิวดินมีความชุ่มชื้นขึ้นโดยปรับหน้าดินให้เรียบวิธีปลูกขึ้นฉ่ายเนื่องจากเมล็ด ขึ้นฉ่าย มีขนาดเล็กมาก ก่อนหว่านจึงต้องนามาผสมทรายหยาบที่ร่อนแล้ว ๑:๓ ส่วน ทาการหว่านเมล็ดให้กระจายทั่ว แปลง ตบเมล็ดและทรายให้จมลงในแปลงดิน และรดน้าให้ชุ่ม จากนั้นคลุมด้วยหนังสือพิมพ์หรือหญ้าแห้ง รดน้าเช้า-เย็น ประมาณ ๔๐ วัน เมื่อต้นงอกออกมาแข็งแรงดีแล้วจึงแยกต้นไปปลูกเป็นกอ ๆ กอละ ๒-๓ ต้น ปลูกให้ห่างกันกอละ ๑๐-๑๕ เซนติเมตร ให้ใช้ปุ๋ยคอกใส่บ้างที่ทาการพรวนดิน จากนั้นเมื่อขึ้นฉ่ายอายุได้ ๙๐ วัน หลังย้ายปลูก จึงสามารถเก็บเกี่ยวได้ โดยใช้วิธีรดน้าให้ดินชุ่มก่อนถอนออกมาทั้งราก ๔. ผักชี เป็นพืชล้มลุกขนาดเล็ก ใบหยิก สีเขียวสด มีกลิ่นฉุน ความสูงของต้นขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ นิยมนามาประกอบอาหารได้หลากหลายแบบ อาทิ ต้มยา สลัด ลาบ เป็นต้น ถือเป็นผักที่มีการใช้มากในการ ประกอบอาหารในครัวเรือนมาก และปัจจุบันมีราคาค่อนข้างสูงพอควร โดยเฉพาะในหน้าฝน และหากเกิด ภาวะน้าท่วมยิ่งมีราคาแพงมากขึ้น เพราะไม่ค่อยพบโรคหรือแมลงศัตรูพืชมากนัก เนื่องจากมีกลิ่นน้ามันหอม ระเหยที่ช่วยไล่แมลงได้ แนวทางการปลูกผักชี เริ่มต้นการเตรียมแปลงปลูกเริ่มต้นด้วยการถางหญ้า และปรับพื้นที่แปลงตามประเภทของแปลงให้เหมาะสมกับฤดู และพื้นที่ เช่น ๔.๑ ฤดูฝนหรือพื้นที่ชุ่มตลอดปี ควรทาแปลงปลูกแบบยกร่องสูงหรือจัดให้มีร่องแปลง เพื่อ การระบายน้า ๔.๒ ฤดูแล้งหรือพื้นที่ขาดแคลนน้า ควรเตรียมแปลงในระดับพื้นหรือแปลงยกสันร่องแปลง เมื่อ ทาการกาจัดหญ้า และปรับระดับแปลงให้ได้ระดับแล้วจึงทาการพรวนดินผสมกับปุ๋ย ธรรมชาติที่ สามารถหาได้ในท้องถิ่น อาทิ แกลบ ขี้เลื่อย มูลโค-กระบือ ฟางข้าว เศษใบไม้ เป็นต้น เมล็ดพันธุ์ที่ มีการปลูกในปัจจุบัน ได้แก่ พันธุ์สิงคโปร์ และพันธุ์ไต้หวัน เมล็ดพันธุ์ผักชีที่ซื้อตามร้านค้ามักผสมกับผงเคมีกัน แมลง และความชื้นมาด้วย จึงควรล้างออกให้สะอาด และแช่ด้วยน้าสะเดาประมาณ ๑ ชั่วโมง ก่อนนามาหว่าน ที่แปลง เพื่อช่วยป้องกันแมลงมากัดกินเมล็ดพันธ์ผักชีก่อนการงอก สาหรับการแช่อาจแช่ใส่ถังน้าหรือใส่ห่อผ้า มัด และแช่ในถังก็ได้ ให้ทาการหว่านเมล็ด โดยให้แต่ละเมล็ดห่างกันประมาณ ๕-๑๐ เซนติเมตร จากนั้นให้ใช้ คราด ทาการคราดตามแนวยาว และแนวขวางของแปลงประมาณ ๒ รอบ พร้อมนาฟางข้าวโปรยกลบ ซึ่งควร ใช้ฟางข้าวที่มีการบดหรือสับขนาดสั้นๆ และไม่หว่านโปรยให้หนาจนเกินไป พร้อมทาการรดน้าให้ชุ่ม การให้ น้าในระยะเริ่มแรกหลังการหว่านเมล็ดจะให้น้าประมาณ ๒ ครั้ง/วัน ในช่วงเช้าเย็นทุกวัน จนถึงระยะประมาณ ๓๐ วัน ให้เว้นช่วงวันให้น้าประมาณ ๒-๓ วัน/ครั้ง โดยให้น้าเช้าเย็นเช่นกัน สาหรับช่วงก่อนการเก็บเกี่ยว
  • 17. ๑๑ ประมาณ ๑ สัปดาห์ ควรให้น้าน้อยลงประมาณ ๓ - ๔ วัน/ครั้งการใส่ปุ๋ย ให้ใช้น้าแช่มูลสัตว์ เช่น มูลโค กระบือ ไก่ หมู โดยทาการแช่น้ามูลสัตว์ใส่ถังทิ้งไว้ประมาณ ๑ สัปดาห์ และนาเอาส่วนที่เป็นน้ารดใน แปลงผักชีประมาณ ๒ - ๓ ครั้ง ต่อสัปดาห์ โดยเป็นการร่วมกับการให้น้าทั่วไป ๕. กะเพรา การปลูกกะเพรามีทั้งการปลูกเพื่อการขายในแปลงขนาดใหญ่ และการปลูกเพื่อ รับประทานเองภายในบ้านที่อาจปลูกในแปลงดินที่ว่างขนาดเล็กหรือการปลูกในกระถาง ด้วยแยกกล้าปลูก และการหว่านเมล็ด ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้ ๕.๑ การปลูกในแปลงขนาดใหญ่ การเตรียมกล้าพันธุ์จะใช้วิธีการหว่านเมล็ดในแปลงเพาะกล้าตามขนาดปริมาณที่ปลูก ด้วยการไถหน้าดินให้ลึก พร้อมกาจัดวัชพืช และหว่านกล้าพันธุ์ลงแปลง หลังจากนั้นจะให้น้า ๑ - ๒ ครั้ง/วัน จนกล้าแตกใบแท้ ๒-๕ ใบ ก็ย้ายลงปลูกในแปลงการปลูกในแปลงขนาดใหญ่มีทั้งรูปแบบแปลงยกร่องแปลงที่ ไม่ยกร่องโดยควรมีขนาดแปลงกว้าง ประมาณ ๑.๕-๒.๕ เมตร ความยาวตามความเหมาะสมของพื้นที่ – ไถดะกลบวัชพืช และตากหน้าดินนาน ๕-๑๐ วัน ขึ้นอยู่กับชนิดดิน – ทาการหว่านปุ๋ยหมัก ปุ๋ยมูลสัตว์ ในอัตรา ๕๐๐ กก./ไร่ ปุ๋ยเคมีสูตร ๑๕-๑๕-๑๕ ใน อัตรา ๑๐-๓๐ กก./ไร่ หรือใช้ปุ๋ยคอกรองพื้นอย่างเดียว – ทาการไถกลบอีกรอบ พร้อมกาจัดวัชพืช และตากดินประมาณ ๑ สัปดาห์ หรืออาจน้อยกว่า วิธีการปลูก – ย้ายต้นกล้า โดยควรให้มีดินติดรากมาด้วย และควรปลูกทันทีเมื่อมีการถอนย้าย – ระยะที่ปลูกในระหว่างแถว และหลุมปลูก ที่ ๒๐-๔๐ x ๒๐-๔๐ เซนติเมตร หากปลูกเพื่อ การค้ามักปลูกใน ระยะถี่ขึ้น เช่น ๒๐-๓๐ x ๒๐-๓๐ เซนติเมตร – หลังจากปลูกเสร็จให้รดน้าให้ชุ่ม การดูแล – ให้น้าหลังจากปลูกวันละ ๑ - ๒ ครั้ง หรืออาจให้วันเว้นวันเมื่อต้นกะเพราแตกกิ่งเป็นพุ่มใหญ่ – ให้ปุ๋ยคอก อัตรา ๒๐๐ กก./ไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีสูตร ๑๕-๑๕-๑๕ ในอัตรา ๓๐-๕๐ กก./ไร่ หลังปลูกประมาณ ๒ - ๔ อาทิตย์ เมื่อต้นกล้าตั้งต้นได้แล้ว การเก็บเกี่ยว การเก็บกระเพราจะเริ่มเก็บได้หลังการปลูก ๔๐-๕๐ วัน และเก็บได้อย่างต่อเนื่องอีกหลาย เดือน หากไม่มีการเก็บโดยการถอนทั้งต้น ซึ่งควรเก็บกิ่งแก่ในระยะก่อนออกดอกหรือเริ่มออกดอกซึ่งจะได้ กระเพราที่มีกลิ่นหอม ๕.