SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
การติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม
รองศาสตราจารย์ศิวพันธุ์ ชูอินทร์
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
080-5050600, 02-1601143 ต่อ 76
sivapan.ch@ssru.ac.th
ประวัติ รศ.ศิวพันธุ์ ชูอินทร์
 การศึกษา
◦ วท.ม. วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ม.ธรรมศาสตร์
◦ วท.บ. วิทยาศาสตร์ เคมี ม. พระจอมเกล้าธนบุรี
 การทางาน
 Application Engineer บริษัทวอเตอร์เทส จากัด
 อาจารย์ประจาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
 อาจารย์ประจาหลักสูตรการจัดการสิ่งแวดล้อม (ป.โท)
 ผู้อานวยการศูนย์วิทยาศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
เนื้อหาบรรยาย
 คุณภาพสิ่งแวดล้อม
 สารมลพิษทางอากาศ
และการตรวจวัดคุณภาพอากาศ
 คุณภาพน้าและการตรวจวัดคุณภาพน้า
คุณภาพสิ่งแวดล้อม
 มลพิษทางน้า
 มลพิษทางอากาศ
 ขยะมูลฝอย
 มลพิษทางเสียง
 ของเสียอันตราย
การตรวจวัดสารมลพิษทางอากาศ
6
มลพิษทางอากาศ
“มลพิษทางอากาศ หมายถึง ภาวะที่อากาศมีการปนเปื้อนของ
สารมลพิษทางอากาศตั้งแต่หนึ่งหรือหลายชนิด ในปริมาณที่มาก
พอ และระยะเวลาสัมผัสนานเพียงพอที่จะก่อให้เกิดผลต่อสุขภาพ
อนามัยของคน สัตว์ พืช และสิ่งแวดล้อมอื่นหรือลดความ
สะดวกสบายในการดารงชีวิต”
7
ผลกระทบจาก
มลพิษทางอากาศ
ผลกระทบในระดับโลก
(ระดับกว้าง)
1. ปรากฏการณ์เรือนกระจก
2. การลดลงของชั้นโอโซน
3. การเกิดฝนกรด
4. ไฟป่ า
ผลกระทบที่ระดับผิวพื้น
1. อนุภาคฝุ่ น
2. ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์
3. ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์
4. ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์
5. ก๊าซโอโซน
6. สารตะกั่ว
7. สารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs)
8. ควันดา
9. ควันขาว
อนุภาคฝุ่ น (Particulate Matter – PM)
 “อนุภาคฝุ่นเป็นทั้งอนุภาคของแข็งและของเหลว ซึ่งไม่ใช่สารที่มี
โมเลกุลเดียว ขนาดของอนุภาคทาให้อัตราการคงอยู่ในอากาศ
เป็นไปได้ตั้งแต่ 2-3 วินาที ไปจนถึงหลาย ๆ เดือน”
 อนุภาคฝุ่นทั้งหมด (TSP)
 อนุภาคฝุ่นที่มีขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM- 10)
 อนุภาคฝุ่นที่มีขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน (PM- 2.5)
อันตรายขึ้นกับขนาด
ขนาดอนุภาคฝุ่ น การเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ
มากกว่า 10 ไมครอน ไม่เข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ
9.0 – 10 ไมครอน ไม่เข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ
5.8 – 9.0 ไมครอน ไม่เข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ
4.7 – 5.8 ไมครอน เข้าสูงระบบทางเดินหายใจถึงคอ
หอย
3.3 – 4.7 ไมครอน เข้าสูงระบบทางเดินหายใจถึง
หลอดลมส่วนต้น
2.1 – 3.3 ไมครอน เข้าสูงระบบทางเดินหายใจถึง
หลอดลมส่วนกลาง
1.1 – 2.1 ไมครอน เข้าสูงระบบทางเดินหายใจถึง
หลอดลมส่วนปลาย
0.65 – 1.1 ไมครอน เข้าสูงระบบทางเดินหายใจถึงถุงลม
0.43 – 0.65 ไมครอน เข้าสูงระบบทางเดินหายใจถึงถุงลม
ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO)
 เป็นก๊าซพิษที่ไม่มีสี ไม่มีรส และไม่มีกลิ่น เบากว่าอากาศเล็กน้อย มี
ความคงตัวสูงมาก อยู่ในบรรยากาศได้นาน 2-3 เดือน
 มีผลต่อสุขภาพของคนโดยตรง ไม่มีผลต่อผิวของวัตถุและพืช
 เมื่อคนหายใจเอาก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์เข้าไปสู่ปอด จะทาให้เม็ด
เลือดแดงไม่สามารถรับออกซิเจนจากปอดไปเลี้ยงร่างกาย ทาให้ลด
ปริมาณการนาส่งออกซิเจนสู่อวัยวะและเนื้อเยื่อต่าง ๆ ของร่างกาย ทา
ให้เวียนศีรษะ ตาพร่ามัว หายใจอึดอัด คลื่นไส้อาเจียน เป็นลม หมด
สติ และถ้าร่างกายรับเข้าไปในปริมาณมากอาจเสียชีวิตได้
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์
 ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) เป็นก๊าซที่ไม่มีสี แต่มีกลิ่นกรด เมื่อถูก
ปล่อยออกสู่บรรยากาศสามารถรวมตัวกับน้าหรือไอน้าในอากาศ
กลายเป็นกรดซัลฟิวริก (H2SO4) ซึ่งเป็นตัวการที่ก่อให้เกิดฝนกรด
 มีอันตรายต่อร่างกายมากเมื่อรวมตัวกับฝุ่น
 โดยมีผลต่อการเจ็บป่วยการระคายเคืองของระบบทางเดินหายใจ
 โรคปอด โรคเกี่ยวกับหลอดเลือด หัวใจ หรือโรคปอด เช่น โรค
หลอดลมอักเสบ ถุงลมโป่งพอง และผู้ที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดคือ
เด็ก คนชรา และผู้ป่วยโรคหืด
 เป็นตัวการที่สาคัญที่ก่อให้เกิดฝนกรดในสิ่งแวดล้อม
ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์
 เป็นก๊าซสีน้าตาลแกมแดงที่มีกลิ่นฉุน คล้ายคลอรีน ละลายน้าได้ดี
และอยู่ในอากาศได้เพียง 3 วันเท่านั้นก่อนที่จะสลายตัว สามารถ
รวมตัวกับไอน้าในอากาศหรือน้าฝนกลายเป็นกรดไนทริก (HNO3)
 ให้เกิดการระคายเคืองในปอด
 ทาให้ปอดอักเสบ
 เกิดเนื้องอกในปอด
 หลอดลมตีบตัน
 ภูมิต้านทานของร่างกายต่าลง
 ทาให้เกิดโอโซนที่พื้นผิวโลก (ซึ่งเป็นก๊าซพิษ)
 เป็นตัวการสาคัญที่ทาให้เกิดฝนกรด
ก๊าซโอโซน
 ก๊าซโอโซน (O3) บริสุทธิ์จะมีสีน้าเงินแก่ มีกลิ่นคล้ายคลอรีน ละลาย
น้าได้มากกว่าออกซิเจน ก๊าซโอโซนที่ระดับพื้นผิวโลกถือว่าเป็นสาร
มลพิษทางอากาศชนิดหนึ่ง
 ก๊าซโอโซนทาให้ระคายตา ระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ ลด
ความสามารถในการทางานของปอด ทาให้เหนื่อยเร็ว
 โอโซนมีผลกระทบต่อวัสดุ เช่น ทาให้ยางและพลาสติกเสื่อมคุณภาพ
ได้เร็ว
สารตะกั่ว
 ตะกั่ว (Lead, Pb) เป็นสารโลหะหนักชนิดหนึ่ง มีสีเทาหรือขาวแกม
น้าเงิน และเป็นสารพิษ
 สารตะกั่วเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งในเม็ดเลือด
 มีฤทธิ์ทาลายระบบประสาทส่วนกลาง
 ทาให้เกิดการเจริญเติบโตของทารกและเด็กช้าลง
 สัตว์น้า เช่น ปู ปลา กุ้ง หอย สามารถรับเอาสารตะกั่วเข้าไปสะสม
ในตัว เมื่อคนกินสัตว์น้าเหล่านี้เข้าไปก็ได้รับอันตรายจากพิษของ
ตะกั่วเข้าไปด้วย
 สัตว์น้าที่มีตะกั่วสะสมอยู่มาก คือ ปลา และหอยนางรม
15
การตรวจวัดสารมลพิษทางอากาศ
1. การตรวจวัดในบรรยากาศภายนอกอาคาร
