SlideShare a Scribd company logo
1 of 79
งาดา
งา พืชที่อุดมไปด้วยสารอาหารต่างๆมากมาย
โดยงา จะมี 2 แบบ คือ งาดา และ งาขาว นอกจากนี้ ยัง
มีน้ามันงาที่นามาใช้ปรุงอาหาร เพราะมีกลิ่นหอมและกรด
ไขมันที่มีประโยชน์ ทั้งนี้สารอาหารที่มีอยู่ในเมล็ดงาล้วน
แต่มีประโยชน์ทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็น โปรตีน ที่มีกรดอะมิโน
ที่จาเป็นต่อร่างกาย คือ กรดอะมิโนเมธิโอนีน นอกจากนี้
เรายังสกัดน้ามันจากงาออกมาได้อีกด้วย ซึ่งน้ามันที่ได้
นั้นเป็นน้ามันงาที่มีคุณสมบัติเยี่ยม คือ มีกรดไขมันชนิด
ไม่อิ่มตัวสูง ทั้งกรดไขมันโอเมก้า 3 กรดไขมันโอเมก้า 6
ที่มีคุณสมบัติช่วยลดคลอเลสเตอรอล จึงช่วยป้ องกัน
หลอดเลือดแข็งตัว ป้ องกันโรคหัวใจ ทาให้ระบบหัวใจ
แข็งแรง นอกจากนี้ ยังมีกรดไขมันไลโนเลอิค ที่ช่วยทาให้
ผมดกดา บารุงผิวพรรณให้ชุ่มชื้น
นอกจากนี้งายังมีวิตามินและแร่ธาตุที่สาคัญ โดยเฉพาะแคลเซียมที่มี
มากกว่านมวัวถึง 6 เท่า มีธาตุเหล็ก แมกนีเซียม สังกะสี ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม
และทองแดง และยังมากด้วยวิตามินบีชนิดต่างๆ ซึ่งดีต่อระบบประสาท ช่วยทาให้
นอนหลับ ร่างกายกระฉับกระเฉง พร้อมกันนั้นยังมีสารบารุงประสาทด้วย และ
วิตามินอีเป็นตัวแอนติออกซิแดนท์ที่ช่วยต้านมะเร็ง
สาหรับประโยชน์ของงาดานั้น งาดา มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Sesamum
orientale L. อยู่ในวงศ์ Pedaliaceae ชื่อสามัญคือ sesame มีถิ่นกาเนิดอยู่ใน
ประเทศเอธิโอเปีย และถูกนาเข้าไปยังอินเดียและแพร่ต่อไปในจีน แอฟริกาเหนือ
เอเซียใต้ และทวีปอเมริกา ซึ่งงาดามีประโยชน์อย่างมาก การบริโภคงาดาเป็นประจา
จะช่วยให้นอนหลับ กระปรี้กระเปร่า ป้ องกันโรคเหน็บชา บารุงกระดูก ป้ องกันอาการ
ท้องผูก ลดระดับโคเลสเตอรอลในเลือดบรรเทาอาการริดสีดวงทวาร และช่วยบารุง
รากผม
ส่วนประโยชน์อีกอย่างหนึ่ง คือ ถ้าใช้น้ามันงาดิบนวดตัวในตอนเช้า
ก่อนอาบน้า จะช่วยปรับระบบประสาทและระดับฮอร์โมน ให้เข้าสู่สภาวะ
สมดุล ช่วยคลายเครียดทาให้จิตใจสงบ และยังสามารถนาน้ามันงาดิบไปใช้
นวดตัว เพื่อขจัดอาการปวดเมื่อย คลายกล้ามเนื้อ บรรเทาอาการปวดเข่า เล็ด
ขัดยอก และทาให้กล้ามเนื้อไม่เหี่ยวย่น ดูอ่อนเยาว์อยู่เสมอ
“เซซามีล” คืออะไร สารสาคัญในงาดา
เซซามีล เป็นสารลิกแนน ( lignans ) ชนิดหนึ่งในงาดาซึ่งมีปริมาณ
มากที่สุด สารดังกล่าวคือสารชีวโมเลกุลที่ทาหน้าที่ป้ องกันตัวเองจากศัตรูพืช
รายงานวิจัยที่ผ่านมามากมายต่างค้นพบว่า สารเซซามินมีคุณสมบัติทางชีวภาพ
สูงมาก สามารถสรุปได้ดังนี้ คุณประโยชน์ของ “สารเซซามิล” และแร่ธาตุสาคัญ
อื่นๆ ในน้ามันงาดา 8 ประการคือ
1. ช่วยต้านการอักเสบ ลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคข้อกระดูกอักเสบ โรคข้อ
เสื่อม และอีกหลายโรคร้ายสาคัญ (Anti-inflammatory Effect)สารเซซามิน
ในน้ามันงาดาช่วยยับยั้งไอแอลวันเบต้า (Interleukin-1 Beta, IL-1 Beta)
ซึ่งเป็นตัวการสาคัญในการทาให้กระดูกอ่อนสลาย ลดความเสี่ยงในการ
เป็นโรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคอัลไซเมอร์ โรคเบาหวาน ฯลฯ ช่วยในการกาจัด
สารพิษของตับ ทาให้ตับทางานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพราะใน
น้ามันงาดายังมีวิตามินอี กรดไขมันโอเมก้า 3 ธาตุสังกะสี ทองแดง ฯลฯ ที่
ช่วยต้านการอักเสบได้ดี
2. ช่วยต้านอนุมูลอิสระ (Antioxidant Effect)
อันเป็นสาเหตุสาคัญของโรคร้ายและการเสื่อมของร่างกาย
ด้วยในน้ามันงาดาประกอบไปด้วยสารเซซามิน วิตามินอี ธาตุสังกะสี
วิตามินบี 1, 2, 3, 5, 6, 9 ทองแดง ไอโอดีน ใยอาหาร ฯลฯ ซึ่งสาคัญต่อ
การช่วยต้านอนุมูลอิสระ
3. ช่วยเสริมในการทางานของวิตามินอี (Enhancement of Vitamin E)
ทาให้ชะลอความชรา ไม่แก่เร็ว ไม่ป่วยเป็นโรคร้ายได้อย่างมี
ประสิทธิภาพมาก เนื่องจากมีสารเซซามิน ธาตุสังกะสี ฯลฯ ที่ช่วยเสริม
การทางานของวิตามินอีให้ดียิ่งขึ้น
4. ลดปฏิกิริยาความเครียดระดับเซลล์ในเนื้อเยื่อต่างๆ (Effect on Hypoxic and
Oxidative Stresses)
ทาให้คลายเครียด นอนหลับสบาย ส่งผลให้ระบบการ ทางาน
ในร่างกายดีขึ้นโดยรวม โดยสารเซซามิน โพแทสเซียม ฟอสฟอรัส ธาตุสังกะสี
แมกนีเซียม ธาตุเหล็ก แคลเซียม ฯลฯ ซึ่งเป็นสารที่มีอยู่ในน้ามันงาดาจะไปช่วยคลาย
ความเครียดและกระตุ้นการ ทางานในเนื้อเยื่อต่างๆ
5. ช่วยลดการดูดซึมและการสังเคราะห์คอเลสเตอรอล (Reduce of Cholesterol)
ช่วยลดความดันโลหิตสูงได้อย่างดีเยี่ยม ช่วยป้ องกันหลอด
เลือดแข็งตัว ป้ องกันโรคหัวใจ ทาให้ระบบหัวใจแข็งแรง ช่วยกระตุ้น
ประสาทเรื่องการหดตัวของกล้ามเนื้อและการทางานของกล้ามเนื้อ หัวใจ
ควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจให้เป็นไปอย่างปกติ เนื่องจาก สารสาคัญใน
น้ามันงาดา เช่น สารเซซามิน กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยว และเชิงซ้อน กรด
ไขมันโอเมก้า 3 กรดไขมันไลโนเลอิก กรดไขมันโอเ มก้า 9 ฯลฯ มีส่วนช่วยในการ
สังเคราะห์คอเลสเตอรอล
6. ช่วยในการเผาผลาญสลายไขมัน (Effect on Fatty Acid Oxidation)
ลดความอ้วนแบบธรรมชาติ ปลอดภัย เสริมสร้างกล้ามเนื้อ
ให้กระชับ โดยในน้ามันงาดามีสารเซซามิน ฟอสฟอรัส แมกนีเซียม ฯลฯ
ที่ช่วยในการเผาผลาญสลายไขมัน (Fat Burn)
7. ช่วยป้ องกันการเสื่อมของเซลล์ ในระบบประสาท (Neuroprotective Effect)
ทาให้สมองทางานดี ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอัลไซเมอร์
ความจาเสื่อม เพราะมีสารสาคัญอย่างเซซามิน ธาตุเหล็ก โพแทสเซียม
ฯลฯ ที่ช่วยป้ องกันการเสื่อมของระบบประสาท
8. ทาให้ระดับไขมันอยู่ในสัดส่วนที่พอดี (Hypolipidemic Effect)
ช่วยดูแลเกี่ยวกับเรื่องของอัตราส่วนของไขมันในร่างกาย ลดปริมาณของ
คอเลสเตอรอล มีไขมันดีมากขึ้น ป้ องกันโรคหัวใจ ลดความดันโลหิตสูงได้อย่างดีเยี่ยม
เนื่องจากสาระสาคัญในน้ามันงาดา เช่น สารเซซามิน กรดไขมัน โอเมก้า 3 กรดไขมันไล
โนเลอิก กรดไขมันโอเมก้า 9 ฟอสฟอรัส แมกนีเซียม ฯลฯ ซึ่งช่วยให้ระดับไขมัน อยู่ใน
สัดส่วนที่พอดี
ผลการวิจัยในห้องทดลอง
การวิจัยในห้องทดลองทาให้พบกลไกการทางานของสารเซซามินที่มีฤทธิ์
ต่อต้านการอักเสบได้ทุกชนิด ตั้งแต่การอักเสบของกระดูก การอักเสบของตับ ปอด
และอื่นๆ จึงได้มีการต่อยอดความรู้จากเรื่องกระดูกไปสู่การศึกษาเรื่อง มะเร็ง ตับแข็ง
ตับอักเสบ ปอดอักเสบ และ การติดเชื้อไวรัส H1N1 และนี่เองค่ะ ที่ทาให้โลกได้
ตระหนักถึงพลานุภาพของเซซามิน สารสกัดจากงาดาที่เปี่ยมด้วยพลังแห่งการ
เยียวยาความเจ็บป่วยนานาของมนุษย์
นอกเหนือจากนี้การที่เซซามินมีสารต้านอนุมูลอิสระสูงมาก ประกอบกับ
ฤทธิ์ในการต่อต้านการอักเสบ และคุณสมบัติที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายอย่าง
มากมาย จึงสามารถนาเซซามีนไปใช้บาบัดความเจ็บป่วยได้อีกหลายโรค ซึ่งต้อง
ทาการศึกษาวิจัยกันต่อไป อย่างไรก็ดี ในทางปฏิบัติได้มีการใช้เซซามินกับผู้ป่วย
หลายโรคด้วยกัน ดังที่มีผู้บริโภคสารสกัดเซซามินบอกเล่าประสบการณ์มาให้ทราบ
เช่น มีการใช้เซซามินกับผู้ป่วยวัณโรคกระดูกได้ผลดี หรือแม้แต่ใช้กับผู้ป่วยพาร์คินสัน
ก็น่าจะช่วยบรรเทาอาการได้ เพราะเซซามินในงาดามีสรรพคุณบารุงระบบประสาท
เป็นที่ประจักษ์ชัดกันมานานแล้ว
การทานงาดาเพื่อให้ได้สารเซซามิน ก็ต้องทานให้ถูกต้อง คือต้องทานงา
ที่บดแล้ว เพราะงาที่ไม่ได้บด ยากที่จะถูกย่อยสลายได้ในทางเดินอาหาร เนื่องจาก
งามีโครงสร้างที่แข็งแรงมาก ที่สาคัญก็คือต้องทาให้สุกก่อน เวลาคั่วก็ต้องระวัง
ไม่ให้งาไหม้ ไม่อย่างนั้นแล้ว แทนที่จะได้ประโยชน์ก็จะได้โทษไปแทน และถ้า
จะต้องเก็บงาไว้ทานนานๆ ก็ต้องเก็บไว้ไม่ให้เหม็นหืนด้วย
ประโยชน์ของงาดา
1. มีความสาคัญอย่างมากต่อความสมบูรณ์ของร่างกาย
2. ช่วยชะลอความแก่ คงความอ่อนเยาว์
3. ช่วยบารุงผิวพรรณให้เปล่งปลั่งสดใส ชุ่มชื้น ช่วยชะลอการเกิดริ้วรอยแห่ง
วัย
4. ช่วยซ่อมแซมและเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้กับผิวหนังของคุณ
5. ช่วยบารุงรากผมให้แข็งแรง และช่วยให้ผมดกเงางาม
6. ช่วยป้ องกันผมหงอก
7. ช่วยเพิ่มพลังงานและความแข็งแรงของร่างกาย
8. ช่วยในการเผาผลาญและสลายไขมัน ลดความอ้วน
9. ช่วยลดการดูดซึมและการสังเคราะห์คอเลสเตอรอล
10. ช่วยป้ องกันหลอดเลือดแข็งตัว
11. ช่วยป้ องกันการเกิดโรคหัวใจ ทาให้ระบบหัวใจแข็งแรงยิ่งขึ้น
12. มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระที่มีส่วนช่วยป้ องกันการเกิดโรคมะเร็ง
13. ช่วยลดความเครียด
14. ช่วยบารุงระบบประสาทและสมอง ป้ องกันการเสื่อมของเซลล์ในระบบ
ประสาท
15. งาดามีธาตุเหล็กซึ่งช่วยบารุงโลหิต
16. ช่วยลดความดันโลหิต ขยายหลอดเลือด ป้ องกันเกล็ดเลือดที่จะเกาะตัวกัน
เป็นลิ่ม
17. ช่วยกระตุ้นให้ร่างกายสร้างเม็ดเลือดขาว ซึ่งมีส่วนช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน
ให้กับร่างกาย
18. การรับประทานงาดาพร้อมกันถั่วจะทาให้ร่างกายได้รับโปรตีนอย่าง
ครบถ้วน ซึ่งบางตัวเป็นกรดอะมิโนจาเป็นที่ร่างกายไม่สามารถสร้างขึ้นเอง
ได้
19. ช่วยให้นอนหลับสบาย ร่างกายกระปรี้กระเปร่า
20. ช่วยป้ องกันการเกิดโรคหวัด
21. ช่วยป้ องกันการเกิดโรคเหน็บชา และตะคริว
22. ช่วยบารุงกระดูกและป้ องกันการเกิดโรคกระดูกพรุน
23. ช่วยป้ องกันโรคท้องผูก
24. ช่วยบรรเทาอาการของโรคริดสีดวงทวาร
25. ช่วยต้านการอักเสบจากโรคข้อเสื่อม ยับยั้งการเสื่อมสลาย
26. น้ามันงาสามารถนามาใช้เป็นยานวดร่วมกับสมุนไพรอื่นๆ เพื่อช่วยรักษา
เส้นเอ็นอักเสบ
27. น้ามันงาช่วยบรรเทาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ อาการปวดเข่า เคล็ดขัด
ยอก
28. ผู้รับประทานมังสวิรัตินิยมใส่งาลงในอาหารถั่วเหลืองที่ปรุง เพื่อให้อาหารมี
โปรตีนสมบูรณ์มากขึ้น
29. ประโยชน์งาดาในการนามาแปรรูปเป็นงาดาแคปซูล
(ผู้รับประทานบางรายอาจมีอาการแพ้ได้ เช่น ลมพิษ ริมฝีเปลือกตาปากบวม
แดง คันจมูก หายใจลาบาก ความดันโลหิตลดลงจนช็อกหมดสติ โดยอาการ
เหล่านี้อาจ เกิดขั้นทันทีหลังจากรับประทาน 90 นาที)
คุณค่าทางโภชนาการของงาดาต่อ100กรัม
• คาร์โบไฮเดรต 23.45 กรัม
• พลังงาน 573 กิโลแคลอรี่ 2397 กิโลจูล
• เส้นใยอาหาร 11.8 กรัม
• โปรตีน 17.73 กรัม
• น้า 4.69 กรัม
• น้าตาล 0.30 กรัม
• ไขมันรวม 49.67 กรัม
• กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยว 18.759 กรัม
• กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน 21.773 กรัม
• กรดไขมันอิ่มตัว 6.957 กรัม
• กรดกลูตามิก 3.955 กรัม
• กรดแอสพาร์ติก 1.646 กรัม
• เมทไธโอนีน 0.586 กรัม
• ทรีโอนีน 0.736 กรัม
• ซีสทีอีน 0.358 กรัม
• ซีรีน 0.967 กรัม
• ฟีนิลอลานีน 0.940 กรัม
• อะลานีน 0.927 กรัม
• อาร์จินีน 2.630 กรัม
• โปรลีน 0.810 กรัม
• ไกลซีน 1.215 กรัม
• ฮิสทิดีน 0.522 กรัม
• ทริปโตเฟน 0.388 กรัม
• ไทโรซีน 0.743 กรัม
• วาลีน 0.990 กรัม
• ไอโซลิวซีน 0.763 กรัม
• ลิวซีน 1.358 กรัม
• ไลซีน 0.569 กรัม
• ไฟโตสเตอรอล 714 มิลลิกรัม
• เบต้าแคโรทีน 5 ไมโครกรัม
• วิตามินเอ 9 หน่วยสากล
• วิตามินอี 0.25 มิลลิกรัม
• วิตามินบี1 0.791 มิลลิกรัม
• วิตามินบี2 0.247 มิลลิกรัม
• วิตามินบี3 4.515 มิลลิกรัม
• วิตามินบี 5 0.050 มิลลิกรัม
• วิตามินบี6 0.790 มิลลิกรัม
• วิตามินบี9 97 ไมโครกรัม
• ธาตุแคลเซียม 975 มิลลิกรัม
• ธาตุเหล็ก 14.55 มิลลิกรัม
• ธาตุซีลีเนียม 5.7 ไมโครกรัม
• ธาตุโซเดียม 11 มิลลิกรัม
• ธาตุฟอสฟอรัส 629 มิลลิกรัม
• ธาตุสังกะสี 7.75 มิลลิกรัม
• ธาตุโพแทสเซียม 468 มิลลิกรัม
• ธาตุแมกนีเซียม 351 มิลลิกรัม
• ธาตุแมงกานีส 2.460 มิลลิกรัม
• ธาตุทองแดง 4.082 มิลลิกรัม
การรับประทานงาดาเพื่อให้มีประโยชน์ต่อร่างกายมากที่สุด ก็คือการ
รับประทานงาดาเป็นอาหาร แทนที่จะรับประทานงาดาที่เป็นสารสกัด โดยวิธีที่ดี
ที่สุดก็คือการรับประทานด้วยวิธีการเคี้ยวจะได้ประโยชน์มากที่สุด แต่หากเรา
นามาโรยใส่ข้าวหรือใสเครื่องดื่มในบางครั้งเราอาจจะไม่ได้เคี้ยวด้วยซ้า จึงทาให้
ร่างกายดูดซึมได้ไม่ดีเท่าที่ควรหรือดูดซึมไม่ได้เลย ซึ่งวิธีการรับประทานก็ง่ายๆ
ด้วยการนางาดามาใส่กับขนมปังโฮลวีตรับประทานทุกเช้าวันละ 10 ช้อนสาหรับ
ผู้สูงอายุ แต่สาหรับคนวัยทางานก็วันละ 3-4 ช้อนก็เพียงพอแล้ว หรือจะอยู่ใน
รูปของน้าเต้าหู้งาดาก็ได้เช่นกัน แต่การรับประทานที่ดีนั้นควรรับประทานอย่าง
เหมาะสมพร้อมรับประทานให้ครบ 5 หมู่เพื่อให้ร่างกายได้รับประโยชน์อย่าง
สูงสุดและหลากหลาย นอกจากการรับประทานแล้วสามารถนาเอาน้ามันงามา
ใช้นวดทาบริเวณที่มีอาการปวดและ รักษาเส้นเอ็นที่บาดเจ็บ เพราะน้ามันงามี
สรรพคุณที่ช่วยนาพาสมุนไพรชนิดอื่นๆที่ถูกนามาผสมดูดซึมเข้าไปได้ดีขึ้น
คุณประโยชน์หลากประการของน้ามันงาดาสกัดเย็น
(Benefits of Cold Pressed Black Sesame Oil)
• ลดอาการของโรคไขข้อเสื่อมและอักเสบ (Anti Arthritis)
• วิตามินอีสูง ช่วยในการต่อต้านอนุมูลอิสระ (High in Vitamin E)
• เสริมสร้างกระดูก (Rebuild and Maintain Bone Health)
• มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูง (High in Good Fat to improve to HDL Level)
• บารุงและขับพิษตับและไต (Nourish and Detoxify Liver and Kidneys)
• ช่วยลดความดัน(Anti Hypertensions)
• ลดอาการภูมิแพ้ (Anti Allergy)
• ป้ องกันเซลล์ลและดีเอ็นเอจาการทาลายและเสื่อมโทรม (Protect Cells
and DNA from Damaging)
• ต่อต้านและยับยั้งเชั้อมะเร็ง (Anti Cancer)
• ล้างหลอดเลือด ลดความดันโลหิต บารุงหัวใจ (Clean Cardiovascular
System to Imporve Blood Pressure and Nourish the Heart)
• ช่วยป้ องกันและรักษาเบาหวาน (Prevent and Treat Diabetes Mellitus)
• บารุงสมอง(Nourish and Booth Brain Functions)
• เพิ่มภูมิคุ้มกันโรคไข้หวัด (Booth Immunity to Influenza)
• ลดอาการปวดท้องประจาเดือน( Pre Menopausal Pain Disorder)
• ลดน้าหนักด้วยการกินไขมัน(Weight Control)
• เพิ่มสมรรถภาพทางเพศและบดปัญหาการมีบุตรยาก (Treat Impotent
and Infertility)
• การเพิ่มความสูงในวัยเด็ก (Increase Height in Teenagers)
• เสริมแรง แก้อ่อนล้า (Treat Chronic Fatique Syndrome)
• ลดอาการหมักหมมในช่องท้องและสาไส้ (Reduce Osbtruction of Toxin in
Digestive Organs)
• ลดอาการตะคริวกล้ามเนื้อ (Anti Muscle Spasm)
• บารุงผิวพรรณและเส้นผม(Nourish Skin and Hair)
กินน้ามันงาดา ได้วิตามินอีสูง
ช่วยชะลอความแก่ ต่อต้านความเสื่อม
วิตามินอี เป็นสารที่เราควรได้รับเข้า
สู่ร่างกายทุกวัน เพราะวิตามินอีมีบทบาทในการ
ต้านอนุมูลอิสระ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้ที่รักการ
บารุงผิวพรรณ, เส้นผม อยู่เป็นประจา
นอกจากนี้วิตามินอียังช่วยให้หลอดเลือดของ
เรามีการยืดหยุ่นที่ดี และก็ยังดีต่อหัวใจเราอีก
ด้วย
การรับประทานวิตามินอีในรูปแบบอาหารเสริมนั้น ก็จะช่วยให้
ร่างกายของเราสามารถต่อต้านความเสื่อมและชะลอความแก่ได้ ในน้ามันงาดา
นั้น มีวิตามินอีธรรมชาติในกลุ่ม โทโคฟีรอล (Tocopherol) และกลุ่มโทโคไตร
อินอล (Tocotrienol) อยู่สูง สาหรับคนปกติทั่วไป แพทย์ผู้เชี่ยวชาญจะแนะนาให้
รับประทานวัน 400-600 IU แต่หากในกรณีที่ต้องใช้สาหรับรักษาผู้ป่วย แพทย์
อาจจะให้รับประทานในปริมาณที่สูงขึ้นหลายเท่า ซึ่งแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทราบดีว่า
การรับประทานวิตามินอีธรรมชาติ แบบที่มีอยู่ในน้ามันงาดานั้นไม่เป็นอันตราย
หรือมีผลข้างเคียงใดๆ
ข้อดีของการรับประทานวิตามินอีที่มาในรูปแบบของน้ามันงาดาสกัด
เย็นซึ่งเป็นในรูปแบบธรรมชาตินั้นก็คือ จะทาให้เกิดการดูดซึมได้สูง และยังไป
ช่วยในการส่งเสริมให้วิตามินอีในรูปอื่นๆ ที่มีอยู่ในร่างกายทางานได้ดียิ่งขึ้นด้วย
นอกจากสรรพคุณที่เป็นเลิศในด้านต้านอนุมูลอิสระที่เหมือนยา
อายุวัฒนะในการต่อต้านความเสื่อมหรือชะลอวัยแล้วนั้น วิตามินอียังมี
ประโยชน์ในการปกป้ องและขับสารพิษ, ป้ องกันและรักษาโรคเกี่ยวกับดวงตา,
ช่วยบารุงสมอง, ลดไขมันคอเลสตอรอล, ช่วยย่อยและควบคุมน้าตาล, ช่วย
บารุงผิวพรรณและเส้นผม, ช่วยเร่งการซ่อมแซมผิวและปกป้ องแสงแดดที่จะมา
ทาลายผิว, และยังลดโอกาสเกิดการข้นของเลือด ซึ่งทาให้ลดโอกาสในการเกิด
โรคหัวใจนั่นเอง
กินน้ามันงาดาสกัดเย็น
ช่วยลดอาการโรคไขข้อเสื่อมและอักเสบได้อย่างไร
สภาวะการเสื่อมของไขข้อและการ
อักเสบในร่างกายเรานั้นเกิดขึ้นได้จากหลาย
สาเหตุ ในทางการแพทย์ เมื่อพูดถึงไขข้อเสื่อม
นั้น จะหมายถึง กระดูกอ่อนและน้าหล่อเลี้ยง
ระหว่างข้อต่างๆ ในร่างกายเรา ซึ่งแพทย์
ผู้เชี่ยวชาญได้กล่าวถึง 4 กรณีหลักที่ก่อให้เกิด
การเสื่อมของไขข้อและการอักเสบในร่างกายไว้
ดังนี้
กรณีแรกก็คือการที่มวลของกระดูกอ่อนลดลง ซึ่งจะส่งผลให้กระดูกแข็ง
2 ข้อของเรากระทบกัน หรือทาให้มากดทับกัน ทาให้เราเกิดความเจ็บปวดขึ้น
กรณีที่ 2 ก็คือเกิดจากการที่น้าหล่อเลี้ยงในข้อลดลง ซึ่งสภาวะนี้จะ
เกิดขึ้นหลังจากที่มวลกระดูกอ่อนลดลงก่อน น้าหล่อเลี้ยงที่มีลักษณะใสและหนืดนี้
จะมีหน้าที่ป้ องกันการเสียดสีระหว่างกระดูกแข็งและกระดูกอ่อน เพื่อป้ องกันไม่ให้
กระดูกอ่อนถูกทาลาย และก็ยังมีหน้าที่ลดแรงกระแทก เมื่อมีการลงน้าหนักบนข้อ
ต่างๆในร่างกายเรา
กรณีที่ 3 ที่เป็นสาเหตุให้เกิดการอักเสบและไขข้อเสื่อม ก็คือการที่น้า
หล่อเลี้ยงรั่ว ซึ่งกรณีนี้มักเกิดจากการที่เราประสบอุบัติเหตุ ที่ทาให้กระดูกอ่อนเกิด
รอยแตก หรือถุงหุ้มน้าหล่อเลี้ยงแตก หากกรณีนี้เกิดขึ้นกับเรา แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
แนะนาว่า ควรจะปรึกษาแพทย์เพื่อทาการรักษาให้ถูกต้อง มิเช่นนั้นจะกลายเป็น
ความเจ็บป่วยที่เรื้อรัง
สาหรับกรณีสุดท้ายที่ทาให้
เกิดสภาวะการเสื่อมของไขข้อ และการ
อักเสบได้ก็คือเกิดการกัดกินของกรด ซึ่ง
มักจะเกิดจากการที่ร่างกายเรานั้นขาด
ความสมดุลของสารอาหารหรือสารเคมี
ที่มีสาเหตุหลักๆอยู่ 3 ประการก็คือ เรื่อง
ของการบริโภค, เรื่องพฤติกรรมในการใช้
ชีวิตประจาวัน เช่นสูบบุหรี่และดื่มเหล้า
และเรื่องของระบบการทางานของ
อวัยวะภายในผิดปกติ สาเหตุเหล่านี้
ก่อให้เกิดสภาวะโรคไขข้อเสื่อม และการ
อักเสบขึ้น ซึ่งโรคที่เราพบเห็นได้บ่อยๆก็
คือ โรคไขข้ออักเสบหรือที่รู้จักกันในชื่อ
สั้นๆว่า โรคเกาต์ (Arthritis) นั่นเอง
แน่นอนว่า การเสื่อมของไขข้อก็ย่อมทาให้เกิดการอักเสบขึ้น ซึ่งย่อม
ทาให้เกิดความเจ็บปวดตามมา แต่ในบางกรณีการอักเสบก็เป็นปัจจัยที่ทาให้เกิด
ความเสื่อมของไขข้อได้เช่นกัน แต่ทว่า การอักเสบที่เกิดขึ้นนั้น เป็นการอักเสบที่ยัง
ไม่แสดงอาการให้เห็น ดังนั้น จึงเป็นสิ่งที่พบได้ว่า อาการอักเสบนี้ถูกละเลย จน
เกิดกลายเป็นต้นเหตุแห่งความเสื่อมของไขข้อขึ้น
ปัจจุบันนี้มีผลงานวิจัยทั่วโลกมากมายที่ทาการค้นคว้าเรื่องเกี่ยวกับ
น้ามันงาดา ซึ่งได้มีการกล่าวถึง และยกย่องน้ามันงาดาว่า เป็นหนึ่งในสารอาหาร
เสริมที่มีสรรพคุณดีในด้านเกี่ยวกับโรคกระดูก ซึ่งก็คือมีสารต้านโรคกระดูกอักเสบ
(Anti-osteoarthritis) และสารต้านโรคกระดูกเสื่อม (Anti-osteoporosis)
แพทย์แผนจีนและนักธรรมชาติบาบัดนิยมใช้งาดาในการช่วยลด
อาการอักเสบที่เกิดขึ้น เพราะงาดานั้น มีสรรพคุณในการช่วยเข้าไปเพิ่มมวล
กระดูกอ่อนและน้าหล่อเลี้ยงระหว่างข้อต่อในร่างกาย นอกจากนี้น้ามันงาดาซึ่ง
ทราบกันอยู่แล้วว่าเป็นไขมันชนิดดี ที่ร่างกายสามารถนาไปสร้างคอเลสตอรอล
แบบดีได้ ซึ่งคอเลสตอรอลแบบดีนี้ก็จะถูกปรับแปลงสภาพไป เพื่อใช้สาหรับการ
สร้างกระดูกอ่อน และสร้างน้าหล่อเลี้ยงให้เกิดขึ้นใหม่ต่อร่างกายเรา
การบริโภคน้ามันงาดาและสารที่จาเป็นอื่นๆนั้นดีและมีประโยชน์ต่อ
ร่างกายเรา สิ่งดีๆ เหล่านี้ที่ได้เรา
บริโภคไป จะช่วยเสริมให้ร่างกายไม่ต้องตกอยู่ในสภาวะของโรคไขข้อ
เสื่อมและอักเสบได้ ในทางกลับกัน สาหรับผู้ที่อยู่ในสภาวะโรคไขข้อเสื่อมและ
อักเสบแล้วนั้น การบริโภคน้ามันงาดาในปริมาณที่เหมาะสม พร้อมกับการที่ได้รับ
สารอาหารที่จาเป็นต่อร่างกาย อย่างเพียงพอในชีวิตประจาวัน สิ่งเหล่านี้จะช่วย
ลดอาการโรคไขข้อเสื่อมและอักเสบได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งทาให้ลดความ
เจ็บปวดได้ดีขึ้นด้วย
สารพิษจากเชื้อราในงาดา
งา เป็นพืชล้มลุก มีการปลูกมากในประเทศจีน อินเดีย ไปจนถึง
เม็กซิโก และสหรัฐอเมริกา
ในเมล็ดงาที่เราเห็นเม็ดเล็กๆนั้น มีประโยชน์มากมายมหาศาล มีทั้ง
กรดไขมันที่จาเป็นต่อร่างกาย คือ กรดไขมันโอเมก้า 6, โอเมก้า 3 และยังอุดมไป
ด้วยวิตามินอี, วิตามินบี 1, บี 2, บี 5, บี 6, บี 9 รวมทั้งแคลเซียม ฟอสฟอรัส
แมงกานีส
การได้รับประโยชน์จากเมล็ดงาที่ดีที่สุด คือ การทานอาหารที่มีงาเป็น
ส่วนประกอบ หรืออาจดื่มเป็นน้าเต้าหู้งาดาก็ได้ประโยชน์ไม่แพ้กัน
เห็นประโยชน์ของงาดาอย่างนี้แล้ว ท่านที่ชื่นชอบอาจต้องระวัง
อันตรายที่อาจแฝงอยู่ในเมล็ดงาไว้บ้าง โดยเฉพาะอะฟลาท็อกซิน ซึ่งเป็นสารพิษ
ที่ผลิตโดยเชื้อรา
ตามธรรมชาติมีอะฟลาท็อกซินทั้งหมด 4 ชนิด ได้แก่ อะฟลาท็อกซิน
ชนิด บี 1, บี 2, จี 1 และ จี 2
องค์การอนามัยโลก จัดให้อะฟลาท็อกซินชนิด บี 1 เป็นสารก่อมะเร็ง
ร้ายแรงมากที่สุดชนิดหนึ่ง อีกทั้งอะฟลาท็อกซินทนทานต่อความร้อน ฉะนั้น
ความร้อนที่ใช้ปรุงอาหารประจาวัน เช่น หุง ต้ม นึ่ง ทอด ย่าง จึงไม่สามารถ
ทาลายพิษของอะฟลาท็อกซินให้หมดไปได้
สถาบันอาหารเอาใจคนรักสุขภาพโดยสุ่มตัวอย่างงาดาที่บรรจุถุงขาย
ตามท้องตลาดในเขตกรุงเทพฯ จานวน 4 ตัวอย่าง เพื่อวิเคราะห์การปนเปื้อน
ของอะฟลาท็อกซิน บี 1, บี 2, จี 1, จี 2 และปริมาณอะฟลาท็อกซินรวม
ผลปรากฏว่าไม่พบการปนเปื้อนในทุกตัวอย่าง
โชคดีของคนไทยที่เกษตรกรและผู้ประกอบการให้ความใส่ใจใน
การเพาะปลูก เก็บเกี่ยว และคัดสรรวัตถุดิบที่มีคุณภาพและปลอดภัย มาสู่
ผู้บริโภคอย่างเราๆ
แต่ก็อย่าประมาท ก่อนซื้องาดาบรรจุถุง ต้องสังเกตภายในถุงว่าไม่
มีสิ่งแปลกปลอมปะปน ถุงที่บรรจุต้องปิดสนิท ไม่มีรูรั่วให้ความชื้นและอากาศ
เข้าไปในถุงได้ เพราะหากมีความชื้น สิ่งที่จะตามมาคือ เชื้อราสารพัดชนิด
พร้อมกับสารพิษอันตราย.
การปลูกงาดา
งาเป็นพืชไร่น้ามันเสริมรายได้ให้เกษตรกรเนื่องจากลงทุนต่า ใช้เวลา
ปลูกสั้น และทนแล้งได้ดี มีตลาดกว้างขวาง และราคาดี เกษตรกรนิยมปลูกงา
ก่อนหรือหลังพืชหลัก งาจึงเป็นพืชที่นิยมในระบบการปลูกพืช งาถูกใช้เป็นอาหาร
เพื่อสุขภาพเนื่องจากเมล็ดงามีคุณค่าทางโภชนาการสูง มีกรดไขมันไม่อิ่มตัว 85
เปอร์เซ็นต์ มีโปรตีน 17-18 เปอร์เซ็นต์ มีสารต้านทานอนุมูลอิสระในปริมาณที่สูง
ไม่หืนง่าย งาเป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมต่างๆ ทั้งอาหาร ยารักษาโรค และ
เครื่องสาอาง
ปัญหาของพืช ข้อจากัด และ โอกาส :
• พื้นที่ปลูกงาแปรปรวนเนื่องจากถูกจากัดด้วยการตกของฝนว่าจะมาช้า หรือ
เร็ว ทาให้ไม่สามารถคาดการณ์ปริมาณผลผลิตได้
• ในบางพื้นที่เกษตรกรปฏิบัติไม่ถูกต้องในขั้นตอนของการเก็บเกี่ยวด้วยการบ่ม