๒ การปลูกในแปลงขนาดเล็ก การปลูกในแปลงขนาดเล็กอาจใช้วิธีการยกร่องสูง ๒๐-๓๐ ซม.หรือไม่ยกร่องซึ่งเริ่มด้วยการ พรวนดิน และกาจัดวัชพืชในแปลง และตากดิน ๒-๓ วัน การปลูกด้วยต้นกล้า เนื่องจากเป็นการปลูกในปริมาณ น้อยจึงเตรียมกล้าในแปลงบางส่วนที่เตรียมไว้หรือเตรียมในดินที่ว่างนอกแปลงแล้วจึงย้ายมาปลูกในแปลงใน ระยะ ๓๐-๔๐ ซม./ต้น หากปลูกเพื่อการค้ามักปลูกในระยะถี่ขึ้น เช่น ๒๐-๓๐ x ๒๐-๓๐ เซนติเมตร การปลูก
  • 18. ๑๒ ด้วยการหว่านที่มักปลูกเพื่อการค้า จะใช้วิธีหว่านเมล็ดลงแปลง โดยพยายามให้เมล็ดตกห่างกันให้มากที่สุด ๒๐ - ๓๐ ซม. พร้อมด้วยใช้คราดเกลี่ยดินกลบเล็กน้อย ๖. ผักบุ้งจีน เป็นผักที่บริโภคในส่วนของต้นและใบ ผักบุ้งเป็นพืชปลูกง่ายมี และเจริญเติบโตเร็ว การดูแล รักษาง่าย สามารถปลูกได้ตลอดปี และสามารถขึ้นได้ในดินทุกชนิด การเตรียมดินและการปลูก ผักบุ้งจีน เป็นผักที่มีระบบรากตื้น ขุดดินลึกประมาณ ๑๕ - ๒๐ ซม. ใส่ปุ๋ยคอกและปุ๋ยหมัก คลุกเคล้าให้เข้าทั่วแปลง หว่านเมล็ดให้กระจายทั่วแปลงอย่างสม่าเสมอ หรืออาจใช้เมล็ดโรยเป็นร่อง โดยระยะห่างระหว่างแถวปลูก ๑๕ ซม. กลบเมล็ดด้วยปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยคอก รดน้าให้ชุ่มคลุมด้วยฟางข้าวบาง ๆ เพื่อรักษาความชุ่มชื้น ของหน้าดิน ต้นกล้าจะเริ่มงอก ๒ - ๓ วันหลังหยอดเมล็ดการดูแลรักษา การใส่ปุ๋ย ผักบุ้งจีนเป็นผักที่กินใบที่ มีอายุสั้น ดังนั้นควรใส่ปุ๋ยไนโตรเจน เช่น ยูเรีย หรือ แอมโมเนี่ยมซัลเฟต อัตรา ๑ - ๒ ช้อนชาต่อน้า ๑๐ ลิตร ละลายผสมน้ารดผักบุ้ง ทุก ๆ ๕ - ๗ วันหรือหว่านโดยตรงในแปลงอัตรา ๑ กา (๒ - ๓ ช้อนแกง) ต่อพื้นที่ปลูก ๑ ตารางเมตร และรดน้าตามทันทีหรือจะใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักอย่างสม่าเสมอ โดยใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ น้อยลงได้ การให้น้า ผักบุ้งชอบดินที่มีความชื้นสูง ควรให้น้าบ่อย ๆ อย่าให้ขาดน้า ผักบุ้งอาจจะชะงักการ เจริญเติบโต