2. การตรวจวัดเพื่อดูผลกระทบเฉพาะบุคคล
3. การตรวจวัดในสถานประกอบการ
4. การตรวจวัดจากแหล่งกาเนิด
การตรวจวัดสารมลพิษทางอากาศในบรรยากาศ
สารมลพิษ วิธีการตรวจวัด
1. อนุภาคฝุ่น Gravimetric Hi - volume
2. ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ NDIR
3. ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ Chemluminescence
4. ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ Pararosaniline
5. ก๊าซโอโซน Chemluminescence
6. สารตtกั่ว Gravimetric Hi – volume + AAS
การตรวจวัดอนุภาคฝุ่ น
พารามิเตอร์
ระยะเวลาใน
การตรวจวัด
วิธีมาตรฐานอ้างอิง วิธีอื่นที่กรมควบคุมมลพิษเห็นชอบ
TSP 24 ชั่วโมง ระบบกราวิเมตริก
PM – 10 24 ชั่วโมง ระบบกราวิเมตริก ระบบ เบต้า เร (Beta ray)
ระบบ เทปเปอ อิลิเมน ออสซิเลติ้ง ไม
โครบาลานซ์ (TEOM)
ระบบไดโคโตมัส (Dichotomous)
PM – 2.5 24 ชั่วโมง เป็น Federal
Reference Method
(FRM) ตามที่ US
EPA กาหนด
ระบบ เบต้า เร
ระบบ เทปเปอ อิลิเมน ออสซิเลติ้ง
ไมโครบาลานซ์
ระบบไดโคโตมัส
การตรวจวัดอนุภาคฝุ่ นทั้งหมด (TSP)
การตรวจวัดอนุภาคฝุ่ น
ที่มีขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM-10)
การตรวจวัดอนุภาคฝุ่ น
ที่มีขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน (PM-2.5)
 สามารถวัดด้วยวิธีกราวิเมตริก (Gravimetric method) ซึ่งเป็น
วิธีการมาตรฐานของ US.EPA. ที่เรียกว่า Federal Reference
Method (FRM)
 วิธี Tapered Element Oscillating Microbalance (TEOM)
การตรวจวัดอนุภาคฝุ่ นที่ตัวบุคคล
การตรวจวัดอนุภาคฝุ่ นที่ปล่องควัน
 ใช้วิธี isokinetic
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม 23
มลพิษทางน้า
ลักษณะของน้าเสีย
ด้านกายภาพ
(physical)
ด้านเคมี
(chemical)
ด้านชีวภาพ
(biological)
24
ลักษณะของน้าเสียทางกายภาพ
ของแข็ง (solid)
อุณหภูมิ
สี (color)
ความขุ่น (turbidity)
กลิ่น (odor)
ของแข็ง (solids)
 หมายถึง “ของแข็งประเภทต่าง ๆ ทั้งประเภทที่ละลายได้ดีในน้า
แขวนลอยในน้า หรือประเภทที่ลอยน้าได้เช่น ดิน เศษกระดาษ
ถุงพลาสติก เม็ดทราย เศษพืช”
 SS
 TS
 TDS
 Settleable Solids
อุณหภูมิ (temperature)
 คือ ความร้อน-เย็นของน้า
 อุณหภูมิของน้าที่สูงกว่าอุณหภูมิของน้าในธรรมชาติเนื่องจาก
ความร้อนจากน้าทิ้งของโรงงานอุตสาหกรรมหรือจากครัวเรือนมี
ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตในน้า
 ทาให้การเจริญเติบโตของสัตว์และพืชน้าลดลง
สี (color)
 น้าทิ้งที่ปล่อยจากชุมชนจะมีสีเทาปนน้าตาลอ่อนและจะเปลี่ยนเป็น
สีเทาหรือสีดา
 น้าทิ้งจากอุตสาหกรรม มักมีสีเทา เทาเข้ม หรือสีดา ซึ่งเกิดจาก
พวกซัลไฟต์ของโลหะ
 นอกจากนี้สีอาจเกิดจากสาหร่าย หรือสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กในน้าทาให้
แหล่งน้านั้นมีสีเขียว หรือเกิดจากตะกอนขนาดเล็กในน้า
 อุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดสีในน้าทิ้ง เช่น โรงงานกระดาษ โรงงาน
ฟอกย้อม เป็นต้น
ความขุ่น (turbidity)
 เกิดจากมีสารแขวนลอยต่าง ๆ เช่น ดิน ตะกอน แพลงค์ตอน
สารอินทรีย์สารอนินทรีย์สิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ที่มีขนาดเล็ก
ลอยอยู่ในน้า เป็นต้น มีผลในการบดบังไม่ให้แสงอาทิตย์ส่องลง
สู่ด้านล่างของแหล่งน้า
กลิ่น (odor)
 น้าทิ้งจากชุมชนมีกลิ่นเหม็นอับ เนื่องจากก๊าซไข่เน่าหรือก๊าซ
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการย่อยสลายที่ไม่ใช้
ออกซิเจน
 ส่วนน้าทิ้งจากอุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมเคมี ยา อาหาร
กลิ่นเกิดจาก ฟีนอล แอมโมเนีย ไซยาไนด์ เป็นต้น
30
สารอินทรีย์ (organic mater) สารอนินทรีย์ (inorganic mater)
ลักษณะของน้าเสียด้านเคมี
ไขข้น,ไขมัน และน้ามัน
(fat, oil and grease: FOG)
BOD (biochemical oxygen demand)
CH4
COD (chemical oxygen demand)
ความเป็นกรด-ด่าง (pH)
nitrogen (N)
ความกระด้าง (hardness)
phosphorus (P)
สารโลหะหนัก (heavy metal)
DO (dissolved oxygen)
HsS
ค่าความเป็นกรด – ด่าง
 พีเอช (pH : Positive Potential of the Hydrogen ions) เป็นการบอก
ถึงความเข้มข้นของไฮโดรเจนอิออน [H+] ในสารละลาย
 มีค่าตั้งแต่ 0 - 14
 มีความสาคัญในการควบคุมคุณภาพน้าให้เหมาะสมกับการ
เจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต
 โดยทั่วไปน้ามีค่ากรด - เบส อยู่ในช่วง 5-8
FOG)
 ไขข้น น้ามัน และไขมัน (fat, oil และ grease : FOG)
 น้าทิ้งจากชุมชนมีการปนเปื้อนของไขมันหรือน้ามันจาก
กระบวนการชาระล้าง อู่ซ่อมรถ สถานีบริการน้ามัน เป็นต้น
 เป็นสารที่มีความคงตัวสูงมาก จุลินทรีย์ย่อยสลายได้ยาก
 หากมีการปนเปื้อนในแหล่งน้าทาให้ดูไม่สวยงาม
 จากลักษณะสมบัติที่ลอยเหนือน้าทาให้สามารถกันไม่ให้แสงอาทิตย์
และออกซิเจนกระจายลงสู่น้า ทาให้เกิดสภาวะไร้ออกซิเจนขึ้นได้
ปริมาณออกซิเจนละลายน้า
 Dissolved Oxygen : DO) เป็นตัวบ่งชี้คุณภาพน้า
 โดยทั่วไปไม่ควรมีปริมาณต่ากว่า 4 มิลลิกรัมต่อลิตร
 หากมีปริมาณน้อยสิ่งมีชีวิตไม่สามารถอาศัยอยู่ในน้าได้
 ในน้าเมื่อไม่มีออกซิเจนจะเกิดการย่อยสลายสารอินทรีย์ของจุลินทรีย์
ที่ไม่ใช้ออกซิเจนได้ผลผลิตเป็นก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ซึ่งมีกลิ่น
เหม็น และก๊าซมีเธน
ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S)
 เป็นก๊าซที่ไม่มีสี
 มีกลิ่นคล้ายไข่เน่า ทาให้มีการเรียกก๊าซชนิดนี้ว่า “ก๊าซไข่เน่า”
 เป็นก๊าซที่มีความเป็นพิษ ไม่ติดไฟ
 เกิดขึ้นในการย่อยสลายในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจน
 หากรวมตัวกับเหล็กจะเกิดเป็นสีดาของซัลไฟต์(FeS)
 บ่อเกรอะของส้วมมักให้ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) ออกมา
เสมอ เนื่องจากเกิดการหมักแบบไม่ใช้ออกซิเจน
บีโอดี (BOD)
 บีโอดี (biochemical oxygen demand : BOD) หมายถึง “ปริมาณ
ออกซิเจนที่แบคทีเรียใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ในเวลา 5 วัน ที่
อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส”