งาที่ความชื้นสูง ทาให้เมล็ดงาที่ได้มีคุณภาพต่า
• มีการระบาดของโรคพืชจากเชื้อราและแบคทีเรีย ทาให้ไม่สามารถปลูกงา
ติดต่อกันในพื้นที่เดิมได้ ไม่มีเครื่องจักรกลในการเก็บเกี่ยว ต้องใช้แรงงานมาก
• งาเป็นพืชเสริมรายได้ของเกษตรกร
การปลูกงา :
งาเป็นพืชน้ามันที่สาคัญทางเศรษฐกิจพืชหนึ่งของประเทศ และมี
แนวโน้มที่จะทวีความสาคัญขึ้นทุกปี เนื่องจากเป็นพืชที่มีศักยภาพในการผลิตและ
การตลาดสูง สามารถปลูกขึ้นง่าย ลงทุนน้อย ทนต่อสภาพความแห้งแล้งได้ดี
เกษตรกรนิยมปลูกงาก่อนและหลังการทานา หรือหลังจากการเก็บเกี่ยวพืชหลัก
การปลูกงามีทั้งในสภาพไร่และสภาพนา ขึ้นอยู่กับสภาพพื้นที่ของแต่ละท้องถิ่น
เมล็ดงาและน้ามันงามีคุณค่าทางด้านโภชนาการสูง เมล็ดงาประกอบด้วยน้ามัน
โปรตีน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน และแร่ธาตุต่าง ๆ ที่จาเป็นหลายชนิดในเมล็ดงาจะมี
น้ามันงาประมาณร้อยละ 47-60 มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูง จึงเหมาะที่จะนามาใช้
บริโภคเพราะช่วยกันรักษาระดับโคเลสเตอรอล ในร่างกาย ป้ องกันไม่ให้เกิดหลอด
เลือดแข็งตัวหรือเส้นเลือดอุดตัน ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของโรคหัวใจขาดเลือด
การผลิตงาของประเทศไทยพบว่ามีพื้นที่ปลูกงาประมาณ 381,000 ไร่
ผลผลิตรวม 35,000 ตัน โดยผลผลิตส่วนใหญ่ร้อยละ 55 ส่งออกไปต่างประเทศ
มูลค่าประมาณ 400 ล้านบาทส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 45 ใช้ภายในประเทศ การผลิต
งาของประเทศไทย ยังไม่เพียงพอกับความต้องการของตลาดทั้งภายในและ
ต่างประเทศ ซึ่งมีความต้องการเพิ่มมากขึ้นทุกปี
1. สภาพภูมิศาสตร์
งาเป็นพืชเขตร้อนชอบอากาศร้อนและแดดจัด อุณหภูมิที่
เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต ประมาณ 27-30 องศาเซลเซียส ไม่ชอบ
อากาศหนาวเย็น ถ้าอุณหภูมิต่ากว่า 20 องศาเซลเซียส การงอกจะช้าลง
หรือ อาจจะชะงักการเจริญเติบโต แต่ถ้าอุณหภูมิสูงกว่า 40 องศา
เซลเซียสจะทาให้การผสมเกสรติดยากการสร้างฝักเป็นไปได้ช้า
2. ดิน
งาสามารถขึ้นได้ดีในดินแทบทุกชนิด แต่จะขึ้นได้ดีที่สุดในดิน
ร่วนทรายที่มีความอุดมสมบูรณ์พอสมควร มีการระบายน้าดีและมีความ
เป็นกรดเป็นด่าง ระหว่าง 6.0-6.5 ไม่ทนต่อสภาพน้าขัง ถ้าปลูกในดิน
เค็มรากของงาจะชะงักการเจริญเติบโต ทาให้ผลผลิตของงาลดลง
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการปลูกงา
3. น้า
งาเป็นพืชที่ค่อนข้างทนแล้งได้ดี ปลูกได้ในเขตที่มีปริมาณน้าฝนตั้งแต่
300 ถึง 1,000 มิลลิเมตร หรือปริมาณน้าฝนปานกลางถึงฝนตกชุก แต่ไม่เปียก
แฉะหรือน้าท่วมขังในฤดูปลูก งาสามารถเจริญเติบโตอยู่ได้ถ้าฝนแล้งในช่วงสั้น ๆ
อัตราการใช้น้าของงาหลังจากการงอกจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนถึงช่วงระยะออกดอก
เป็นช่วงที่งาใช้น้ามากที่สุด ดังนั้น การขาดน้าในระยะนี้จะมีผลกระทบต่อผลผลิต
ของงาเป็นอย่างมาก หลังจากระยะออกดอกจนถึงเก็บเกี่ยวแล้ว อัตราการให้น้า
จะลดลง
โดยปกติในฤดูฝนจะมีความชื้นเพียงพอสาหรับการเจริญเติบโตของงา
ตลอดฤดูกาลปลูก แต่ถ้าปลูกในฤดูแล้งถึงแม้ว่าจะชอบอากาศร้อนและทนต่อ
สภาพแห้งแล้งได้ดีพอสมควร หากจะให้ได้ผลผลิตสูงจะต้องอาศัยน้าชลประทาน
เข้าช่วย เพราะการให้น้าที่พอเหมาะไม่มากหรือน้อยจนเกินไปจะมีผลต่อการ
เจริญเติบโตของงา
พันธุ์งาและแหล่งปลูก
งาที่ปลูกในประเทศไทยแบ่งตามสีของเมล็ดได้ 3 ชนิด ดังนี้
1. งาดา :ที่ใช้ปลูกกันทั่วไปมี 4 พันธุ์ ได้แก่
1.1 งาดาบุรีรัมย์
เป็นพันธุ์พื้นเมืองมีลักษณะฝัก 4 กลีบ 8 พู เมล็ดมีขนาด
ใหญ่ สีค่อนข้างดาสนิท อายุเก็บเกี่ยว 90-100 วัน ผลผลิต 60-130
กิโลกรัมต่อไร่
1.2 งาดานครสวรรค์
เป็นพันธุ์พื้นเมืองที่ปัจจุบันเป็นพันธุ์ส่งเสริม มีการแนะนาให้ปลูก
ในพื้นที่หลายจังหวัดมี ลักษณะการเจริญเติบโตแบบทอดยอด เมล็ดมีสีดา
ขนาดใหญ่และเต่ง ลักษณะฝักเป็นแบบ 4 กลีบ 8 พู ฝักแตกง่ายเมื่อสุกแก่
ลาต้นค่อนข้างสูง แตกกิ่งก้านมาก ใบมีขนาดใหญ่ค่อนข้างกลม มี 1 ฝักต่อ 1
มุมใบ การเกิดฝักจะเวียนสลับ รอบลาต้น 1 ข้อ มี 1 ฝัก อายุเก็บเกี่ยว 95-
100 วัน ผลผลิต 60-130 กิโลกรัมต่อไร่ นิยมปลูกมากในท้องที่จังหวัดบุรีรัมย์
ศรีสะเกษ สุรินทร์ นครราชสีมา มหาสารคาม ชัยภูมิ สระบุรี ลพบุรี เพชรบูรณ์
พิษณุโลก อุตรดิตถ์ นครสวรรค์ สุพรรณบุรี กาญจนบุรี ปราจีนบุรี และสุ
ราษฎร์ธานี
1.3 งาดา มก.18
เป็นพันธุ์แท้ที่มีการปรับปรุงพันธุ์โดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งได้
คัดเลือกพันธุ์โดยวิธีจดประวัติจากคู่ผสมระหว่าง col.34 กับงาดานครสวรรค์ในระหว่างปี
2528-2530 มีการทดสอบผลผลิตในสถานีทดลองและในสภาพไร่เกษตรกรในปี 2534
งาดาพันธุ์ มก.18 มี ลักษณะการเจริญเติบโตแบบทอดยอด ใบสีเขียวเข้ม ลา
ต้นไม่แตกกิ่งก้านและค่อนข้างสูง เมล็ดมีสีดาสนิท ลักษณะฝัก 2 พู ฝักเกิดตรงกันข้าม
ดังนั้น 1 ข้อจะมี 2 ฝัก การเรียงตัวของฝักจะเป็นแบบเวียนสลับรอบลาต้น ความยาว
ปล้องสั้นทาให้จานวนของฝักต่อต้นสูง น้าหนักเมล็ด 3 กรัม ต่อ 1,000 เมล็ด อายุเก็บ
เกี่ยวปลายฤดูฝน 85 วัน ต้นฤดูฝน 90 วัน ผลผลิต 60-148 กิโลกรัมต่อไร่ ทนทานต่อโรค
ราแป้ ง และทนต่อการหักล้ม
ในปีการเพาะปลูก 2538/39 กรมส่งเสริมการเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บริษัทคาเนมัสซุ บริษัทนานาพรรณเอ็นเตอร์ไพรร์จากัด และ
สมาคมพ่อค้าข้าวโพด และพืชพันธุ์ไทย ส่งเสริมการปลูกงาดา มก.18 ในพื้นที่จังหวัด
นครราชสีมาและกาญจนบุรี เพื่อส่งออกไปยังประเทศญี่ปุ่น ซึ่งมีความต้องการงาพันธุ์
มก.18 สูงถึงปีละ 10,000 - 30,000 ตัน
1.4 งาดา มข.2
เป็นพันธุ์ที่มหาวิทยาลัยขอนแก่นปรับปรุงและคัดเลือกพันธุ์มาจากงา
ดาพันธุ์ ซีบี 80 ของจีน ลักษณะฝักเป็นแบบ 4 พู เมล็ดสีดาสนิท ไม่ไวต่อช่วงแสง
แตกกิ่ง 3-4 กิ่งต่อต้น ต้นสูง 105-115 เซนติเมตร น้าหนักเมล็ด 2.77 กรัมต่อ
1,000 เมล็ด ปลูกได้ดีทั้งต้นฝนและปลายฤดูฝน มีอายุเก็บเกี่ยวสั้น 70-75 วัน
ผลผลิต 80-150 กิโลกรัมต่อไร่ ต้านทานต่อโรคเน่าดาและทนแล้งได้ดี เขตส่งเสริม
การปลูก ได้แก่ จังหวัดบุรีรัมย์ และมหาสารคาม
ฤดูปลูกงา
1. ต้นฤดูฝน
เริ่มปลูกตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์-เมษายน และเก็บเกี่ยวได้ตั้งแต่ปลาย
เดือนเมษายน-มิถุนายน ส่วนใหญ่จะปลูกในพื้นที่นาก่อนการปลูกข้าว มีพื้นที่ปลูก
ประมาณร้อยละ 70 ของพื้นที่ปลูกงาทั้งประเทศ แหล่งปลูกงาต้นฤดูฝนได้แก่ จังหวัด
อุบลราชธานี ศรีสะเกษ บุรีรัมย์ สุรินทร์ นครราชสีมา สระบุรี ลพบุรี นครสวรรค์
เพชรบูรณ์ สุโขทัย ลาพูน น่าน และสุราษฎร์ธานี
2. ปลายฤดูฝน
เริ่มปลูกตั้งแต่เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม และเก็บเกี่ยวได้ตั้งแต่ปลาย
เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ส่วนใหญ่จะปลูกในสภาพพื้นที่ไร่หรือที่ดอน ปลูกหลัง
การเก็บเกี่ยวพืชไร่ มีพื้นที่ปลูกประมาณร้อยละ 30 ของพื้นที่ปลูกงาทั้งประเทศ
แหล่งปลูกงาปลายฤดูฝนที่สาคัญ ได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรี พิษณุโลก สพรรณบุรี
เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ และเลย
การเลือกพื้นที่ปลูกงา
1. เป็นดินร่วนปนทราย มีการระบายน้าดี และมีความอุดมสมบูรณ์พอสมควร
2. เป็นพื้นที่ดอนหรือสูง สามารถระบายน้าได้สะดวกไม่มีน้าขังแฉะ
3. ความเป็นกรด-ด่างของดิน ควรอยู่ระหว่าง 5.5-6.5 ไม่เป็นดินเปรี้ยวหรือดินเค็ม
4. ไม่เป็นพื้นที่ที่มีการปลูกงาติดต่อกันมาเป็นเวลานานหลายๆ ปี เพราะจะทาให้
งาเกิดโรคระบาดได้ง่าย
การเตรียมดินปลูกงา
การเตรียมดินเป็นปัจจัยที่สาคัญในการปลูกงาเนื่องจากเมล็ดงา
มีขนาดเล็ก ควรมีการเตรียมดินให้ร่วนซุย จะช่วยให้งางอกได้ดีและมีความ
สม่าเสมอ การไถพรวนจะมากหรือน้อยครั้งขึ้นอยู่กับโครงสร้างและชนิดของ
เนื้อดินถ้าเป็นดินร่วนทรายจะไถ 1-2 ครั้ง ส่วนดินเหนียวจะต้องไถมากครั้ง
กว่าดินร่วนโดยไถ 1-2 ครั้ง ส่วนดินเหนียวจะต้องไถมากครั้งกว่าดินร่วนโดย
ไถ 2-3 ครั้ง เพื่อย่อยดินให้ละเอียดจะให้ผลผลิตสูงกว่าไถเพียงครั้งเดียว
วิธีการปลูกงา
1. การปลูกแบบหว่าน
เกษตรกรส่วนใหญ่นิยมปลูกงาด้วยวิธีนี้โดยหลังจากเตรียมดินดีแล้ว จะ
ใช้เมล็ดงาหว่านให้กระจายสม่าเสมอ ในแปลงปลูก แล้วคราดกลบทันทีเพราะถ้ารอ
จนหน้าดินแห้ง หรือเมล็ดถูกแดดเผานานๆ เมล็ดงาจะตกมัน ทาให้ไม่งอกหรืองอก
ไม่สม่าเสมอ สาหรับเมล็ดพันธุ์ที่หว่านจะใช้ประมาณ 1-2 กิโลกรัมต่อไร่ ขึ้นอยู่กับ
สภาพการเตรียมดินและความเคยชินของเกษตรกร ในการหว่านอาจใช้ทราย
ละเอียด ขี้เถ้า แกลบ หรือมูลสัตว์ ผสมในอัตร 1:1 เพื่อช่วยให้เมล็ดงากระจาย
สม่าเสมอมากขึ้น ปัจจุบันมีการนาเครื่องปลูกงาแบบหว่านมาใช้ในเขตจังหวัด
ลพบุรี เป็นเครื่องปลูกที่ใช้ติดท้ายรถแทรกเตอร์ ตัวเครื่องประกอบด้วยผาน 4 ผาน
ถ้าบรรจุเมล็ดพันธุ์และมีช่องปล่อยเมล็ดพันธุ์ให้งาออกตามอัตราที่กาหนดไว้ เมื่อ
เมล็ดงาตกลงพื้นดินผานทั้ง 4 ผานจะไถดินตาม ทาให้เมล็ดถูกกระจายออกและถูก
ดินกลบ ต้นงาที่งอกขึ้นมาจะกระจายตัวคล้าย ๆ กับการหว่าน เครื่องปลูกงา เมื่อ
พ่วงกับรถไถเดินตามขนาดเล็ก จะใช้เวลาปลูกประมาณ 20 นาทีต่อไร่ หากพ่วงกับ
รถไถขนาดใหญ่จะใช้เวลาเพียง 10 นาที ต่อไร่
2. การปลูกแบบโรยเป็นแถว
ในการทาร่องสาหรับโรยเมล็ด ส่วนใหญ่ใช้คราดกาแถว จะช่วยให้ทา
แถวปลูกได้เร็วขึ้น ระยะแถวปลูก 50x10 เซนติเมตร หรือใช้เครื่องปลูกชนิด 4
แถว ระยะปลูก 30x10 เซนติเมตร หรือในแถวยาว 1 เมตร ให้มีต้นงา 10-20 ต้น
หลังจากปลูกแล้ว 15-20 วัน ให้ทาการถอนแยกให้ได้ระยะต้นตามความต้องการ
อัตราเมล็ดพันธุ์ที่ใช้ประมาณ 2-3 กิโลกรัมต่อไร่ การปลูกด้วยวิธีนี้จะใช้เมล็ด
พันธุ์มากกว่าวิธีหว่าน เสียเวลาและแรงงานมากต้องกาจัดวิชพืชระหว่างแถว
ปลูก แต่จะสะดวกในการพ่นสารเคมีป้ องกันกาจัดศัตรูพืช การปลูกแบบเป็นแถว
นี้จะให้ผลผลิตสูงกว่าการปลูกด้วยวิธีหว่าน
การดูแลรักษางา
งาเป็นพืชที่ต้องการการดูแลรักษาน้อยกว่าพืชชนิดอื่นเพียงแต่เตรียม
ดินให้ถูกวิธีและเหมาะสม และปลูกงาให้งอกอย่างสม่าเสมอ ก็สามารถจะให้
ผลผลิตพอสมควรแล้วส่วนใหญ่เกษตรกรที่ปลูกงาเมื่อหว่านเมล็ดงาแล้วก็ปล่อย
ทิ้งจนถึงเก็บเกี่ยว อย่างไรก็ตาม หากได้มีการปฏิบัติดูแลรักษาบ้างก็จะช่วยให้
ผลผลิตสูงขึ้น ทั้งนี้ควรจะเริ่มจากการปลูกงาเป็นแปลงใหญ่ ๆ ขนาด 3-5 เมตร ให้
มีร่องระหว่างแปลงเพื่อจะได้ตรวจแปลงได้สะดวกเมื่อมีโรคและแมลงระบาด
สามารถที่จะป้ องกันกาจัดได้ง่ายและรวดเร็ว
1. การสกัดน้ามันงา
การสกัดน้ามันงาโดยใช้แรงงานสัตว์ เป็นอีกวิธีการหนึ่งซึ่งชาวไทย
ใหญ่ในจังหวัดแม่ฮ่องสอนยังใช้อยู่จนถึงปัจจุบันนี้วิธีการนี้ทาได้โดยนาเมล็ด
งาที่ตากแดด 5 –6 วันให้ร้อน นาไปใส่ในครกไม้ซึ่งมีความจุประมาณ 22 –25
ลิตร (ประมาณ 15 กิโลกรัม) แล้วใช้แรงงานจากวัวหรือควายลากสากให้หมุน
เป็นวงกลมไปรอบ ๆ ครก สากไม้จะบีบให้เมล็ดงาเบียดกับครกจนป่นและมี
น้ามันซึมออกมา พอเริ่มถึงชั่วโมงที่สองเติมน้าร้อนลงไปครั้งละประมาณ 150
มิลลิลิตร จานวน 7 ครั้ง ห่างกันครั้งละ 10 นาที (ใช้น้า 3 กระป๋ อง/งา 1 ครก)
ในชั่งโมงที่ 3 จะสังเกตเห็นน้ามันลอยแยกขึ้นมาข้างบน เปิดช่องซึ่งอยู่ส่วนบน
ของครกให้น้ามันไหลออกสู่ภาชนะรองรับ ในการสกัดน้ามันแต่ละครั้งจะได้
น้ามัน 7 –8 ขวด (ขนาด 750 ซีซี.) และใช้เวลาประมาณ 3 ชั่วโมง
การแปรรูปงา
ปัจจุบันได้มีการปรับปรุงพัฒนานาเครื่องจักรและมอเตอร์ไฟฟ้ ามาใช้ โดย