แคระแกรนและคุณภาพไม่ดีการกาจัดวัชพืชไม่จาเป็น เพราะเป็นผักที่มีอายุสั้นและ เจริญเติบโตเร็วมาก สามารถขึ้นคลุมพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว การเก็บเกี่ยวหว่านเมล็ดประมาณ ๒๕ - ๓๐วัน สามารถเก็บเกี่ยวได้วิธีการเก็บโดยใช้มือถอนทั้งราก แล้วนามาล้างให้สะอาดหรือหากไม่ถอน สามารถใช้มือ เด็ดหรือมีดตัดยอดไปบริโภคและปล่อยโคนไว้ บารุงด้วยปุ๋ยวิทยาศาสตร์หรือปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก และหมั่นรดน้า ประมาณ ๑๕ วัน ต่อมาสามารถทยอยตัดได้อีก ๓. หลักการทาปุ๋ยหมักจากเศษอาหาร ปุ๋ยหมักจากเศษอาหารประกอบด้วยมีธาตุอาหารที่ช่วยให้พืชเจริญเติบโตได้ดีและมีคุณสมบัติในการ ช่วยเพิ่มจุลินทรีย์ในดิน ช่วยย่อยสลายอินทรียวัตถุให้กลายเป็นปุ๋ยสาหรับพืช ทาให้ดินร่วนซุย และพัฒนาการ เจริญเติบโตของพืช แต่ละวัน ในครัวเรือนจะมีเศษอาหารเหลือทิ้งจานวนไม่น้อย เราสามารถนาเศษอาหารนี้ มาทาเป็นปุ๋ยสาหรับปลูกผักสวนครัวในบ้านได้ง่ายๆ หลักการคือใช้เศษอาหาร (แยกน้า กระดูกและก้างปลา ออก) ดินหรือปุ๋ยคอก ใบไม้แห้งเทซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ส่วนการทาถังปุ๋ยโดยการนาตะกร้าพลาสติก เข่ง หรือ ภาชนะทรงสูง เจาะให้มีรูระบายน้าได้ กรุถุงพลาสติกที่เจาะรูรอบลงไปเป็นภาชนะรองรับด้านใน เมื่อมีเศษ อาหารให้เทลงไปแล้วตามด้วยดินหรือปุ๋ยคอก และใบไม้แห้งซ้อนเป็นชั้น ๆ ในสัดส่วนอย่างละเท่าๆ กัน รวบ ปากถุงพลาสติกคร่าวๆ แล้วปิดฝาเพื่อป้องกันแมลงวันมาวางไข่ ทาซ้าเช่นนี้ทุกครั้งเมื่อทิ้งเศษอาหารหากเต็ม แล้วปิดฝาทิ้งไว้รดน้าทุก ๗ วัน เพื่อระบายความร้อนในกองปุ๋ยออก หนึ่งเดือนผ่านไป เศษอาหารจะย่อยสลาย กลายเป็นปุ๋ยหมักสีดาเข้มโดยไม่ส่งกลิ่นเหม็นรบกวนเลย ปุ๋ยที่ได้นี้ใช้ผสมดินปลูกผักสวนครัวช่วยบารุงผักให้ งอกงาม (บ้านและสวน, ๒๕๖๑) นอกจากนี้ เศษวัสดุบางอย่างสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้อีกหลายอย่าง เช่น เปลือกไข่ นาไปตาก แห้งบดให้ละเอียดเก็บไว้ ใช้โรยรอบแปลงผักหรือกระถางเพาะเมล็ด ช่วยป้องกันหอยทากมากินต้นอ่อนพืชได้ หรือใช้โรยในถังไส้เดือนช่วยลดความเป็นกรดของดินและกาจัดไรแดงในถังเลี้ยงได้ ส่วนเปลือกถั่วลิสง มีไนโตรเจนสูงตากแห้งแล้วบดหยาบ ๆ ผสมกับดินปลูก ช่วยบารุงต้นไม้และพืชผักได้เป็นอย่างดี