 เป็นค่าที่บอกให้ทราบถึงปริมาณของออกซิเจนที่แบคทีเรียใช้ในการ
ย่อยสลายสารอินทรีย์ที่ปนเปื้อนในน้า
 ซึ่งถือว่ามีการย่อยสลายได้หมดในเวลา 5 วัน ที่ 20 องศาเซลเซียส
 จากการศึกษาหากค่าบีโอดีมีค่าสูงแสดงว่าน้านั้นเน่าเสียมาก มีการ
ปนเปื้อนของสารอินทรีย์ที่สามารถถูกย่อยสลายได้โดยจุลินทรีย์อยู่
ในปริมาณมาก
 ค่าบีโอดีแสดงถึงความสกปรกของน้า
ซีโอดี (COD)
 ซีโอดี (chemical oxygen demand : COD) หมายถึง “ปริมาณ
ออกซิเจนทั้งหมดที่ต้องการใช้เพื่อออกซิเดชันสารอินทรีย์ในน้า
(ย่อยสลายและเพิ่มออกซิเจนให้กับสารอินทรีย์) ในน้าให้เป็นก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์และน้า”
 ค่าซีโอดีมีความสาคัญในการวิเคราะห์คุณภาพน้าและการควบคุม
ระบบบาบัดน้าเสียเช่นเดียวกับค่าบีโอดี
 ค่าซีโอดีหากมีค่าสูงแสดงว่าน้านั้นเน่าเสียมากและมีสารอินทรีย์ที่
สามารถย่อยสลายได้โดยสารเคมีอยู่ในปริมาณมาก
ไนโตรเจน (nitrogen : N)
 เป็นธาตุที่มีความสาคัญในการสังเคราะห์โปรตีน
 สารไนโตรเจนในน้าอยู่ในรูปสารอินทรีย์ไนโตรเจน แอมโมเนีย
ไนไตรท์ไนเตรต
 ถ้ามีไนโตรเจนในแหล่งน้ามาก ทาให้พืชน้ามีการเจริญเติบโต
อย่างรวดเร็ว (eutrophication)
ฟอสฟอรัส (phosphorus : P)
 สารฟอสฟอรัสในน้าอยู่ในรูปของออร์โธฟอสเฟต (orthophosphate)
ซึ่งมาจากการปล่อยน้าทิ้งของกระบวนการชาระล้าง การซักผ้า
(ผงซักฟอกมีสารฟอสฟอรัสเป็นองค์ประกอบ) เป็นต้น
 ถ้ามีฟอสฟอรัสในแหล่งน้ามาก ทาให้พืชน้ามีการเจริญเติบโตอย่าง
รวดเร็วเช่นเดียวกับสารไนโตรเจน
สารโลหะหนัก (heavy metal)
 ที่สาคัญ ได้แก่ สารตะกั่ว (Pb) ทองแดง (Cu) โครเมียม (Cr)
แคดเมียม (Cd) และสารหนู (As) เป็นต้น
 สารโลหะหนักที่แพร่กระจายส่งสู่แหล่งน้าส่วนใหญ่มาจากน้าทิ้ง
ของอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น กระบวนการชุบโลหะ โรงงานเคมี
โรงงานผลิตแบตเตอรี และมาจากการใช้สารปราบศัตรูพืช เป็นต้น
 สารโลหะหนักยอมให้มีได้ในน้าในปริมาณน้อยมาก เนื่องจากเป็น
สารที่มีความเป็นพิษแม้จะปนเปื้อนในปริมาณที่น้อย
 แต่มีบางชนิดหากปริมาณไม่มากนักจะมีผลดีต่อสิ่งมีชีวิตในน้า เช่น
สารทองแดง สังกะสี เป็นต้น
ผลกระทบของสารโลหะหนัก
สารโลหะหนัก ผลกระทบ
ต่อสุขภาพ
ตัวอย่างสถานที่
เกิดผลกระทบ
1. ตะกั่ว โรคโลหิตจาง ลาห้วยคลีตี้จ.กาญจนบุรี
2. แคดเมียม โรคอิไต-อิไต การปนเปื้อนของ
แคดเมียมในนาข้าว
จ. ตาก
3. ปรอท โรคมินามาตะ อ่าวมินามาตะ
ประเทศญี่ปุ่น
4. สารหนู โรคไข้ดา
มะเร็งผิวหนัง
อาเภอร่อนพิบูลย์
จ.นครศรีธรรมราช
การตรวจวัดคุณภาพน้า
 การกาหนดจุดเก็บตัวอย่างน้า
 การเก็บตัวอย่างน้า
 การวิเคราะห์คุณภาพน้า
◦ การตรวจวัดในภาคสนาม
◦ การวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ
 การรายงานผล
การวางแผนการติดตามตรวจสอบ
 ติดตามตรวจสอบอะไร (what)
 ติดตามตรวจสอบที่ไหน (where)
 ทาการติดตามตรวจสอบเมื่อไหร่ (when)
 มีวิธีการติดตามตรวจสอบอย่างไร (how)
การตรวจวัดคุณภาพน้า
 น้าทิ้งจากแหล่งกาเนิด : โรงงาน
◦ มาตรฐานของกรมโรงงานอุตสาหกรรม
◦ มาตรฐานของกรมควบคุมมลพิษ
น้าทิ้งจากชุมชน : หมู่บ้าน คอนโด โรงแรม ห้างสรรพสินค้า
◦ มาตรฐานของกรมควบคุมมลพิษ
 น้าผิวดิน : คลอง บึง แม่น้า
◦ มาตรฐานของกรมควบคุมมลพิษ
วิธีการวิเคราะห์คุณภาพน้า
ที่ ดัชนีคุณภาพน้า วิธีการตรวจสอบ
1 ความเป็นกรดและด่าง (pH) pH meter
2 Fat, Oil and Grease (FOG) สกัดด้วยตัวทาละลาย แล้วแยกหา
น้าหนักของน้ามันและไขมัน
4 บีโอดี (BOD) Azide Modification ที่ 20 0C 5 วัน
5 ซีโอดี (COD) Potassium Dichromate Digestion
6 TKN หรือ
Total Kjeldahl Nitrogen
Kjeldahl
วิธีการวิเคราะห์คุณภาพน้า
ที่ ดัชนีคุณภาพน้า วิธีการตรวจสอบ
7 โลหะหนัก (Cu, Ni, Mn, Zn,
Cd, Cr6+, Pb, As)
Atomic Absorption หรือ ICP
การวัดค่าของแข็งแขวนลอย
 วิธี Glass Filter Disk Dried at 103-105 องศาเซลเซียส
 กรองน้าตัวอย่างผ่านกระดาษกรอง Glass Microfibre Filter, GF/C
ขนาดรู 1.2 ไมครอน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 47 มล. ที่ทราบ
น้าหนักแน่นอน
 อบในตู้อบที่อุณหภูมิ 103-105 ๐C เป็นเวลา 2 ชั่วโมง หลังจากนั้น
นาไปเข้าตู้ดูดความชื้น แล้วนามาชั่งน้าหนัก
 น้าหนักส่วนที่เพิ่มขึ้นมาจะเป็นปริมาณสารแขวนลอยที่มีอยู่ในน้า
โดยคิดเทียบเป็นหน่วยมิลลิกรัมต่อลิตร (mg/l)
การวัดค่าความขุ่นของน้า
 ความขุ่นของน้าวัดได้2 วิธี คือ การวัดปริมาณแสงที่ส่องทะลุความ
ขุ่น (Turbidimetry) และการวัดปริมาณแสงที่สะท้อนออกมาใน
ทิศทางตั้งฉากหลังจากที่แสงกระทบกับความขุ่น (Nepthelometry)
ในปัจจุบันนิยมวัดการสะท้อนของแสง
 หน่วยของความขุ่นคือ “เอ็นทียู (NTU : Nephelometric Turbidity
Unit)
(secchi disk)
การวัดสีของน้า
 ใช้การดูด้วยตา
 ในวิธี ADMI ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมและกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กาหนดค่าของสีในน้าทิ้งต้องไม่เกิน 300 ADMI
การวัดค่าพีเอช
การวัดค่าพีเอชทาได้2 วิธี คือ
1. วิธีเทียบสี
กระดาษลิตมัส
กระดาษ พีเอช
2. วิธีไฟฟ้า
pH meter
DO
 วิธีมาตรฐานคือ Azide Modification
 ใช้DO meter
◦ Membrane
◦ Optic
วิธีวัดบีโอดี
 BOD = DO0 – DO5
 วัด DO0, 5 เช่นเดี่ยวกับ DO
 น้าผิวดินมีค่า ประมาณ 1 – 7 mg/L
 น้าเสียมีค่ามาก ต้องเจือจางก่อน
COD
 Chemical Oxygen Demand : COD
 วิเคราะห์โดยวิธีโพแทสเซียมไดโครเมต
◦ Open Reflux Method
◦ Close Reflux, Titrimetric Method
◦ Close Reflux, Colorimetric Method
ไนโตรเจน (nitrogen : N)
สารไนโตรเจน วิธีวิเคราะห์
ไนโตรเจนทั้งหมด ย่อย + กลั่น + ไตเตรท
Ammonia กลั่น + ไตเตรท
Nitrite Colorimety
Nitrate Cadmium reduction
ฟอสฟอรัส (phosphorus : P)
 ฟอสเฟตที่ทาการวิเคราะห์อยู่ในรูปออร์โธฟอสเฟต
 วิธีมาตรฐาน เป็นการวิเคราะห์โดยการวัดสี ซึ่งมี 3 วิธี คือ
◦ วิธีวานาโดโมลิบโดฟอสฟลอริก แอซิค
(Vanadomolybdophosphoric Acid)
◦ วิธีสแตนนัส คลอไรด์ (Stannous Chloride)
◦ วิธีแอสคอบิค แอซิค (Ascobic Acid)
 ทั้ง 3 วิธีใช้หลักการในการวิเคราะห์เหมือนกัน แต่ต่างกันตรงที่ชนิด
ของสารเคมีที่ใช้