เป็นระบบไฮโดรลิคและเกลียวอัด ซึ่งสามารถทางานได้ต่อเนื่องตลอดเวลา น้ามันงาที่ได้
จะเป็นน้ามันงาบริสุทธิ์ (virgin oil) โดยอาจเป็นน้ามันงาดิบ ซึ่งได้จากงาที่ไม่ผ่านการคั่ว
เป็นน้ามันที่เหมาะที่จะใช้สาหรับทาภายนอกแก้อาการปวดเมื่อย หรือเป็นน้ามันงาที่ได้
จากเมล็ดงาที่ผ่านการคั่วให้มีกลิ่นหอม ซึ่งน้ามันที่ได้จะมีสีคล้า เหมาะสาหรับใช้ปรุง
แตงรสอาหาร
ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพของเครื่องบีบน้ามัน ถ้าจะทาให้น้ามันออกหมดต้อง
ใช้สารละลายนอร์มอล เฮกเซน ละลาย น้ามันที่เหลือให้มารวมตัวกับสารละลาย แล้วจึง
กลั่นไล่สารละลายเฮกเซนออกให้หมด ซึ่งเป็นขั้นตอนที่ค่อนข้างยุ่งยากและอันตราย
เนื่องจากสารละลายเฮกเซนเป็นสารไวไฟ จึงต้องใช้ความระมัดระวังในการปฏิบัติงาน
แต่กากงาที่ได้จากวิธีนี้มีน้ามันหลงเหลืออยู่น้อยกว่า 0.5%
น้ามันที่ได้มาจากกรรมวิธีการสกัดต่าง ๆ นี้ยังมีสิ่งเจือปน จาเป็นต้องทาให้
บริสุทธิ์ปราศจากสิ่งเจือปน สารยางเหนียว กรดไขมันอิสระ สีและกลิ่น โดยผ่านกรรมวิธี
การกาจัดในขั้นตอนการตกตะกอน การกาจัดกรด การล้างน้ามัน การฟอกสีและการ
กาจัดกลิ่น
2. การทาแป้ งงา
หลังจากสกัดน้ามันออกหมดด้วยสารละลายเฮกเซน ซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้าย
ของการสกัดน้ามัน แล้วอบไล่สารละลายเฮกเซน โดยใช้อุณหภูมิ 80 C ภายใต้ความดัน
ประมาณ 15 มม. ปรอทนาน 30 นาที จะได้กากงาที่มีคุณภาพสูง (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ถ้าเป็นกากที่ได้จากเมล็ดงาที่ลอกเปลือกออกแล้ว จะได้กากงาที่ไม่มีรสขม)
เมื่อนากากงาที่ได้ไปบดเป็นแป้ ง และนาไปผสมกับแป้ งถั่วเหลืองที่ได้จาก
กรรมวิธีเดียวกัน ในสัดส่วนที่พอเหมาะแล้วนาเข้าเครื่อง Extruder จะได้ผลิตภัณฑ์
โปรตีนจากพืชที่มีคุณภาพดีเท่าเทียมกับโปรตีนจากเนื้อสัตว์ เพราะงามีปริมาณกรดอะ
มิโนไลซีนต่า ประมาณ 0.19 กรัม/ปริมาณโปรตีน 1 กรัม ขณะที่ถั่วเหลืองมีถึง 0.42
กรัม แต่มีเมทไธโอนีนสูง 0.14 กรัม/โปรตีน 1 กรัม ขณะที่ ถั่วเหลืองมีกรดอะมิโน
ดังกล่าว 0.04 กรัม/โปรตีน 1 กรัม
ผลิตภัณฑ์อาหารต่าง ๆ ได้อีกมาก หรือนาไปใช้เป็นส่วนผสมเพิ่มโปรตีนใน
ขนมปัง ขนมอบกรอบ อาหารโปรตีนจากพืชเป็นอาหารที่ร่างกายย่อยได้ง่าย เหมาะที่
จะใช้เป็นอาหารบารุงสาหรับคนไข้
3. การทางาขัด
งาขัด หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่างาล้าง คือ เมล็ดงาที่แยกเปลือกออกทาให้ได้
เมล็ดงาสีขาวน่ารับประทาน และไม่มีรสขม เนื่องจากเปลือกงาซึ่งมีแคลเซี่ยมออกซา
เลท และเยื่อใยอยู่สูงถูกกาจัดออกไป งาขัด นิยมใช้โรยหน้า หรือปรุงแต่งขนมต่าง ๆ
หลายชนิด นอกจากนี้การส่งออกเมล็ดงาไปยังต่างประเทศก็มักส่งออกในรูปงาขัด
เนื่องจากตลาดต่างประเทศมีความต้องการใช้งาขาว แต่ประเทศไทยผลิตได้น้อย พ่อค้า
ส่งออกจึงนางาเมล็ดสีดา หรือสีน้าตาลมาลอกเปลือกออกให้เป็นสีขาว
4. การทางาคั่ว
นาเมล็ดงามาทาความสะอาดเอาเศษ หิน ดิน หรือวัสดุต่าง ๆ ที่เจือ
ปนออก หลังจากนั้นนาไปล้างในน้าสะอาด 2 –3 ครั้ง โดยอาจล้างบนตะแกรง
ร่อนแป้ งซึ่งมีรูตาข่ายเล็กละเอียด หรือในถุงผ้าตาข่ายละเอียดเพื่อให้เศษฝุ่นผง
ดินต่าง ๆ เล็ดลอดออกไป เหลือเฉพาะเมล็ดงาที่สะอาดปราศจากสิ่งเจือปน
จากนั้นนาไปผึ่งแดดให้แห้งพอหมาด แล้วนาไปคั่วโดยใช้ไฟปานกลางและคน
ตลอดเวลา การคั่วแต่ละครั้งควรใช้งาครั้งละไม่มาก เช่น งา 1 กิโลกรัม ควรแบ่ง
คั่วประมาณ 3 ครั้ง คั่วจนเมล็ดงาเริ่มแตกและมีกลิ่นหมอแสดงว่าสุกได้ที่ เติม
น้าเกลือโดยพรมให้ทั่ว คนต่อเล็กน้อยแล้วยกลงจากเตาไฟ ท้งไว้จนมีอุณหภูมิ
ปกติจึงบรรจุในภาชนะที่ปิดฝาสนิท การทางาบดควรแบ่งบดครั้งละไม่มาก
เพื่อให้ได้งาบดที่มีรสชาติหอมอร่อยน่ารับประทาน
ไข่ตุ๋นงาดา
ส่วนผสม
1. ไข่ไก่ 1 ฟอง
2. น้าซุปไก่ 1/2 ถ้วยตวง
3. เนื้อไก่บด 2 ช้อนโต๊ะ
4. งาดาคั่ว โขลกละเอียด 1
1/2 ช้อนชา
5. งาดาคั่ว โขลกละเอียด
สาหรับโรยหน้า 1/4 ช้อนชา
6. เกลือป่นหยาบ 1/8 ช้อนชา
7. พริกไทยป่นเล็กน้อย
8. ต้นหอมและผักชีซอย
วิธีทา
1. ผสมเนื้อไก่บด งาดาคั่ว เกลือป่น และพริกไทยป่น นวดให้เข้ากัน แล้ว
ปั้นเป็น
ก้อนกลม พักไว้
2. ตีไข่ไก่พอแตก เติมน้าซุปไก่ลงไปคนผสมให้เข้ากันตักถ้วยสาหรับตุ๋น
3. ใส่ส่วนผสมไก่สับงาดา (ข้อที่ 1) ลงไปในถ้วยส่วนผสมไข่
4. นาลังถึงหรือชุดนึ่งขึ้นตั้งไฟ ใช้ไฟอ่อนพอร้อน นาถ้วยส่วนผสมไข่วาง
ลงไปนึ่งพอสุก ยกออกจากเตา โรยด้วยต้นหอม ผักชี และงาดาคั่ว พร้อมเสิร์ฟ
สูตรอาหารไก่ชุบงาทอด – ไก่ทอดงา
ส่วนผสม
1. เนื้อไก่ติดสะโพก 200 กรัม
2. ซอสปรุงรส 1/2 ช้อนโต๊ะ
3. เกลือ 1/2 ช้อนชา
4. พริกไทย 1 ช้อนชา
5. ไข่ขาว 1 ฟอง
6. งาขาว 1/2 ถ้วย
7. งาดา 1/2 ถ้วย
8. น้ามัน
วิธีทาไก่ชุบงาทอด - ไก่ทอดงา
1. นาไก่มาล้างให้สะอาด ซับน้าให้แป้ ง หมักเกลือ พริกไทย ซอสปรุงรสไว้
ไว้ประมาณ 10 นาที
2. นาไข่ขาวมาตีให้ขึ้นฟูแต่ไม่ต้องตั้งยอด แล้วนาไก่มาชุบกับไข่ขาวที่ขึ้นฟู
ขึ้นฟูแล้วให้ทั่ว สะบัดออกเล็กน้อย จากนั้นนาไปชุบงา จะเป็นงาขาวหรือดา
หรือดาก็ได้พักไว้
3. นาไก่ที่ชุบงาแล้วมาทอดให้เหลืองกรอบ จัดใส่จานเสิร์ฟพร้อมกับผักสลัด
สูตรบะหมี่หวานงาดา
ส่วนผสม
1.บะหมี่งาดา 2 ก้อน
2.พุทราจีน 10 เม็ด
3.แปะก้วย 10 เม็ด
4.แห้ว 5 ลูก
5.ไข่ไก่ 2 ฟอง
6.น้าตาลทรายแดง 1 ถ้วย
7.น้าตาลกรวด 1 ถ้วย
8.เกลือ 1 ช้อนชา
9.ขิง 1/2 แง่ง
10.น้าสะอาด 4 ถ้วย
วิธีทาบะหมี่หวานงาดา
1.ลวกบะหมี่งาดา ในน้าเดือด ให้สุกพอดี ล้างด้วยน้าเย็น แล้วลวกเร็วๆด้วยน้าร้อนอีกครั้ง
ครั้ง สะเด็ดน้าให้แห้ง
2.ล้างขิงให้สะอาด นาไปปอกเปลือกให้เกลี้ยง แล้วบุบ พักไว้
3.ตั้งไฟกลางต้มน้า ใส่น้าตาลทรายแดง และน้าตาลกรวด ใส่ขิงบุบ เติมเกลือเล็กน้อย เคี่ยว
เคี่ยวจนน้าตาลละลาย
4.ใส่พุทราจีนและแปะก้วยลงต้ม 5นาที
5. นาไข่ไก่มาแยก ไข่แดง และ ไข่ขาว นาส่วนไข่แดงไปต้มในน้าเชื่อมที่แบ่งไว้พอสุกตักเบา
ตักเบามือ ขึ้น พักไว้
6.ไข่ขาวตีให้ขึ้นฟู ค่อยๆเท ลงต้มเช่นเดียวกับไข่แดง พอสุกตักขึ้นพักไว้
วิธีทาบะหมี่หวานงาดา
1.ลวกบะหมี่งาดา ในน้าเดือด ให้สุกพอดี ล้างด้วยน้าเย็น แล้วลวกเร็วๆด้วยน้าร้อนอีกครั้ง
ครั้ง สะเด็ดน้าให้แห้ง
2.ล้างขิงให้สะอาด นาไปปอกเปลือกให้เกลี้ยง แล้วบุบ พักไว้
3.ตั้งไฟกลางต้มน้า ใส่น้าตาลทรายแดง และน้าตาลกรวด ใส่ขิงบุบ เติมเกลือเล็กน้อย เคี่ยว
เคี่ยวจนน้าตาลละลาย
4.ใส่พุทราจีนและแปะก้วยลงต้ม 5นาที
5. นาไข่ไก่มาแยก ไข่แดง และ ไข่ขาว นาส่วนไข่แดงไปต้มในน้าเชื่อมที่แบ่งไว้พอสุกตักเบา
ตักเบามือ ขึ้น พักไว้
6.ไข่ขาวตีให้ขึ้นฟู ค่อยๆเท ลงต้มเช่นเดียวกับไข่แดง พอสุกตักขึ้นพักไว้
สูตรอาหารบะหมี่งาดาราดหน้าปลาเต้าซี่
ส่วนผสม
หมักปลา
1.ปลากะพง 2 ขีด
2. ไข่ขาว 1 ฟอง
3.แป้ งมันละลายน้า 4 ช้อนโต๊ะ
4.น้ามันงา 1 ช้อนโต๊ะ
5.น้ามันพืช สาหรบทอด -ผัด
6.เกลือ 2 ช้อนชา
7.น้าตาล 1 ช้อนชา
8.แป้ งมันสาหรับหมักปลา 1/4 ถ้วย
สาหรับทาราดหน้า
1.เต้าซี่ 1 ช้อนโต๊ะ
2.บะหมี่งาดา 2 ก้อน
3.กระเทียมสับ 2 ช้อนโต๊ะ
4..ซอสหอยนางรม 3 ช้อนโต๊ะ
5.พริกหวาน 3 สี เขียว แดง เหลือง หั่นชิ้นพอคา
2 ถ้วย
6.น้าซุป 2 ถ้วย
วิธีทาบะหมี่งาดาราดหน้าปลาเต้าซี่
1.หั่นปลาชิ้นใหญ่ แล้วโรยเกลือ น้าตาล น้ามันงา
2.ใส่ไข่ขาว และโรย แป้ งคลุกส่วนผสมให้เข้ากันหมักไว้ 5 นาที
3.นาไปทอดในน้ามัน จนได้ที่สุกเหลือง ตักขึ้นพักไว้
4.ตั้งกระทะน้ามันให้ร้อน ใส่กระเทียม ตามด้วยเต้าซี่ ผัดจนหอม
5.ใส่พริกหวาน ทั้ง 3 สี ผัดพอสดุ้งไฟ เติมน้าซุป
6.ปรุงรสด้วยซอสหอยนางรม ตามด้วยแป้ งมันละลายน้า ผัด และคนให้ทั่ว
7.สุก เริ่มเดือด ราดบนเส้นบะหมี่งาดา และ ราดบนปลากะพงที่นามาวางบนบะหมี่
บะหมี่งาดาที่ลวกเสร็จเรียบร้อยแล้ว
ข้อแนะนา
โรยแป้ งบางๆให้เกาะ บนชิ้นปลา ก่อนทอด จะได้ชิ้นปลาที่
ปลาที่สุกนุ่มกรอบ พลิกปลาเบาๆ ถ้าแรงเนื้อปลาอาจแตก
แตกได้ลวกบะหมี่ ในน้าร้อน แล้วรีบนาแช่น้าเย็นทันที
สะเด็ดน้าออกให้แห้ง เวลาเทแป้ งมันละลายน้าลงในกระทะ
กระทะ ให้รีบคน หากล่าช้าแป้ งจะเหนียวคืนตัว
สูตรอาหารซาลาเปาไส้งาดา
ส่วนผสม
1. แป้ งสาลี 2 ถ้วย
2. น้าตาลทราย 1/4 ถ้วย
3. เกลือ 1/8 ช้อนชา
4. ยีสต์ 2 ช้อนชา
5. น้าอุ่น 3/4 ถ้วย
ไส้งาดา
6. งาดา (คั่วสุก-บดหรือปั่นละเอียด) 500 กรัม
7. น้าตาลทรายแดง 150-200 กรัม
8. แบะแซ / กลูโคส 50 กรัม
9. น้า 1/2 ถ้วย
10. น้ามันพืช 1/2 ถ้วย
วิธีทาซาลาเปาไส้งาดา
1. อ่างผสมใส่แป้ งสาลี ยีสต์ น้าตาล เกลือ เคล้าให้เข้ากัน ค่อยๆ เทน้าใส่ นวดต่อ
ต่อจนแป้ งเข้ากันดี สังเกตจากสีแป้ งเปลี่ยนสีเป็นขาวนวล พักทิ้งไว้ให้แป้ งขึ้น 1
1 ชม. เป็นอย่างต่า
2. ไส้งาดา – หม้อใส่น้าตาลทราย แบะแซ น้า ตั้งไฟ พอเดือดใส่งาบด กวนด้วยไฟ
ด้วยไฟอ่อนจนน้าแห้ง ใส่น้ามันพืชกวนเล็กน้อย พักไว้ให้เย็นตัว สามารถปั้นเป็น
เป็นก้อนกลมรีๆ เพื่อทาให้ง่ายขึ้นเวลาใส่เป็นไส้
3. แป้ งที่พักไว้แบ่งก้อนแป้ งปั้นเป็นก้อนกลมรีๆ เท่าๆ กัน 12 – 16 ก้อน นาก้อน
ก้อนแป้ งแผ่ออกให้ขอบๆ บาง ใส่ไส้ ห่อเป็นก้อนกลม วางบนกระดาษเรียงใส่ถาด
ถาด พักไว้อีกสัก 10-15 นาที แล้วนาไปใส่ในลังถึงที่น้าเดือด นึ่งประมาณ 15 นาที
สูตรขนมบัวลอยน้าขิง
ส่วนผสม
1. แป้ งข้าวเหนียว 150 กรัม
2. แป้ งข้าวเจ้า 50 กรัม
3. งาดาคั่วบดละเอียด 80 กรัม
4. น้าตาลทรายแดง 150 กรัม
5. น้าตาลปี๊ป 200 กรัม
6. ขิงหั่นแว่น 100 กรัม
7. น้าเปล่า 150 มล. (สาหรับนวดแป้ ง)
8. น้าเปล่า 1 1/2 ลิตร (สาหรับทาน้าขิง)
วิธีทาบัวลอยน้าขิง
1. นางาคั่วบดละเอียด น้าตาลปี๊ป ไปกวนในกระทะทองเหลือง ประมาณ 10 นาทีจน
จนส่วนผสมเริ่มเหนียวข้น พักไว้ให้เย็น (ใช้ไฟอ่อน)
2. นาแป้ งข้าวจ้าว แป้ งข้าวเหนียว ผสมรวมกัน เติมน้าเปล่าลงไปทีละน้อยและนวดให้
นวดให้เข้ากันดี
3. ปั้นแป้ งเป็นก้อนกลมขนาด 1 1/2 นิ้ว และแผ่แป้ งออกเป็นแผ่นแบน ตักใส่งาดาวาง
วางตรงกลางแป้ ง จากนั้นเก็บริมแป้ งให้มิดและปั้นเป็นก้อนกลม วางพักไว้บนถาดแป้ งที่
แป้ งที่โรยนวลแป้ งไว้แล้ว
4. ต้มน้าเปล่าให้เดือดจัด นาแป้ งบัวลอยลงต้มให้สุกประมาณ 5-7 นาที เมื่อแป้ งบัว
บัวลอยเริ่มลอยตัวขึ้นมาให้ตักขึ้นพักไว้ในน้าเย็น
5. ต้มน้าเปล่า น้าตาลทรายแดง ขิงแก่ รวมกันจนเดือด ตักน้าขิงใส่ถ้วยบัวลอย เป็น
เป็นอันเสร็จ พร้อมเสิร์ฟ
สูตรขนมบัวหิมะไส้งาดา
ส่วนผสม
1. แป้ งขนมบัวหิมะ 500 กรัม
2. งาดา 120 กรัม
3. ถั่วเขียวซีกนึ่งสุก 200 กรัม
4. กะทิ 190 กรัม
5. น้าตาลทรายแบบไม่ขัดสี 75 กรัม
6. แบะแซ 25 กรัม
7. สีผสมอาหาร สีเหลือง
วิธีทาขนมบัวหิมะไส้งาดา
1. ปั่นถั่วเขียวซีก งาดา กะทิปั่นรวมกัน แล้วนาใส่หม้อ ใส่น้าตาลคนให้เข้ากัน
กันนาขึ้นตั้งไฟอ่อน
2. ใส่แบะแซลงไป กวนตลอดเวลาจนส่วนผสมร่อนออกจากหม้อ
3. พักไว้ให้เย็นแล้วนามาปั้นลูกละ 25-30 กรัม
4. นาแป้ งบัวหิมะมาใส่สีผสมอาหารสีเหลือง นวดให้เข้ากันและปั้นลูกละ 25-
25-30 กรัม โรยแป้ งนวลกันติด
5. นาแป้ งมาห่อกับไว้แล้วนาไปกดในพิมพ์ขนมไหว้พระจันทร์ โรยแป้ งนวลใน
ในพิมพ์เพื่อไม่ให้ติด
6. จัดใส่จานพร้อมเสิร์ฟ
สูตรขนมเค้กงาดา Black Sesame Cake
อุปกรณ์
1. พิมพ์สี่เหลี่ยมผืนผ้า 2. ชามผสม
3. ตะแกรง 4. ตะกร้อ
5. พายยาง 6. ที่ร่อนแป้ ง
ส่วนผสม
1. เนยเค็ม 170 กรัม
2. น้าตาลไอซิ่ง 100 กรัม
3. ไข่แดง 2 ฟอง
4. งาดาป่น 30 กรัม
5. งาดาเมล็ด 5 กรัม
6. ผงฟู 1 1/2 ช้อนชา
7. แป้ งเค้ก 140 กรัม
8. ไข่ขาว 2 ฟอง
9. น้าตาลทราย 20 กรัม
10. วิปปิ้งครีม 250 กรัม
11. งาดาคั่ว (ตามชอบ)
งาดำ
งาดำ
งาดำ
งาดำ
งาดำ
งาดำ

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายKan Pan
 
เรื่องของกล้วย^ ^
เรื่องของกล้วย^ ^เรื่องของกล้วย^ ^
เรื่องของกล้วย^ ^Patchareeya Pinit
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคtassanee chaicharoen
 
อาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับอาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับTODSAPRON TAWANNA
 
อาหารตามวัย
อาหารตามวัยอาหารตามวัย
อาหารตามวัยPloyLii
 
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุatunya petkeaw
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevtonginzone
 
บทที่ ๒ สารอาหาร
บทที่ ๒ สารอาหารบทที่ ๒ สารอาหาร
บทที่ ๒ สารอาหารkasocute
 
อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่Janjira Majai
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตchalunthorn teeyamaneerat
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1taomanxx
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKDPha C
 
สารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงานสารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงานAobinta In
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการNattaka_Su
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพpasutitta
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
 
เรื่องของกล้วย^ ^
เรื่องของกล้วย^ ^เรื่องของกล้วย^ ^
เรื่องของกล้วย^ ^
 
Present.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapdPresent.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapd
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
 
อาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับอาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับ
 
อาหารตามวัย
อาหารตามวัยอาหารตามวัย
อาหารตามวัย
 
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
 
Food&life
Food&lifeFood&life
Food&life
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevt
 
บทที่ ๒ สารอาหาร
บทที่ ๒ สารอาหารบทที่ ๒ สารอาหาร
บทที่ ๒ สารอาหาร
 
อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไต
 
รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรารู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKD
 
Banana
BananaBanana
Banana
 
สารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงานสารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงาน
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 

Similar to งาดำ

ลุยยยย
ลุยยยยลุยยยย
ลุยยยยguest3494f08
 
โปรตีน
โปรตีนโปรตีน
โปรตีนpannnnnn
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน24LIFEYES
 
สมุนไพรเพื่อความงาม
สมุนไพรเพื่อความงามสมุนไพรเพื่อความงาม
สมุนไพรเพื่อความงามPornpimon Gormsang
 
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตงานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตFrank Jkg
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหารPanjaree Bungong
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพrubtumproject.com
 
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟันCm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน4LIFEYES
 
มิกซ์ไฟเบอร์
 มิกซ์ไฟเบอร์ มิกซ์ไฟเบอร์
มิกซ์ไฟเบอร์manasapat
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุกPanjaree Bungong
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหารช่วยแก้ง่วง
อาหารช่วยแก้ง่วงอาหารช่วยแก้ง่วง
อาหารช่วยแก้ง่วงnoosun
 

Similar to งาดำ (20)

ลุยยยย
ลุยยยยลุยยยย
ลุยยยย
 
โปรตีน
โปรตีนโปรตีน
โปรตีน
 
Enzyme : Lee Pao
Enzyme : Lee PaoEnzyme : Lee Pao
Enzyme : Lee Pao
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
 
สมุนไพรเพื่อความงาม
สมุนไพรเพื่อความงามสมุนไพรเพื่อความงาม
สมุนไพรเพื่อความงาม
 
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตงานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร
 
Chatchai5 3 1 pdf
Chatchai5 3 1 pdfChatchai5 3 1 pdf
Chatchai5 3 1 pdf
 
ผลไม้ต่อสุขภาพ
ผลไม้ต่อสุขภาพผลไม้ต่อสุขภาพ
ผลไม้ต่อสุขภาพ
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟันCm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
 
มิกซ์ไฟเบอร์
 มิกซ์ไฟเบอร์ มิกซ์ไฟเบอร์
มิกซ์ไฟเบอร์
 
โครงงานผลไม เพ _อส_ขภาพpdf
โครงงานผลไม เพ _อส_ขภาพpdfโครงงานผลไม เพ _อส_ขภาพpdf
โครงงานผลไม เพ _อส_ขภาพpdf
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหารช่วยแก้ง่วง
อาหารช่วยแก้ง่วงอาหารช่วยแก้ง่วง
อาหารช่วยแก้ง่วง
 

More from Sompor Sukaew

โครงงานปากมดลูก
โครงงานปากมดลูกโครงงานปากมดลูก
โครงงานปากมดลูกSompor Sukaew
 
โครงร่างงานคอมฝนอัง
โครงร่างงานคอมฝนอังโครงร่างงานคอมฝนอัง
โครงร่างงานคอมฝนอังSompor Sukaew
 
คอม งาดำ
คอม งาดำคอม งาดำ
คอม งาดำSompor Sukaew
 
คอม งาดำ
คอม งาดำคอม งาดำ
คอม งาดำSompor Sukaew
 
โครงงานคอม งาดำ
โครงงานคอม งาดำโครงงานคอม งาดำ
โครงงานคอม งาดำSompor Sukaew
 
โครงงานคอม งาดำ
โครงงานคอม งาดำโครงงานคอม งาดำ
โครงงานคอม งาดำSompor Sukaew
 
โครงงานคอม งาดำ
โครงงานคอม งาดำโครงงานคอม งาดำ
โครงงานคอม งาดำSompor Sukaew
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมSompor Sukaew
 

More from Sompor Sukaew (9)

โครงงานปากมดลูก
โครงงานปากมดลูกโครงงานปากมดลูก
โครงงานปากมดลูก
 
โครงร่างงานคอมฝนอัง
โครงร่างงานคอมฝนอังโครงร่างงานคอมฝนอัง
โครงร่างงานคอมฝนอัง
 
คอม งาดำ
คอม งาดำคอม งาดำ
คอม งาดำ
 
คอม งาดำ
คอม งาดำคอม งาดำ
คอม งาดำ
 
โครงงานคอม งาดำ
โครงงานคอม งาดำโครงงานคอม งาดำ
โครงงานคอม งาดำ
 
โครงงานคอม งาดำ
โครงงานคอม งาดำโครงงานคอม งาดำ
โครงงานคอม งาดำ
 
โครงงานคอม งาดำ
โครงงานคอม งาดำโครงงานคอม งาดำ
โครงงานคอม งาดำ
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 