More Related Content

What's hot

จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายก
จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายกจดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายก
จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายกPoramate Minsiri
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ARM ARM
 
หนังสือรับรองคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
หนังสือรับรองคุณวุฒิระดับปริญญาตรีหนังสือรับรองคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
หนังสือรับรองคุณวุฒิระดับปริญญาตรีAkekrin Kerdsoong
 
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครูเอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครูJaratpong Moonjai
 
ใบงานและใบความรู้ เรื่อง Past continuous
ใบงานและใบความรู้ เรื่อง Past continuousใบงานและใบความรู้ เรื่อง Past continuous
ใบงานและใบความรู้ เรื่อง Past continuousสมใจ จันสุกสี
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชChoengchai Rattanachai
 
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือrungnapa4523
 
การเทียบอักษรภาษาอังกฤษ – ภาษาไทย
การเทียบอักษรภาษาอังกฤษ  – ภาษาไทยการเทียบอักษรภาษาอังกฤษ  – ภาษาไทย
การเทียบอักษรภาษาอังกฤษ – ภาษาไทยRawiwun Theerapongsawud
 
แบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรมแบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรมPhajon Kamta
 
ใบความรู้+การขึ้นตกของดวงจันทร์+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f19-4page
 ใบความรู้+การขึ้นตกของดวงจันทร์+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f19-4page ใบความรู้+การขึ้นตกของดวงจันทร์+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f19-4page
ใบความรู้+การขึ้นตกของดวงจันทร์+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f19-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
แผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่าย
แผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่ายแผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่าย
แผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่ายRUNGDARA11
 
Ordinal number (จำนวนนับ)
Ordinal number (จำนวนนับ)Ordinal number (จำนวนนับ)
Ordinal number (จำนวนนับ)Kansinee Kosirojhiran
 