งาดำ

  • 1.
  • 2.
  • 3. งาดา งา พืชที่อุดมไปด้วยสารอาหารต่างๆมากมาย โดยงา จะมี 2 แบบ คือ งาดา และ งาขาว นอกจากนี้ ยัง มีน้ามันงาที่นามาใช้ปรุงอาหาร เพราะมีกลิ่นหอมและกรด ไขมันที่มีประโยชน์ ทั้งนี้สารอาหารที่มีอยู่ในเมล็ดงาล้วน แต่มีประโยชน์ทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็น โปรตีน ที่มีกรดอะมิโน ที่จาเป็นต่อร่างกาย คือ กรดอะมิโนเมธิโอนีน นอกจากนี้ เรายังสกัดน้ามันจากงาออกมาได้อีกด้วย ซึ่งน้ามันที่ได้ นั้นเป็นน้ามันงาที่มีคุณสมบัติเยี่ยม คือ มีกรดไขมันชนิด ไม่อิ่มตัวสูง ทั้งกรดไขมันโอเมก้า 3 กรดไขมันโอเมก้า 6 ที่มีคุณสมบัติช่วยลดคลอเลสเตอรอล จึงช่วยป้ องกัน หลอดเลือดแข็งตัว ป้ องกันโรคหัวใจ ทาให้ระบบหัวใจ แข็งแรง นอกจากนี้ ยังมีกรดไขมันไลโนเลอิค ที่ช่วยทาให้ ผมดกดา บารุงผิวพรรณให้ชุ่มชื้น
  • 4. นอกจากนี้งายังมีวิตามินและแร่ธาตุที่สาคัญ โดยเฉพาะแคลเซียมที่มี มากกว่านมวัวถึง 6 เท่า มีธาตุเหล็ก แมกนีเซียม สังกะสี ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และทองแดง และยังมากด้วยวิตามินบีชนิดต่างๆ ซึ่งดีต่อระบบประสาท ช่วยทาให้ นอนหลับ ร่างกายกระฉับกระเฉง พร้อมกันนั้นยังมีสารบารุงประสาทด้วย และ วิตามินอีเป็นตัวแอนติออกซิแดนท์ที่ช่วยต้านมะเร็ง สาหรับประโยชน์ของงาดานั้น งาดา มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Sesamum orientale L. อยู่ในวงศ์ Pedaliaceae ชื่อสามัญคือ sesame มีถิ่นกาเนิดอยู่ใน ประเทศเอธิโอเปีย และถูกนาเข้าไปยังอินเดียและแพร่ต่อไปในจีน แอฟริกาเหนือ เอเซียใต้ และทวีปอเมริกา ซึ่งงาดามีประโยชน์อย่างมาก การบริโภคงาดาเป็นประจา จะช่วยให้นอนหลับ กระปรี้กระเปร่า ป้ องกันโรคเหน็บชา บารุงกระดูก ป้ องกันอาการ ท้องผูก ลดระดับโคเลสเตอรอลในเลือดบรรเทาอาการริดสีดวงทวาร และช่วยบารุง รากผม
  • 5. ส่วนประโยชน์อีกอย่างหนึ่ง คือ ถ้าใช้น้ามันงาดิบนวดตัวในตอนเช้า ก่อนอาบน้า จะช่วยปรับระบบประสาทและระดับฮอร์โมน ให้เข้าสู่สภาวะ สมดุล ช่วยคลายเครียดทาให้จิตใจสงบ และยังสามารถนาน้ามันงาดิบไปใช้ นวดตัว เพื่อขจัดอาการปวดเมื่อย คลายกล้ามเนื้อ บรรเทาอาการปวดเข่า เล็ด ขัดยอก และทาให้กล้ามเนื้อไม่เหี่ยวย่น ดูอ่อนเยาว์อยู่เสมอ
  • 6. “เซซามีล” คืออะไร สารสาคัญในงาดา เซซามีล เป็นสารลิกแนน ( lignans ) ชนิดหนึ่งในงาดาซึ่งมีปริมาณ มากที่สุด สารดังกล่าวคือสารชีวโมเลกุลที่ทาหน้าที่ป้ องกันตัวเองจากศัตรูพืช รายงานวิจัยที่ผ่านมามากมายต่างค้นพบว่า สารเซซามินมีคุณสมบัติทางชีวภาพ สูงมาก สามารถสรุปได้ดังนี้ คุณประโยชน์ของ “สารเซซามิล” และแร่ธาตุสาคัญ อื่นๆ ในน้ามันงาดา 8 ประการคือ 1. ช่วยต้านการอักเสบ ลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคข้อกระดูกอักเสบ โรคข้อ เสื่อม และอีกหลายโรคร้ายสาคัญ (Anti-inflammatory Effect)สารเซซามิน ในน้ามันงาดาช่วยยับยั้งไอแอลวันเบต้า (Interleukin-1 Beta, IL-1 Beta) ซึ่งเป็นตัวการสาคัญในการทาให้กระดูกอ่อนสลาย ลดความเสี่ยงในการ เป็นโรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคอัลไซเมอร์ โรคเบาหวาน ฯลฯ ช่วยในการกาจัด สารพิษของตับ ทาให้ตับทางานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพราะใน น้ามันงาดายังมีวิตามินอี กรดไขมันโอเมก้า 3 ธาตุสังกะสี ทองแดง ฯลฯ ที่ ช่วยต้านการอักเสบได้ดี
  • 7. 2. ช่วยต้านอนุมูลอิสระ (Antioxidant Effect) อันเป็นสาเหตุสาคัญของโรคร้ายและการเสื่อมของร่างกาย ด้วยในน้ามันงาดาประกอบไปด้วยสารเซซามิน วิตามินอี ธาตุสังกะสี วิตามินบี 1, 2, 3, 5, 6, 9 ทองแดง ไอโอดีน ใยอาหาร ฯลฯ ซึ่งสาคัญต่อ การช่วยต้านอนุมูลอิสระ 3. ช่วยเสริมในการทางานของวิตามินอี (Enhancement of Vitamin E) ทาให้ชะลอความชรา ไม่แก่เร็ว ไม่ป่วยเป็นโรคร้ายได้อย่างมี ประสิทธิภาพมาก เนื่องจากมีสารเซซามิน ธาตุสังกะสี ฯลฯ ที่ช่วยเสริม การทางานของวิตามินอีให้ดียิ่งขึ้น
  • 8. 4. ลดปฏิกิริยาความเครียดระดับเซลล์ในเนื้อเยื่อต่างๆ (Effect on Hypoxic and Oxidative Stresses) ทาให้คลายเครียด นอนหลับสบาย ส่งผลให้ระบบการ ทางาน ในร่างกายดีขึ้นโดยรวม โดยสารเซซามิน โพแทสเซียม ฟอสฟอรัส ธาตุสังกะสี แมกนีเซียม ธาตุเหล็ก แคลเซียม ฯลฯ ซึ่งเป็นสารที่มีอยู่ในน้ามันงาดาจะไปช่วยคลาย ความเครียดและกระตุ้นการ ทางานในเนื้อเยื่อต่างๆ 5. ช่วยลดการดูดซึมและการสังเคราะห์คอเลสเตอรอล (Reduce of Cholesterol) ช่วยลดความดันโลหิตสูงได้อย่างดีเยี่ยม ช่วยป้ องกันหลอด เลือดแข็งตัว ป้ องกันโรคหัวใจ ทาให้ระบบหัวใจแข็งแรง ช่วยกระตุ้น ประสาทเรื่องการหดตัวของกล้ามเนื้อและการทางานของกล้ามเนื้อ หัวใจ ควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจให้เป็นไปอย่างปกติ เนื่องจาก สารสาคัญใน น้ามันงาดา เช่น สารเซซามิน กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยว และเชิงซ้อน กรด ไขมันโอเมก้า 3 กรดไขมันไลโนเลอิก กรดไขมันโอเ มก้า 9 ฯลฯ มีส่วนช่วยในการ สังเคราะห์คอเลสเตอรอล
  • 9. 6. ช่วยในการเผาผลาญสลายไขมัน (Effect on Fatty Acid Oxidation) ลดความอ้วนแบบธรรมชาติ ปลอดภัย เสริมสร้างกล้ามเนื้อ ให้กระชับ โดยในน้ามันงาดามีสารเซซามิน ฟอสฟอรัส แมกนีเซียม ฯลฯ ที่ช่วยในการเผาผลาญสลายไขมัน (Fat Burn) 7. ช่วยป้ องกันการเสื่อมของเซลล์ ในระบบประสาท (Neuroprotective Effect) ทาให้สมองทางานดี ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอัลไซเมอร์ ความจาเสื่อม เพราะมีสารสาคัญอย่างเซซามิน ธาตุเหล็ก โพแทสเซียม ฯลฯ ที่ช่วยป้ องกันการเสื่อมของระบบประสาท
  • 10. 8. ทาให้ระดับไขมันอยู่ในสัดส่วนที่พอดี (Hypolipidemic Effect) ช่วยดูแลเกี่ยวกับเรื่องของอัตราส่วนของไขมันในร่างกาย ลดปริมาณของ คอเลสเตอรอล มีไขมันดีมากขึ้น ป้ องกันโรคหัวใจ ลดความดันโลหิตสูงได้อย่างดีเยี่ยม เนื่องจากสาระสาคัญในน้ามันงาดา เช่น สารเซซามิน กรดไขมัน โอเมก้า 3 กรดไขมันไล โนเลอิก กรดไขมันโอเมก้า 9 ฟอสฟอรัส แมกนีเซียม ฯลฯ ซึ่งช่วยให้ระดับไขมัน อยู่ใน สัดส่วนที่พอดี
  • 11. ผลการวิจัยในห้องทดลอง การวิจัยในห้องทดลองทาให้พบกลไกการทางานของสารเซซามินที่มีฤทธิ์ ต่อต้านการอักเสบได้ทุกชนิด ตั้งแต่การอักเสบของกระดูก การอักเสบของตับ ปอด และอื่นๆ จึงได้มีการต่อยอดความรู้จากเรื่องกระดูกไปสู่การศึกษาเรื่อง มะเร็ง ตับแข็ง ตับอักเสบ ปอดอักเสบ และ การติดเชื้อไวรัส H1N1 และนี่เองค่ะ ที่ทาให้โลกได้ ตระหนักถึงพลานุภาพของเซซามิน สารสกัดจากงาดาที่เปี่ยมด้วยพลังแห่งการ เยียวยาความเจ็บป่วยนานาของมนุษย์ นอกเหนือจากนี้การที่เซซามินมีสารต้านอนุมูลอิสระสูงมาก ประกอบกับ ฤทธิ์ในการต่อต้านการอักเสบ และคุณสมบัติที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายอย่าง มากมาย จึงสามารถนาเซซามีนไปใช้บาบัดความเจ็บป่วยได้อีกหลายโรค ซึ่งต้อง ทาการศึกษาวิจัยกันต่อไป อย่างไรก็ดี ในทางปฏิบัติได้มีการใช้เซซามินกับผู้ป่วย หลายโรคด้วยกัน ดังที่มีผู้บริโภคสารสกัดเซซามินบอกเล่าประสบการณ์มาให้ทราบ เช่น มีการใช้เซซามินกับผู้ป่วยวัณโรคกระดูกได้ผลดี หรือแม้แต่ใช้กับผู้ป่วยพาร์คินสัน ก็น่าจะช่วยบรรเทาอาการได้ เพราะเซซามินในงาดามีสรรพคุณบารุงระบบประสาท เป็นที่ประจักษ์ชัดกันมานานแล้ว
  • 12. การทานงาดาเพื่อให้ได้สารเซซามิน ก็ต้องทานให้ถูกต้อง คือต้องทานงา ที่บดแล้ว เพราะงาที่ไม่ได้บด ยากที่จะถูกย่อยสลายได้ในทางเดินอาหาร เนื่องจาก งามีโครงสร้างที่แข็งแรงมาก ที่สาคัญก็คือต้องทาให้สุกก่อน เวลาคั่วก็ต้องระวัง ไม่ให้งาไหม้ ไม่อย่างนั้นแล้ว แทนที่จะได้ประโยชน์ก็จะได้โทษไปแทน และถ้า จะต้องเก็บงาไว้ทานนานๆ ก็ต้องเก็บไว้ไม่ให้เหม็นหืนด้วย
  • 13. ประโยชน์ของงาดา 1. มีความสาคัญอย่างมากต่อความสมบูรณ์ของร่างกาย 2. ช่วยชะลอความแก่ คงความอ่อนเยาว์ 3. ช่วยบารุงผิวพรรณให้เปล่งปลั่งสดใส ชุ่มชื้น ช่วยชะลอการเกิดริ้วรอยแห่ง วัย 4. ช่วยซ่อมแซมและเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้กับผิวหนังของคุณ 5. ช่วยบารุงรากผมให้แข็งแรง และช่วยให้ผมดกเงางาม 6. ช่วยป้ องกันผมหงอก 7. ช่วยเพิ่มพลังงานและความแข็งแรงของร่างกาย 8. ช่วยในการเผาผลาญและสลายไขมัน ลดความอ้วน 9. ช่วยลดการดูดซึมและการสังเคราะห์คอเลสเตอรอล 10. ช่วยป้ องกันหลอดเลือดแข็งตัว
  • 14. 11. ช่วยป้ องกันการเกิดโรคหัวใจ ทาให้ระบบหัวใจแข็งแรงยิ่งขึ้น 12. มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระที่มีส่วนช่วยป้ องกันการเกิดโรคมะเร็ง 13. ช่วยลดความเครียด 14. ช่วยบารุงระบบประสาทและสมอง ป้ องกันการเสื่อมของเซลล์ในระบบ ประสาท 15. งาดามีธาตุเหล็กซึ่งช่วยบารุงโลหิต 16. ช่วยลดความดันโลหิต ขยายหลอดเลือด ป้ องกันเกล็ดเลือดที่จะเกาะตัวกัน เป็นลิ่ม 17. ช่วยกระตุ้นให้ร่างกายสร้างเม็ดเลือดขาว ซึ่งมีส่วนช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ให้กับร่างกาย 18. การรับประทานงาดาพร้อมกันถั่วจะทาให้ร่างกายได้รับโปรตีนอย่าง ครบถ้วน ซึ่งบางตัวเป็นกรดอะมิโนจาเป็นที่ร่างกายไม่สามารถสร้างขึ้นเอง ได้ 19. ช่วยให้นอนหลับสบาย ร่างกายกระปรี้กระเปร่า 20. ช่วยป้ องกันการเกิดโรคหวัด
  • 15. 21. ช่วยป้ องกันการเกิดโรคเหน็บชา และตะคริว 22. ช่วยบารุงกระดูกและป้ องกันการเกิดโรคกระดูกพรุน 23. ช่วยป้ องกันโรคท้องผูก 24. ช่วยบรรเทาอาการของโรคริดสีดวงทวาร 25. ช่วยต้านการอักเสบจากโรคข้อเสื่อม ยับยั้งการเสื่อมสลาย 26. น้ามันงาสามารถนามาใช้เป็นยานวดร่วมกับสมุนไพรอื่นๆ เพื่อช่วยรักษา เส้นเอ็นอักเสบ 27. น้ามันงาช่วยบรรเทาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ อาการปวดเข่า เคล็ดขัด ยอก 28. ผู้รับประทานมังสวิรัตินิยมใส่งาลงในอาหารถั่วเหลืองที่ปรุง เพื่อให้อาหารมี โปรตีนสมบูรณ์มากขึ้น 29. ประโยชน์งาดาในการนามาแปรรูปเป็นงาดาแคปซูล (ผู้รับประทานบางรายอาจมีอาการแพ้ได้ เช่น ลมพิษ ริมฝีเปลือกตาปากบวม แดง คันจมูก หายใจลาบาก ความดันโลหิตลดลงจนช็อกหมดสติ โดยอาการ เหล่านี้อาจ เกิดขั้นทันทีหลังจากรับประทาน 90 นาที)
  • 16. คุณค่าทางโภชนาการของงาดาต่อ100กรัม • คาร์โบไฮเดรต 23.45 กรัม • พลังงาน 573 กิโลแคลอรี่ 2397 กิโลจูล • เส้นใยอาหาร 11.8 กรัม • โปรตีน 17.73 กรัม • น้า 4.69 กรัม • น้าตาล 0.30 กรัม • ไขมันรวม 49.67 กรัม • กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยว 18.759 กรัม • กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน 21.773 กรัม • กรดไขมันอิ่มตัว 6.957 กรัม • กรดกลูตามิก 3.955 กรัม
  • 17. • กรดแอสพาร์ติก 1.646 กรัม • เมทไธโอนีน 0.586 กรัม • ทรีโอนีน 0.736 กรัม • ซีสทีอีน 0.358 กรัม • ซีรีน 0.967 กรัม • ฟีนิลอลานีน 0.940 กรัม • อะลานีน 0.927 กรัม • อาร์จินีน 2.630 กรัม • โปรลีน 0.810 กรัม • ไกลซีน 1.215 กรัม • ฮิสทิดีน 0.522 กรัม • ทริปโตเฟน 0.388 กรัม • ไทโรซีน 0.743 กรัม
  • 18. • วาลีน 0.990 กรัม • ไอโซลิวซีน 0.763 กรัม • ลิวซีน 1.358 กรัม • ไลซีน 0.569 กรัม • ไฟโตสเตอรอล 714 มิลลิกรัม • เบต้าแคโรทีน 5 ไมโครกรัม • วิตามินเอ 9 หน่วยสากล • วิตามินอี 0.25 มิลลิกรัม • วิตามินบี1 0.791 มิลลิกรัม • วิตามินบี2 0.247 มิลลิกรัม • วิตามินบี3 4.515 มิลลิกรัม • วิตามินบี 5 0.050 มิลลิกรัม • วิตามินบี6 0.790 มิลลิกรัม
  • 19. • วิตามินบี9 97 ไมโครกรัม • ธาตุแคลเซียม 975 มิลลิกรัม • ธาตุเหล็ก 14.55 มิลลิกรัม • ธาตุซีลีเนียม 5.7 ไมโครกรัม • ธาตุโซเดียม 11 มิลลิกรัม • ธาตุฟอสฟอรัส 629 มิลลิกรัม • ธาตุสังกะสี 7.75 มิลลิกรัม • ธาตุโพแทสเซียม 468 มิลลิกรัม • ธาตุแมกนีเซียม 351 มิลลิกรัม • ธาตุแมงกานีส 2.460 มิลลิกรัม • ธาตุทองแดง 4.082 มิลลิกรัม
  • 20. การรับประทานงาดาเพื่อให้มีประโยชน์ต่อร่างกายมากที่สุด ก็คือการ รับประทานงาดาเป็นอาหาร แทนที่จะรับประทานงาดาที่เป็นสารสกัด โดยวิธีที่ดี ที่สุดก็คือการรับประทานด้วยวิธีการเคี้ยวจะได้ประโยชน์มากที่สุด แต่หากเรา นามาโรยใส่ข้าวหรือใสเครื่องดื่มในบางครั้งเราอาจจะไม่ได้เคี้ยวด้วยซ้า จึงทาให้ ร่างกายดูดซึมได้ไม่ดีเท่าที่ควรหรือดูดซึมไม่ได้เลย ซึ่งวิธีการรับประทานก็ง่ายๆ ด้วยการนางาดามาใส่กับขนมปังโฮลวีตรับประทานทุกเช้าวันละ 10 ช้อนสาหรับ ผู้สูงอายุ แต่สาหรับคนวัยทางานก็วันละ 3-4 ช้อนก็เพียงพอแล้ว หรือจะอยู่ใน รูปของน้าเต้าหู้งาดาก็ได้เช่นกัน แต่การรับประทานที่ดีนั้นควรรับประทานอย่าง เหมาะสมพร้อมรับประทานให้ครบ 5 หมู่เพื่อให้ร่างกายได้รับประโยชน์อย่าง สูงสุดและหลากหลาย นอกจากการรับประทานแล้วสามารถนาเอาน้ามันงามา ใช้นวดทาบริเวณที่มีอาการปวดและ รักษาเส้นเอ็นที่บาดเจ็บ เพราะน้ามันงามี สรรพคุณที่ช่วยนาพาสมุนไพรชนิดอื่นๆที่ถูกนามาผสมดูดซึมเข้าไปได้ดีขึ้น
  • 21. คุณประโยชน์หลากประการของน้ามันงาดาสกัดเย็น (Benefits of Cold Pressed Black Sesame Oil) • ลดอาการของโรคไขข้อเสื่อมและอักเสบ (Anti Arthritis) • วิตามินอีสูง ช่วยในการต่อต้านอนุมูลอิสระ (High in Vitamin E) • เสริมสร้างกระดูก (Rebuild and Maintain Bone Health) • มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูง (High in Good Fat to improve to HDL Level) • บารุงและขับพิษตับและไต (Nourish and Detoxify Liver and Kidneys) • ช่วยลดความดัน(Anti Hypertensions) • ลดอาการภูมิแพ้ (Anti Allergy)
  • 22. • ป้ องกันเซลล์ลและดีเอ็นเอจาการทาลายและเสื่อมโทรม (Protect Cells and DNA from Damaging) • ต่อต้านและยับยั้งเชั้อมะเร็ง (Anti Cancer) • ล้างหลอดเลือด ลดความดันโลหิต บารุงหัวใจ (Clean Cardiovascular System to Imporve Blood Pressure and Nourish the Heart) • ช่วยป้ องกันและรักษาเบาหวาน (Prevent and Treat Diabetes Mellitus) • บารุงสมอง(Nourish and Booth Brain Functions) • เพิ่มภูมิคุ้มกันโรคไข้หวัด (Booth Immunity to Influenza) • ลดอาการปวดท้องประจาเดือน( Pre Menopausal Pain Disorder) • ลดน้าหนักด้วยการกินไขมัน(Weight Control) • เพิ่มสมรรถภาพทางเพศและบดปัญหาการมีบุตรยาก (Treat Impotent and Infertility)
  • 23. • การเพิ่มความสูงในวัยเด็ก (Increase Height in Teenagers) • เสริมแรง แก้อ่อนล้า (Treat Chronic Fatique Syndrome) • ลดอาการหมักหมมในช่องท้องและสาไส้ (Reduce Osbtruction of Toxin in Digestive Organs) • ลดอาการตะคริวกล้ามเนื้อ (Anti Muscle Spasm) • บารุงผิวพรรณและเส้นผม(Nourish Skin and Hair)
  • 24. กินน้ามันงาดา ได้วิตามินอีสูง ช่วยชะลอความแก่ ต่อต้านความเสื่อม วิตามินอี เป็นสารที่เราควรได้รับเข้า สู่ร่างกายทุกวัน เพราะวิตามินอีมีบทบาทในการ ต้านอนุมูลอิสระ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้ที่รักการ บารุงผิวพรรณ, เส้นผม อยู่เป็นประจา นอกจากนี้วิตามินอียังช่วยให้หลอดเลือดของ เรามีการยืดหยุ่นที่ดี และก็ยังดีต่อหัวใจเราอีก ด้วย
  • 25. การรับประทานวิตามินอีในรูปแบบอาหารเสริมนั้น ก็จะช่วยให้ ร่างกายของเราสามารถต่อต้านความเสื่อมและชะลอความแก่ได้ ในน้ามันงาดา นั้น มีวิตามินอีธรรมชาติในกลุ่ม โทโคฟีรอล (Tocopherol) และกลุ่มโทโคไตร อินอล (Tocotrienol) อยู่สูง สาหรับคนปกติทั่วไป แพทย์ผู้เชี่ยวชาญจะแนะนาให้ รับประทานวัน 400-600 IU แต่หากในกรณีที่ต้องใช้สาหรับรักษาผู้ป่วย แพทย์ อาจจะให้รับประทานในปริมาณที่สูงขึ้นหลายเท่า ซึ่งแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทราบดีว่า การรับประทานวิตามินอีธรรมชาติ แบบที่มีอยู่ในน้ามันงาดานั้นไม่เป็นอันตราย หรือมีผลข้างเคียงใดๆ ข้อดีของการรับประทานวิตามินอีที่มาในรูปแบบของน้ามันงาดาสกัด เย็นซึ่งเป็นในรูปแบบธรรมชาตินั้นก็คือ จะทาให้เกิดการดูดซึมได้สูง และยังไป ช่วยในการส่งเสริมให้วิตามินอีในรูปอื่นๆ ที่มีอยู่ในร่างกายทางานได้ดียิ่งขึ้นด้วย
  • 26. นอกจากสรรพคุณที่เป็นเลิศในด้านต้านอนุมูลอิสระที่เหมือนยา อายุวัฒนะในการต่อต้านความเสื่อมหรือชะลอวัยแล้วนั้น วิตามินอียังมี ประโยชน์ในการปกป้ องและขับสารพิษ, ป้ องกันและรักษาโรคเกี่ยวกับดวงตา, ช่วยบารุงสมอง, ลดไขมันคอเลสตอรอล, ช่วยย่อยและควบคุมน้าตาล, ช่วย บารุงผิวพรรณและเส้นผม, ช่วยเร่งการซ่อมแซมผิวและปกป้ องแสงแดดที่จะมา ทาลายผิว, และยังลดโอกาสเกิดการข้นของเลือด ซึ่งทาให้ลดโอกาสในการเกิด โรคหัวใจนั่นเอง
  • 27. กินน้ามันงาดาสกัดเย็น ช่วยลดอาการโรคไขข้อเสื่อมและอักเสบได้อย่างไร สภาวะการเสื่อมของไขข้อและการ อักเสบในร่างกายเรานั้นเกิดขึ้นได้จากหลาย สาเหตุ ในทางการแพทย์ เมื่อพูดถึงไขข้อเสื่อม นั้น จะหมายถึง กระดูกอ่อนและน้าหล่อเลี้ยง ระหว่างข้อต่างๆ ในร่างกายเรา ซึ่งแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญได้กล่าวถึง 4 กรณีหลักที่ก่อให้เกิด การเสื่อมของไขข้อและการอักเสบในร่างกายไว้ ดังนี้
  • 28. กรณีแรกก็คือการที่มวลของกระดูกอ่อนลดลง ซึ่งจะส่งผลให้กระดูกแข็ง 2 ข้อของเรากระทบกัน หรือทาให้มากดทับกัน ทาให้เราเกิดความเจ็บปวดขึ้น กรณีที่ 2 ก็คือเกิดจากการที่น้าหล่อเลี้ยงในข้อลดลง ซึ่งสภาวะนี้จะ เกิดขึ้นหลังจากที่มวลกระดูกอ่อนลดลงก่อน น้าหล่อเลี้ยงที่มีลักษณะใสและหนืดนี้ จะมีหน้าที่ป้ องกันการเสียดสีระหว่างกระดูกแข็งและกระดูกอ่อน เพื่อป้ องกันไม่ให้ กระดูกอ่อนถูกทาลาย และก็ยังมีหน้าที่ลดแรงกระแทก เมื่อมีการลงน้าหนักบนข้อ ต่างๆในร่างกายเรา กรณีที่ 3 ที่เป็นสาเหตุให้เกิดการอักเสบและไขข้อเสื่อม ก็คือการที่น้า หล่อเลี้ยงรั่ว ซึ่งกรณีนี้มักเกิดจากการที่เราประสบอุบัติเหตุ ที่ทาให้กระดูกอ่อนเกิด รอยแตก หรือถุงหุ้มน้าหล่อเลี้ยงแตก หากกรณีนี้เกิดขึ้นกับเรา แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ แนะนาว่า ควรจะปรึกษาแพทย์เพื่อทาการรักษาให้ถูกต้อง มิเช่นนั้นจะกลายเป็น ความเจ็บป่วยที่เรื้อรัง
  • 29. สาหรับกรณีสุดท้ายที่ทาให้ เกิดสภาวะการเสื่อมของไขข้อ และการ อักเสบได้ก็คือเกิดการกัดกินของกรด ซึ่ง มักจะเกิดจากการที่ร่างกายเรานั้นขาด ความสมดุลของสารอาหารหรือสารเคมี ที่มีสาเหตุหลักๆอยู่ 3 ประการก็คือ เรื่อง ของการบริโภค, เรื่องพฤติกรรมในการใช้ ชีวิตประจาวัน เช่นสูบบุหรี่และดื่มเหล้า และเรื่องของระบบการทางานของ อวัยวะภายในผิดปกติ สาเหตุเหล่านี้ ก่อให้เกิดสภาวะโรคไขข้อเสื่อม และการ อักเสบขึ้น ซึ่งโรคที่เราพบเห็นได้บ่อยๆก็ คือ โรคไขข้ออักเสบหรือที่รู้จักกันในชื่อ สั้นๆว่า โรคเกาต์ (Arthritis) นั่นเอง
  • 30. แน่นอนว่า การเสื่อมของไขข้อก็ย่อมทาให้เกิดการอักเสบขึ้น ซึ่งย่อม ทาให้เกิดความเจ็บปวดตามมา แต่ในบางกรณีการอักเสบก็เป็นปัจจัยที่ทาให้เกิด ความเสื่อมของไขข้อได้เช่นกัน แต่ทว่า การอักเสบที่เกิดขึ้นนั้น เป็นการอักเสบที่ยัง ไม่แสดงอาการให้เห็น ดังนั้น จึงเป็นสิ่งที่พบได้ว่า อาการอักเสบนี้ถูกละเลย จน เกิดกลายเป็นต้นเหตุแห่งความเสื่อมของไขข้อขึ้น ปัจจุบันนี้มีผลงานวิจัยทั่วโลกมากมายที่ทาการค้นคว้าเรื่องเกี่ยวกับ น้ามันงาดา ซึ่งได้มีการกล่าวถึง และยกย่องน้ามันงาดาว่า เป็นหนึ่งในสารอาหาร เสริมที่มีสรรพคุณดีในด้านเกี่ยวกับโรคกระดูก ซึ่งก็คือมีสารต้านโรคกระดูกอักเสบ (Anti-osteoarthritis) และสารต้านโรคกระดูกเสื่อม (Anti-osteoporosis)
  • 31. แพทย์แผนจีนและนักธรรมชาติบาบัดนิยมใช้งาดาในการช่วยลด อาการอักเสบที่เกิดขึ้น เพราะงาดานั้น มีสรรพคุณในการช่วยเข้าไปเพิ่มมวล กระดูกอ่อนและน้าหล่อเลี้ยงระหว่างข้อต่อในร่างกาย นอกจากนี้น้ามันงาดาซึ่ง ทราบกันอยู่แล้วว่าเป็นไขมันชนิดดี ที่ร่างกายสามารถนาไปสร้างคอเลสตอรอล แบบดีได้ ซึ่งคอเลสตอรอลแบบดีนี้ก็จะถูกปรับแปลงสภาพไป เพื่อใช้สาหรับการ สร้างกระดูกอ่อน และสร้างน้าหล่อเลี้ยงให้เกิดขึ้นใหม่ต่อร่างกายเรา การบริโภคน้ามันงาดาและสารที่จาเป็นอื่นๆนั้นดีและมีประโยชน์ต่อ ร่างกายเรา สิ่งดีๆ เหล่านี้ที่ได้เรา บริโภคไป จะช่วยเสริมให้ร่างกายไม่ต้องตกอยู่ในสภาวะของโรคไขข้อ เสื่อมและอักเสบได้ ในทางกลับกัน สาหรับผู้ที่อยู่ในสภาวะโรคไขข้อเสื่อมและ อักเสบแล้วนั้น การบริโภคน้ามันงาดาในปริมาณที่เหมาะสม พร้อมกับการที่ได้รับ สารอาหารที่จาเป็นต่อร่างกาย อย่างเพียงพอในชีวิตประจาวัน สิ่งเหล่านี้จะช่วย ลดอาการโรคไขข้อเสื่อมและอักเสบได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งทาให้ลดความ เจ็บปวดได้ดีขึ้นด้วย
  • 32. สารพิษจากเชื้อราในงาดา งา เป็นพืชล้มลุก มีการปลูกมากในประเทศจีน อินเดีย ไปจนถึง เม็กซิโก และสหรัฐอเมริกา ในเมล็ดงาที่เราเห็นเม็ดเล็กๆนั้น มีประโยชน์มากมายมหาศาล มีทั้ง กรดไขมันที่จาเป็นต่อร่างกาย คือ กรดไขมันโอเมก้า 6, โอเมก้า 3 และยังอุดมไป ด้วยวิตามินอี, วิตามินบี 1, บี 2, บี 5, บี 6, บี 9 รวมทั้งแคลเซียม ฟอสฟอรัส แมงกานีส การได้รับประโยชน์จากเมล็ดงาที่ดีที่สุด คือ การทานอาหารที่มีงาเป็น ส่วนประกอบ หรืออาจดื่มเป็นน้าเต้าหู้งาดาก็ได้ประโยชน์ไม่แพ้กัน เห็นประโยชน์ของงาดาอย่างนี้แล้ว ท่านที่ชื่นชอบอาจต้องระวัง อันตรายที่อาจแฝงอยู่ในเมล็ดงาไว้บ้าง โดยเฉพาะอะฟลาท็อกซิน ซึ่งเป็นสารพิษ ที่ผลิตโดยเชื้อรา