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51oieseau1
 
แบบทดสอบเรื่องการให้คำแนะนำ
แบบทดสอบเรื่องการให้คำแนะนำแบบทดสอบเรื่องการให้คำแนะนำ
แบบทดสอบเรื่องการให้คำแนะนำสมใจ จันสุกสี
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดmouseza
 

What's hot (20)

จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายก
จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายกจดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายก
จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายก
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
 
หนังสือรับรองคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
หนังสือรับรองคุณวุฒิระดับปริญญาตรีหนังสือรับรองคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
หนังสือรับรองคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครูเอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
 
ใบงานและใบความรู้ เรื่อง Past continuous
ใบงานและใบความรู้ เรื่อง Past continuousใบงานและใบความรู้ เรื่อง Past continuous
ใบงานและใบความรู้ เรื่อง Past continuous
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
Chapt3
Chapt3Chapt3
Chapt3
 
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
การเทียบอักษรภาษาอังกฤษ – ภาษาไทย
การเทียบอักษรภาษาอังกฤษ  – ภาษาไทยการเทียบอักษรภาษาอังกฤษ  – ภาษาไทย
การเทียบอักษรภาษาอังกฤษ – ภาษาไทย
 
แบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรมแบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรม
 
ใบความรู้+การขึ้นตกของดวงจันทร์+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f19-4page
 ใบความรู้+การขึ้นตกของดวงจันทร์+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f19-4page ใบความรู้+การขึ้นตกของดวงจันทร์+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f19-4page
ใบความรู้+การขึ้นตกของดวงจันทร์+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f19-4page
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
 
แผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่าย
แผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่ายแผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่าย
แผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่าย
 
Ordinal number (จำนวนนับ)
Ordinal number (จำนวนนับ)Ordinal number (จำนวนนับ)
Ordinal number (จำนวนนับ)
 
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
 
แบบทดสอบเรื่องการให้คำแนะนำ
แบบทดสอบเรื่องการให้คำแนะนำแบบทดสอบเรื่องการให้คำแนะนำ
แบบทดสอบเรื่องการให้คำแนะนำ
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
 
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบวิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
 
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษการเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
 

Similar to Environmental monitor

Similar to Environmental monitor (10)

4. air noise
4. air noise4. air noise
4. air noise
 
2 สิ่งสำคัญก่อนใช้เครื่อง GC
2 สิ่งสำคัญก่อนใช้เครื่อง GC2 สิ่งสำคัญก่อนใช้เครื่อง GC
2 สิ่งสำคัญก่อนใช้เครื่อง GC
 
Process instrumentation unit 08
Process instrumentation unit 08Process instrumentation unit 08
Process instrumentation unit 08
 
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิปบทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
 
รายงานผลการอบรมครูเคมี 2554
รายงานผลการอบรมครูเคมี 2554รายงานผลการอบรมครูเคมี 2554
รายงานผลการอบรมครูเคมี 2554
 
มลพิษทางอากาศในทับแก้ว
มลพิษทางอากาศในทับแก้วมลพิษทางอากาศในทับแก้ว
มลพิษทางอากาศในทับแก้ว
 
มคอ3ระบบการควบคุมControlSystems.pdf
มคอ3ระบบการควบคุมControlSystems.pdfมคอ3ระบบการควบคุมControlSystems.pdf
มคอ3ระบบการควบคุมControlSystems.pdf
 
RSU Library Newsletter (Vol.16 No.6 June 2019)
RSU Library Newsletter (Vol.16 No.6 June 2019)RSU Library Newsletter (Vol.16 No.6 June 2019)
RSU Library Newsletter (Vol.16 No.6 June 2019)
 
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
 
เปรียบเทียบ
เปรียบเทียบเปรียบเทียบ
เปรียบเทียบ
 

Environmental monitor

  • 2. ประวัติ รศ.ศิวพันธุ์ ชูอินทร์  การศึกษา ◦ วท.ม. วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ม.ธรรมศาสตร์ ◦ วท.บ. วิทยาศาสตร์ เคมี ม. พระจอมเกล้าธนบุรี  การทางาน  Application Engineer บริษัทวอเตอร์เทส จากัด  อาจารย์ประจาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม  อาจารย์ประจาหลักสูตรการจัดการสิ่งแวดล้อม (ป.โท)  ผู้อานวยการศูนย์วิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • 4. คุณภาพสิ่งแวดล้อม  มลพิษทางน้า  มลพิษทางอากาศ  ขยะมูลฝอย  มลพิษทางเสียง  ของเสียอันตราย
  • 6. 6 มลพิษทางอากาศ “มลพิษทางอากาศ หมายถึง ภาวะที่อากาศมีการปนเปื้อนของ สารมลพิษทางอากาศตั้งแต่หนึ่งหรือหลายชนิด ในปริมาณที่มาก พอ และระยะเวลาสัมผัสนานเพียงพอที่จะก่อให้เกิดผลต่อสุขภาพ อนามัยของคน สัตว์ พืช และสิ่งแวดล้อมอื่นหรือลดความ สะดวกสบายในการดารงชีวิต”
  • 7. 7 ผลกระทบจาก มลพิษทางอากาศ ผลกระทบในระดับโลก (ระดับกว้าง) 1. ปรากฏการณ์เรือนกระจก 2. การลดลงของชั้นโอโซน 3. การเกิดฝนกรด 4. ไฟป่ า ผลกระทบที่ระดับผิวพื้น 1. อนุภาคฝุ่ น 2. ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ 3. ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ 4. ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ 5. ก๊าซโอโซน 6. สารตะกั่ว 7. สารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) 8. ควันดา 9. ควันขาว
  • 8. อนุภาคฝุ่ น (Particulate Matter – PM)  “อนุภาคฝุ่นเป็นทั้งอนุภาคของแข็งและของเหลว ซึ่งไม่ใช่สารที่มี โมเลกุลเดียว ขนาดของอนุภาคทาให้อัตราการคงอยู่ในอากาศ เป็นไปได้ตั้งแต่ 2-3 วินาที ไปจนถึงหลาย ๆ เดือน”  อนุภาคฝุ่นทั้งหมด (TSP)  อนุภาคฝุ่นที่มีขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM- 10)  อนุภาคฝุ่นที่มีขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน (PM- 2.5)
  • 9. อันตรายขึ้นกับขนาด ขนาดอนุภาคฝุ่ น การเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ มากกว่า 10 ไมครอน ไม่เข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ 9.0 – 10 ไมครอน ไม่เข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ 5.8 – 9.0 ไมครอน ไม่เข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ 4.7 – 5.8 ไมครอน เข้าสูงระบบทางเดินหายใจถึงคอ หอย 3.3 – 4.7 ไมครอน เข้าสูงระบบทางเดินหายใจถึง หลอดลมส่วนต้น 2.1 – 3.3 ไมครอน เข้าสูงระบบทางเดินหายใจถึง หลอดลมส่วนกลาง 1.1 – 2.1 ไมครอน เข้าสูงระบบทางเดินหายใจถึง หลอดลมส่วนปลาย 0.65 – 1.1 ไมครอน เข้าสูงระบบทางเดินหายใจถึงถุงลม 0.43 – 0.65 ไมครอน เข้าสูงระบบทางเดินหายใจถึงถุงลม
  • 10. ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO)  เป็นก๊าซพิษที่ไม่มีสี ไม่มีรส และไม่มีกลิ่น เบากว่าอากาศเล็กน้อย มี ความคงตัวสูงมาก อยู่ในบรรยากาศได้นาน 2-3 เดือน  มีผลต่อสุขภาพของคนโดยตรง ไม่มีผลต่อผิวของวัตถุและพืช  เมื่อคนหายใจเอาก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์เข้าไปสู่ปอด จะทาให้เม็ด เลือดแดงไม่สามารถรับออกซิเจนจากปอดไปเลี้ยงร่างกาย ทาให้ลด ปริมาณการนาส่งออกซิเจนสู่อวัยวะและเนื้อเยื่อต่าง ๆ ของร่างกาย ทา ให้เวียนศีรษะ ตาพร่ามัว หายใจอึดอัด คลื่นไส้อาเจียน เป็นลม หมด สติ และถ้าร่างกายรับเข้าไปในปริมาณมากอาจเสียชีวิตได้
  • 11. ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์  ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) เป็นก๊าซที่ไม่มีสี แต่มีกลิ่นกรด เมื่อถูก ปล่อยออกสู่บรรยากาศสามารถรวมตัวกับน้าหรือไอน้าในอากาศ กลายเป็นกรดซัลฟิวริก (H2SO4) ซึ่งเป็นตัวการที่ก่อให้เกิดฝนกรด  มีอันตรายต่อร่างกายมากเมื่อรวมตัวกับฝุ่น  โดยมีผลต่อการเจ็บป่วยการระคายเคืองของระบบทางเดินหายใจ  โรคปอด โรคเกี่ยวกับหลอดเลือด หัวใจ หรือโรคปอด เช่น โรค หลอดลมอักเสบ ถุงลมโป่งพอง และผู้ที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดคือ เด็ก คนชรา และผู้ป่วยโรคหืด  เป็นตัวการที่สาคัญที่ก่อให้เกิดฝนกรดในสิ่งแวดล้อม
  • 12. ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์  เป็นก๊าซสีน้าตาลแกมแดงที่มีกลิ่นฉุน คล้ายคลอรีน ละลายน้าได้ดี และอยู่ในอากาศได้เพียง 3 วันเท่านั้นก่อนที่จะสลายตัว สามารถ รวมตัวกับไอน้าในอากาศหรือน้าฝนกลายเป็นกรดไนทริก (HNO3)  ให้เกิดการระคายเคืองในปอด  ทาให้ปอดอักเสบ  เกิดเนื้องอกในปอด  หลอดลมตีบตัน  ภูมิต้านทานของร่างกายต่าลง  ทาให้เกิดโอโซนที่พื้นผิวโลก (ซึ่งเป็นก๊าซพิษ)  เป็นตัวการสาคัญที่ทาให้เกิดฝนกรด
  • 13. ก๊าซโอโซน  ก๊าซโอโซน (O3) บริสุทธิ์จะมีสีน้าเงินแก่ มีกลิ่นคล้ายคลอรีน ละลาย น้าได้มากกว่าออกซิเจน ก๊าซโอโซนที่ระดับพื้นผิวโลกถือว่าเป็นสาร มลพิษทางอากาศชนิดหนึ่ง  ก๊าซโอโซนทาให้ระคายตา ระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ ลด ความสามารถในการทางานของปอด ทาให้เหนื่อยเร็ว  โอโซนมีผลกระทบต่อวัสดุ เช่น ทาให้ยางและพลาสติกเสื่อมคุณภาพ ได้เร็ว
  • 14. สารตะกั่ว  ตะกั่ว (Lead, Pb) เป็นสารโลหะหนักชนิดหนึ่ง มีสีเทาหรือขาวแกม น้าเงิน และเป็นสารพิษ  สารตะกั่วเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งในเม็ดเลือด  มีฤทธิ์ทาลายระบบประสาทส่วนกลาง  ทาให้เกิดการเจริญเติบโตของทารกและเด็กช้าลง  สัตว์น้า เช่น ปู ปลา กุ้ง หอย สามารถรับเอาสารตะกั่วเข้าไปสะสม ในตัว เมื่อคนกินสัตว์น้าเหล่านี้เข้าไปก็ได้รับอันตรายจากพิษของ ตะกั่วเข้าไปด้วย  สัตว์น้าที่มีตะกั่วสะสมอยู่มาก คือ ปลา และหอยนางรม
  • 16. การตรวจวัดสารมลพิษทางอากาศในบรรยากาศ สารมลพิษ วิธีการตรวจวัด 1. อนุภาคฝุ่น Gravimetric Hi - volume 2. ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ NDIR 3. ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ Chemluminescence 4. ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ Pararosaniline 5. ก๊าซโอโซน Chemluminescence 6. สารตtกั่ว Gravimetric Hi – volume + AAS
  • 17. การตรวจวัดอนุภาคฝุ่ น พารามิเตอร์ ระยะเวลาใน การตรวจวัด วิธีมาตรฐานอ้างอิง วิธีอื่นที่กรมควบคุมมลพิษเห็นชอบ TSP 24 ชั่วโมง ระบบกราวิเมตริก PM – 10 24 ชั่วโมง ระบบกราวิเมตริก ระบบ เบต้า เร (Beta ray) ระบบ เทปเปอ อิลิเมน ออสซิเลติ้ง ไม โครบาลานซ์ (TEOM) ระบบไดโคโตมัส (Dichotomous) PM – 2.5 24 ชั่วโมง เป็น Federal Reference Method (FRM) ตามที่ US EPA กาหนด ระบบ เบต้า เร ระบบ เทปเปอ อิลิเมน ออสซิเลติ้ง ไมโครบาลานซ์ ระบบไดโคโตมัส
  • 20. การตรวจวัดอนุภาคฝุ่ น ที่มีขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน (PM-2.5)  สามารถวัดด้วยวิธีกราวิเมตริก (Gravimetric method) ซึ่งเป็น วิธีการมาตรฐานของ US.EPA. ที่เรียกว่า Federal Reference Method (FRM)  วิธี Tapered Element Oscillating Microbalance (TEOM)
  • 25. ของแข็ง (solids)  หมายถึง “ของแข็งประเภทต่าง ๆ ทั้งประเภทที่ละลายได้ดีในน้า แขวนลอยในน้า หรือประเภทที่ลอยน้าได้เช่น ดิน เศษกระดาษ ถุงพลาสติก เม็ดทราย เศษพืช”  SS  TS  TDS  Settleable Solids
  • 26. อุณหภูมิ (temperature)  คือ ความร้อน-เย็นของน้า  อุณหภูมิของน้าที่สูงกว่าอุณหภูมิของน้าในธรรมชาติเนื่องจาก ความร้อนจากน้าทิ้งของโรงงานอุตสาหกรรมหรือจากครัวเรือนมี ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตในน้า  ทาให้การเจริญเติบโตของสัตว์และพืชน้าลดลง
  • 27. สี (color)  น้าทิ้งที่ปล่อยจากชุมชนจะมีสีเทาปนน้าตาลอ่อนและจะเปลี่ยนเป็น สีเทาหรือสีดา  น้าทิ้งจากอุตสาหกรรม มักมีสีเทา เทาเข้ม หรือสีดา ซึ่งเกิดจาก พวกซัลไฟต์ของโลหะ  นอกจากนี้สีอาจเกิดจากสาหร่าย หรือสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กในน้าทาให้ แหล่งน้านั้นมีสีเขียว หรือเกิดจากตะกอนขนาดเล็กในน้า  อุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดสีในน้าทิ้ง เช่น โรงงานกระดาษ โรงงาน ฟอกย้อม เป็นต้น
  • 28. ความขุ่น (turbidity)  เกิดจากมีสารแขวนลอยต่าง ๆ เช่น ดิน ตะกอน แพลงค์ตอน สารอินทรีย์สารอนินทรีย์สิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ที่มีขนาดเล็ก ลอยอยู่ในน้า เป็นต้น มีผลในการบดบังไม่ให้แสงอาทิตย์ส่องลง สู่ด้านล่างของแหล่งน้า
  • 29. กลิ่น (odor)  น้าทิ้งจากชุมชนมีกลิ่นเหม็นอับ เนื่องจากก๊าซไข่เน่าหรือก๊าซ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการย่อยสลายที่ไม่ใช้ ออกซิเจน  ส่วนน้าทิ้งจากอุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมเคมี ยา อาหาร กลิ่นเกิดจาก ฟีนอล แอมโมเนีย ไซยาไนด์ เป็นต้น
  • 30. 30 สารอินทรีย์ (organic mater) สารอนินทรีย์ (inorganic mater) ลักษณะของน้าเสียด้านเคมี ไขข้น,ไขมัน และน้ามัน (fat, oil and grease: FOG) BOD (biochemical oxygen demand) CH4 COD (chemical oxygen demand) ความเป็นกรด-ด่าง (pH) nitrogen (N) ความกระด้าง (hardness) phosphorus (P) สารโลหะหนัก (heavy metal) DO (dissolved oxygen) HsS
  • 31. ค่าความเป็นกรด – ด่าง  พีเอช (pH : Positive Potential of the Hydrogen ions) เป็นการบอก ถึงความเข้มข้นของไฮโดรเจนอิออน [H+] ในสารละลาย  มีค่าตั้งแต่ 0 - 14  มีความสาคัญในการควบคุมคุณภาพน้าให้เหมาะสมกับการ เจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต  โดยทั่วไปน้ามีค่ากรด - เบส อยู่ในช่วง 5-8
  • 32. FOG)  ไขข้น น้ามัน และไขมัน (fat, oil และ grease : FOG)  น้าทิ้งจากชุมชนมีการปนเปื้อนของไขมันหรือน้ามันจาก กระบวนการชาระล้าง อู่ซ่อมรถ สถานีบริการน้ามัน เป็นต้น  เป็นสารที่มีความคงตัวสูงมาก จุลินทรีย์ย่อยสลายได้ยาก  หากมีการปนเปื้อนในแหล่งน้าทาให้ดูไม่สวยงาม  จากลักษณะสมบัติที่ลอยเหนือน้าทาให้สามารถกันไม่ให้แสงอาทิตย์ และออกซิเจนกระจายลงสู่น้า ทาให้เกิดสภาวะไร้ออกซิเจนขึ้นได้
  • 33. ปริมาณออกซิเจนละลายน้า  Dissolved Oxygen : DO) เป็นตัวบ่งชี้คุณภาพน้า  โดยทั่วไปไม่ควรมีปริมาณต่ากว่า 4 มิลลิกรัมต่อลิตร  หากมีปริมาณน้อยสิ่งมีชีวิตไม่สามารถอาศัยอยู่ในน้าได้  ในน้าเมื่อไม่มีออกซิเจนจะเกิดการย่อยสลายสารอินทรีย์ของจุลินทรีย์ ที่ไม่ใช้ออกซิเจนได้ผลผลิตเป็นก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ซึ่งมีกลิ่น เหม็น และก๊าซมีเธน
  • 34. ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S)  เป็นก๊าซที่ไม่มีสี  มีกลิ่นคล้ายไข่เน่า ทาให้มีการเรียกก๊าซชนิดนี้ว่า “ก๊าซไข่เน่า”  เป็นก๊าซที่มีความเป็นพิษ ไม่ติดไฟ  เกิดขึ้นในการย่อยสลายในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจน  หากรวมตัวกับเหล็กจะเกิดเป็นสีดาของซัลไฟต์(FeS)  บ่อเกรอะของส้วมมักให้ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) ออกมา เสมอ เนื่องจากเกิดการหมักแบบไม่ใช้ออกซิเจน
  • 35. บีโอดี (BOD)  บีโอดี (biochemical oxygen demand : BOD) หมายถึง “ปริมาณ ออกซิเจนที่แบคทีเรียใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ในเวลา 5 วัน ที่ อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส”  เป็นค่าที่บอกให้ทราบถึงปริมาณของออกซิเจนที่แบคทีเรียใช้ในการ ย่อยสลายสารอินทรีย์ที่ปนเปื้อนในน้า  ซึ่งถือว่ามีการย่อยสลายได้หมดในเวลา 5 วัน ที่ 20 องศาเซลเซียส  จากการศึกษาหากค่าบีโอดีมีค่าสูงแสดงว่าน้านั้นเน่าเสียมาก มีการ ปนเปื้อนของสารอินทรีย์ที่สามารถถูกย่อยสลายได้โดยจุลินทรีย์อยู่ ในปริมาณมาก  ค่าบีโอดีแสดงถึงความสกปรกของน้า
  • 36. ซีโอดี (COD)  ซีโอดี (chemical oxygen demand : COD) หมายถึง “ปริมาณ ออกซิเจนทั้งหมดที่ต้องการใช้เพื่อออกซิเดชันสารอินทรีย์ในน้า (ย่อยสลายและเพิ่มออกซิเจนให้กับสารอินทรีย์) ในน้าให้เป็นก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์และน้า”  ค่าซีโอดีมีความสาคัญในการวิเคราะห์คุณภาพน้าและการควบคุม ระบบบาบัดน้าเสียเช่นเดียวกับค่าบีโอดี  ค่าซีโอดีหากมีค่าสูงแสดงว่าน้านั้นเน่าเสียมากและมีสารอินทรีย์ที่ สามารถย่อยสลายได้โดยสารเคมีอยู่ในปริมาณมาก
  • 37. ไนโตรเจน (nitrogen : N)  เป็นธาตุที่มีความสาคัญในการสังเคราะห์โปรตีน  สารไนโตรเจนในน้าอยู่ในรูปสารอินทรีย์ไนโตรเจน แอมโมเนีย ไนไตรท์ไนเตรต  ถ้ามีไนโตรเจนในแหล่งน้ามาก ทาให้พืชน้ามีการเจริญเติบโต อย่างรวดเร็ว (eutrophication)
  • 38. ฟอสฟอรัส (phosphorus : P)  สารฟอสฟอรัสในน้าอยู่ในรูปของออร์โธฟอสเฟต (orthophosphate) ซึ่งมาจากการปล่อยน้าทิ้งของกระบวนการชาระล้าง การซักผ้า (ผงซักฟอกมีสารฟอสฟอรัสเป็นองค์ประกอบ) เป็นต้น  ถ้ามีฟอสฟอรัสในแหล่งน้ามาก ทาให้พืชน้ามีการเจริญเติบโตอย่าง รวดเร็วเช่นเดียวกับสารไนโตรเจน
  • 39. สารโลหะหนัก (heavy metal)  ที่สาคัญ ได้แก่ สารตะกั่ว (Pb) ทองแดง (Cu) โครเมียม (Cr) แคดเมียม (Cd) และสารหนู (As) เป็นต้น  สารโลหะหนักที่แพร่กระจายส่งสู่แหล่งน้าส่วนใหญ่มาจากน้าทิ้ง ของอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น กระบวนการชุบโลหะ โรงงานเคมี โรงงานผลิตแบตเตอรี และมาจากการใช้สารปราบศัตรูพืช เป็นต้น  สารโลหะหนักยอมให้มีได้ในน้าในปริมาณน้อยมาก เนื่องจากเป็น สารที่มีความเป็นพิษแม้จะปนเปื้อนในปริมาณที่น้อย  แต่มีบางชนิดหากปริมาณไม่มากนักจะมีผลดีต่อสิ่งมีชีวิตในน้า เช่น สารทองแดง สังกะสี เป็นต้น
  • 40. ผลกระทบของสารโลหะหนัก สารโลหะหนัก ผลกระทบ ต่อสุขภาพ ตัวอย่างสถานที่ เกิดผลกระทบ 1. ตะกั่ว โรคโลหิตจาง ลาห้วยคลีตี้จ.กาญจนบุรี 2. แคดเมียม โรคอิไต-อิไต การปนเปื้อนของ แคดเมียมในนาข้าว จ. ตาก 3. ปรอท โรคมินามาตะ อ่าวมินามาตะ ประเทศญี่ปุ่น 4. สารหนู โรคไข้ดา มะเร็งผิวหนัง อาเภอร่อนพิบูลย์ จ.นครศรีธรรมราช
  • 41. การตรวจวัดคุณภาพน้า  การกาหนดจุดเก็บตัวอย่างน้า  การเก็บตัวอย่างน้า  การวิเคราะห์คุณภาพน้า ◦ การตรวจวัดในภาคสนาม ◦ การวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ  การรายงานผล
  • 42. การวางแผนการติดตามตรวจสอบ  ติดตามตรวจสอบอะไร (what)  ติดตามตรวจสอบที่ไหน (where)  ทาการติดตามตรวจสอบเมื่อไหร่ (when)  มีวิธีการติดตามตรวจสอบอย่างไร (how)
  • 43. การตรวจวัดคุณภาพน้า  น้าทิ้งจากแหล่งกาเนิด : โรงงาน ◦ มาตรฐานของกรมโรงงานอุตสาหกรรม ◦ มาตรฐานของกรมควบคุมมลพิษ น้าทิ้งจากชุมชน : หมู่บ้าน คอนโด โรงแรม ห้างสรรพสินค้า ◦ มาตรฐานของกรมควบคุมมลพิษ  น้าผิวดิน : คลอง บึง แม่น้า ◦ มาตรฐานของกรมควบคุมมลพิษ
  • 44. วิธีการวิเคราะห์คุณภาพน้า ที่ ดัชนีคุณภาพน้า วิธีการตรวจสอบ 1 ความเป็นกรดและด่าง (pH) pH meter 2 Fat, Oil and Grease (FOG) สกัดด้วยตัวทาละลาย แล้วแยกหา น้าหนักของน้ามันและไขมัน 4 บีโอดี (BOD) Azide Modification ที่ 20 0C 5 วัน 5 ซีโอดี (COD) Potassium Dichromate Digestion 6 TKN หรือ Total Kjeldahl Nitrogen Kjeldahl
  • 46. การวัดค่าของแข็งแขวนลอย  วิธี Glass Filter Disk Dried at 103-105 องศาเซลเซียส  กรองน้าตัวอย่างผ่านกระดาษกรอง Glass Microfibre Filter, GF/C ขนาดรู 1.2 ไมครอน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 47 มล. ที่ทราบ น้าหนักแน่นอน  อบในตู้อบที่อุณหภูมิ 103-105 ๐C เป็นเวลา 2 ชั่วโมง หลังจากนั้น นาไปเข้าตู้ดูดความชื้น แล้วนามาชั่งน้าหนัก  น้าหนักส่วนที่เพิ่มขึ้นมาจะเป็นปริมาณสารแขวนลอยที่มีอยู่ในน้า โดยคิดเทียบเป็นหน่วยมิลลิกรัมต่อลิตร (mg/l)
  • 47. การวัดค่าความขุ่นของน้า  ความขุ่นของน้าวัดได้2 วิธี คือ การวัดปริมาณแสงที่ส่องทะลุความ ขุ่น (Turbidimetry) และการวัดปริมาณแสงที่สะท้อนออกมาใน ทิศทางตั้งฉากหลังจากที่แสงกระทบกับความขุ่น (Nepthelometry) ในปัจจุบันนิยมวัดการสะท้อนของแสง  หน่วยของความขุ่นคือ “เอ็นทียู (NTU : Nephelometric Turbidity Unit) (secchi disk)
  • 48. การวัดสีของน้า  ใช้การดูด้วยตา  ในวิธี ADMI ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมและกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กาหนดค่าของสีในน้าทิ้งต้องไม่เกิน 300 ADMI
  • 49. การวัดค่าพีเอช การวัดค่าพีเอชทาได้2 วิธี คือ 1. วิธีเทียบสี กระดาษลิตมัส กระดาษ พีเอช 2. วิธีไฟฟ้า pH meter
  • 50. DO  วิธีมาตรฐานคือ Azide Modification  ใช้DO meter ◦ Membrane ◦ Optic
  • 51. วิธีวัดบีโอดี  BOD = DO0 – DO5  วัด DO0, 5 เช่นเดี่ยวกับ DO  น้าผิวดินมีค่า ประมาณ 1 – 7 mg/L  น้าเสียมีค่ามาก ต้องเจือจางก่อน
  • 52. COD  Chemical Oxygen Demand : COD  วิเคราะห์โดยวิธีโพแทสเซียมไดโครเมต ◦ Open Reflux Method ◦ Close Reflux, Titrimetric Method ◦ Close Reflux, Colorimetric Method
  • 53. ไนโตรเจน (nitrogen : N) สารไนโตรเจน วิธีวิเคราะห์ ไนโตรเจนทั้งหมด ย่อย + กลั่น + ไตเตรท Ammonia กลั่น + ไตเตรท Nitrite Colorimety Nitrate Cadmium reduction
  • 54. ฟอสฟอรัส (phosphorus : P)  ฟอสเฟตที่ทาการวิเคราะห์อยู่ในรูปออร์โธฟอสเฟต  วิธีมาตรฐาน เป็นการวิเคราะห์โดยการวัดสี ซึ่งมี 3 วิธี คือ ◦ วิธีวานาโดโมลิบโดฟอสฟลอริก แอซิค (Vanadomolybdophosphoric Acid) ◦ วิธีสแตนนัส คลอไรด์ (Stannous Chloride) ◦ วิธีแอสคอบิค แอซิค (Ascobic Acid)  ทั้ง 3 วิธีใช้หลักการในการวิเคราะห์เหมือนกัน แต่ต่างกันตรงที่ชนิด ของสารเคมีที่ใช้