  • 33. ตามธรรมชาติมีอะฟลาท็อกซินทั้งหมด 4 ชนิด ได้แก่ อะฟลาท็อกซิน ชนิด บี 1, บี 2, จี 1 และ จี 2 องค์การอนามัยโลก จัดให้อะฟลาท็อกซินชนิด บี 1 เป็นสารก่อมะเร็ง ร้ายแรงมากที่สุดชนิดหนึ่ง อีกทั้งอะฟลาท็อกซินทนทานต่อความร้อน ฉะนั้น ความร้อนที่ใช้ปรุงอาหารประจาวัน เช่น หุง ต้ม นึ่ง ทอด ย่าง จึงไม่สามารถ ทาลายพิษของอะฟลาท็อกซินให้หมดไปได้ สถาบันอาหารเอาใจคนรักสุขภาพโดยสุ่มตัวอย่างงาดาที่บรรจุถุงขาย ตามท้องตลาดในเขตกรุงเทพฯ จานวน 4 ตัวอย่าง เพื่อวิเคราะห์การปนเปื้อน ของอะฟลาท็อกซิน บี 1, บี 2, จี 1, จี 2 และปริมาณอะฟลาท็อกซินรวม
  • 34. ผลปรากฏว่าไม่พบการปนเปื้อนในทุกตัวอย่าง โชคดีของคนไทยที่เกษตรกรและผู้ประกอบการให้ความใส่ใจใน การเพาะปลูก เก็บเกี่ยว และคัดสรรวัตถุดิบที่มีคุณภาพและปลอดภัย มาสู่ ผู้บริโภคอย่างเราๆ แต่ก็อย่าประมาท ก่อนซื้องาดาบรรจุถุง ต้องสังเกตภายในถุงว่าไม่ มีสิ่งแปลกปลอมปะปน ถุงที่บรรจุต้องปิดสนิท ไม่มีรูรั่วให้ความชื้นและอากาศ เข้าไปในถุงได้ เพราะหากมีความชื้น สิ่งที่จะตามมาคือ เชื้อราสารพัดชนิด พร้อมกับสารพิษอันตราย.
  • 35.
  • 36. การปลูกงาดา งาเป็นพืชไร่น้ามันเสริมรายได้ให้เกษตรกรเนื่องจากลงทุนต่า ใช้เวลา ปลูกสั้น และทนแล้งได้ดี มีตลาดกว้างขวาง และราคาดี เกษตรกรนิยมปลูกงา ก่อนหรือหลังพืชหลัก งาจึงเป็นพืชที่นิยมในระบบการปลูกพืช งาถูกใช้เป็นอาหาร เพื่อสุขภาพเนื่องจากเมล็ดงามีคุณค่าทางโภชนาการสูง มีกรดไขมันไม่อิ่มตัว 85 เปอร์เซ็นต์ มีโปรตีน 17-18 เปอร์เซ็นต์ มีสารต้านทานอนุมูลอิสระในปริมาณที่สูง ไม่หืนง่าย งาเป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมต่างๆ ทั้งอาหาร ยารักษาโรค และ เครื่องสาอาง
  • 37. ปัญหาของพืช ข้อจากัด และ โอกาส : • พื้นที่ปลูกงาแปรปรวนเนื่องจากถูกจากัดด้วยการตกของฝนว่าจะมาช้า หรือ เร็ว ทาให้ไม่สามารถคาดการณ์ปริมาณผลผลิตได้ • ในบางพื้นที่เกษตรกรปฏิบัติไม่ถูกต้องในขั้นตอนของการเก็บเกี่ยวด้วยการบ่ม งาที่ความชื้นสูง ทาให้เมล็ดงาที่ได้มีคุณภาพต่า • มีการระบาดของโรคพืชจากเชื้อราและแบคทีเรีย ทาให้ไม่สามารถปลูกงา ติดต่อกันในพื้นที่เดิมได้ ไม่มีเครื่องจักรกลในการเก็บเกี่ยว ต้องใช้แรงงานมาก • งาเป็นพืชเสริมรายได้ของเกษตรกร
  • 38. การปลูกงา : งาเป็นพืชน้ามันที่สาคัญทางเศรษฐกิจพืชหนึ่งของประเทศ และมี แนวโน้มที่จะทวีความสาคัญขึ้นทุกปี เนื่องจากเป็นพืชที่มีศักยภาพในการผลิตและ การตลาดสูง สามารถปลูกขึ้นง่าย ลงทุนน้อย ทนต่อสภาพความแห้งแล้งได้ดี เกษตรกรนิยมปลูกงาก่อนและหลังการทานา หรือหลังจากการเก็บเกี่ยวพืชหลัก การปลูกงามีทั้งในสภาพไร่และสภาพนา ขึ้นอยู่กับสภาพพื้นที่ของแต่ละท้องถิ่น เมล็ดงาและน้ามันงามีคุณค่าทางด้านโภชนาการสูง เมล็ดงาประกอบด้วยน้ามัน โปรตีน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน และแร่ธาตุต่าง ๆ ที่จาเป็นหลายชนิดในเมล็ดงาจะมี น้ามันงาประมาณร้อยละ 47-60 มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูง จึงเหมาะที่จะนามาใช้ บริโภคเพราะช่วยกันรักษาระดับโคเลสเตอรอล ในร่างกาย ป้ องกันไม่ให้เกิดหลอด เลือดแข็งตัวหรือเส้นเลือดอุดตัน ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของโรคหัวใจขาดเลือด การผลิตงาของประเทศไทยพบว่ามีพื้นที่ปลูกงาประมาณ 381,000 ไร่ ผลผลิตรวม 35,000 ตัน โดยผลผลิตส่วนใหญ่ร้อยละ 55 ส่งออกไปต่างประเทศ มูลค่าประมาณ 400 ล้านบาทส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 45 ใช้ภายในประเทศ การผลิต งาของประเทศไทย ยังไม่เพียงพอกับความต้องการของตลาดทั้งภายในและ ต่างประเทศ ซึ่งมีความต้องการเพิ่มมากขึ้นทุกปี
  • 39. 1. สภาพภูมิศาสตร์ งาเป็นพืชเขตร้อนชอบอากาศร้อนและแดดจัด อุณหภูมิที่ เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต ประมาณ 27-30 องศาเซลเซียส ไม่ชอบ อากาศหนาวเย็น ถ้าอุณหภูมิต่ากว่า 20 องศาเซลเซียส การงอกจะช้าลง หรือ อาจจะชะงักการเจริญเติบโต แต่ถ้าอุณหภูมิสูงกว่า 40 องศา เซลเซียสจะทาให้การผสมเกสรติดยากการสร้างฝักเป็นไปได้ช้า 2. ดิน งาสามารถขึ้นได้ดีในดินแทบทุกชนิด แต่จะขึ้นได้ดีที่สุดในดิน ร่วนทรายที่มีความอุดมสมบูรณ์พอสมควร มีการระบายน้าดีและมีความ เป็นกรดเป็นด่าง ระหว่าง 6.0-6.5 ไม่ทนต่อสภาพน้าขัง ถ้าปลูกในดิน เค็มรากของงาจะชะงักการเจริญเติบโต ทาให้ผลผลิตของงาลดลง สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการปลูกงา
  • 40. 3. น้า งาเป็นพืชที่ค่อนข้างทนแล้งได้ดี ปลูกได้ในเขตที่มีปริมาณน้าฝนตั้งแต่ 300 ถึง 1,000 มิลลิเมตร หรือปริมาณน้าฝนปานกลางถึงฝนตกชุก แต่ไม่เปียก แฉะหรือน้าท่วมขังในฤดูปลูก งาสามารถเจริญเติบโตอยู่ได้ถ้าฝนแล้งในช่วงสั้น ๆ อัตราการใช้น้าของงาหลังจากการงอกจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนถึงช่วงระยะออกดอก เป็นช่วงที่งาใช้น้ามากที่สุด ดังนั้น การขาดน้าในระยะนี้จะมีผลกระทบต่อผลผลิต ของงาเป็นอย่างมาก หลังจากระยะออกดอกจนถึงเก็บเกี่ยวแล้ว อัตราการให้น้า จะลดลง โดยปกติในฤดูฝนจะมีความชื้นเพียงพอสาหรับการเจริญเติบโตของงา ตลอดฤดูกาลปลูก แต่ถ้าปลูกในฤดูแล้งถึงแม้ว่าจะชอบอากาศร้อนและทนต่อ สภาพแห้งแล้งได้ดีพอสมควร หากจะให้ได้ผลผลิตสูงจะต้องอาศัยน้าชลประทาน เข้าช่วย เพราะการให้น้าที่พอเหมาะไม่มากหรือน้อยจนเกินไปจะมีผลต่อการ เจริญเติบโตของงา
  • 41. พันธุ์งาและแหล่งปลูก งาที่ปลูกในประเทศไทยแบ่งตามสีของเมล็ดได้ 3 ชนิด ดังนี้ 1. งาดา :ที่ใช้ปลูกกันทั่วไปมี 4 พันธุ์ ได้แก่ 1.1 งาดาบุรีรัมย์ เป็นพันธุ์พื้นเมืองมีลักษณะฝัก 4 กลีบ 8 พู เมล็ดมีขนาด ใหญ่ สีค่อนข้างดาสนิท อายุเก็บเกี่ยว 90-100 วัน ผลผลิต 60-130 กิโลกรัมต่อไร่
  • 42. 1.2 งาดานครสวรรค์ เป็นพันธุ์พื้นเมืองที่ปัจจุบันเป็นพันธุ์ส่งเสริม มีการแนะนาให้ปลูก ในพื้นที่หลายจังหวัดมี ลักษณะการเจริญเติบโตแบบทอดยอด เมล็ดมีสีดา ขนาดใหญ่และเต่ง ลักษณะฝักเป็นแบบ 4 กลีบ 8 พู ฝักแตกง่ายเมื่อสุกแก่ ลาต้นค่อนข้างสูง แตกกิ่งก้านมาก ใบมีขนาดใหญ่ค่อนข้างกลม มี 1 ฝักต่อ 1 มุมใบ การเกิดฝักจะเวียนสลับ รอบลาต้น 1 ข้อ มี 1 ฝัก อายุเก็บเกี่ยว 95- 100 วัน ผลผลิต 60-130 กิโลกรัมต่อไร่ นิยมปลูกมากในท้องที่จังหวัดบุรีรัมย์ ศรีสะเกษ สุรินทร์ นครราชสีมา มหาสารคาม ชัยภูมิ สระบุรี ลพบุรี เพชรบูรณ์ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ นครสวรรค์ สุพรรณบุรี กาญจนบุรี ปราจีนบุรี และสุ ราษฎร์ธานี
  • 43. 1.3 งาดา มก.18 เป็นพันธุ์แท้ที่มีการปรับปรุงพันธุ์โดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งได้ คัดเลือกพันธุ์โดยวิธีจดประวัติจากคู่ผสมระหว่าง col.34 กับงาดานครสวรรค์ในระหว่างปี 2528-2530 มีการทดสอบผลผลิตในสถานีทดลองและในสภาพไร่เกษตรกรในปี 2534 งาดาพันธุ์ มก.18 มี ลักษณะการเจริญเติบโตแบบทอดยอด ใบสีเขียวเข้ม ลา ต้นไม่แตกกิ่งก้านและค่อนข้างสูง เมล็ดมีสีดาสนิท ลักษณะฝัก 2 พู ฝักเกิดตรงกันข้าม ดังนั้น 1 ข้อจะมี 2 ฝัก การเรียงตัวของฝักจะเป็นแบบเวียนสลับรอบลาต้น ความยาว ปล้องสั้นทาให้จานวนของฝักต่อต้นสูง น้าหนักเมล็ด 3 กรัม ต่อ 1,000 เมล็ด อายุเก็บ เกี่ยวปลายฤดูฝน 85 วัน ต้นฤดูฝน 90 วัน ผลผลิต 60-148 กิโลกรัมต่อไร่ ทนทานต่อโรค ราแป้ ง และทนต่อการหักล้ม ในปีการเพาะปลูก 2538/39 กรมส่งเสริมการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บริษัทคาเนมัสซุ บริษัทนานาพรรณเอ็นเตอร์ไพรร์จากัด และ สมาคมพ่อค้าข้าวโพด และพืชพันธุ์ไทย ส่งเสริมการปลูกงาดา มก.18 ในพื้นที่จังหวัด นครราชสีมาและกาญจนบุรี เพื่อส่งออกไปยังประเทศญี่ปุ่น ซึ่งมีความต้องการงาพันธุ์ มก.18 สูงถึงปีละ 10,000 - 30,000 ตัน
  • 44. 1.4 งาดา มข.2 เป็นพันธุ์ที่มหาวิทยาลัยขอนแก่นปรับปรุงและคัดเลือกพันธุ์มาจากงา ดาพันธุ์ ซีบี 80 ของจีน ลักษณะฝักเป็นแบบ 4 พู เมล็ดสีดาสนิท ไม่ไวต่อช่วงแสง แตกกิ่ง 3-4 กิ่งต่อต้น ต้นสูง 105-115 เซนติเมตร น้าหนักเมล็ด 2.77 กรัมต่อ 1,000 เมล็ด ปลูกได้ดีทั้งต้นฝนและปลายฤดูฝน มีอายุเก็บเกี่ยวสั้น 70-75 วัน ผลผลิต 80-150 กิโลกรัมต่อไร่ ต้านทานต่อโรคเน่าดาและทนแล้งได้ดี เขตส่งเสริม การปลูก ได้แก่ จังหวัดบุรีรัมย์ และมหาสารคาม
  • 45. ฤดูปลูกงา 1. ต้นฤดูฝน เริ่มปลูกตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์-เมษายน และเก็บเกี่ยวได้ตั้งแต่ปลาย เดือนเมษายน-มิถุนายน ส่วนใหญ่จะปลูกในพื้นที่นาก่อนการปลูกข้าว มีพื้นที่ปลูก ประมาณร้อยละ 70 ของพื้นที่ปลูกงาทั้งประเทศ แหล่งปลูกงาต้นฤดูฝนได้แก่ จังหวัด อุบลราชธานี ศรีสะเกษ บุรีรัมย์ สุรินทร์ นครราชสีมา สระบุรี ลพบุรี นครสวรรค์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ลาพูน น่าน และสุราษฎร์ธานี 2. ปลายฤดูฝน เริ่มปลูกตั้งแต่เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม และเก็บเกี่ยวได้ตั้งแต่ปลาย เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ส่วนใหญ่จะปลูกในสภาพพื้นที่ไร่หรือที่ดอน ปลูกหลัง การเก็บเกี่ยวพืชไร่ มีพื้นที่ปลูกประมาณร้อยละ 30 ของพื้นที่ปลูกงาทั้งประเทศ แหล่งปลูกงาปลายฤดูฝนที่สาคัญ ได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรี พิษณุโลก สพรรณบุรี เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ และเลย
  • 46. การเลือกพื้นที่ปลูกงา 1. เป็นดินร่วนปนทราย มีการระบายน้าดี และมีความอุดมสมบูรณ์พอสมควร 2. เป็นพื้นที่ดอนหรือสูง สามารถระบายน้าได้สะดวกไม่มีน้าขังแฉะ 3. ความเป็นกรด-ด่างของดิน ควรอยู่ระหว่าง 5.5-6.5 ไม่เป็นดินเปรี้ยวหรือดินเค็ม 4. ไม่เป็นพื้นที่ที่มีการปลูกงาติดต่อกันมาเป็นเวลานานหลายๆ ปี เพราะจะทาให้ งาเกิดโรคระบาดได้ง่าย
  • 47. การเตรียมดินปลูกงา การเตรียมดินเป็นปัจจัยที่สาคัญในการปลูกงาเนื่องจากเมล็ดงา มีขนาดเล็ก ควรมีการเตรียมดินให้ร่วนซุย จะช่วยให้งางอกได้ดีและมีความ สม่าเสมอ การไถพรวนจะมากหรือน้อยครั้งขึ้นอยู่กับโครงสร้างและชนิดของ เนื้อดินถ้าเป็นดินร่วนทรายจะไถ 1-2 ครั้ง ส่วนดินเหนียวจะต้องไถมากครั้ง กว่าดินร่วนโดยไถ 1-2 ครั้ง ส่วนดินเหนียวจะต้องไถมากครั้งกว่าดินร่วนโดย ไถ 2-3 ครั้ง เพื่อย่อยดินให้ละเอียดจะให้ผลผลิตสูงกว่าไถเพียงครั้งเดียว
  • 48. วิธีการปลูกงา 1. การปลูกแบบหว่าน เกษตรกรส่วนใหญ่นิยมปลูกงาด้วยวิธีนี้โดยหลังจากเตรียมดินดีแล้ว จะ ใช้เมล็ดงาหว่านให้กระจายสม่าเสมอ ในแปลงปลูก แล้วคราดกลบทันทีเพราะถ้ารอ จนหน้าดินแห้ง หรือเมล็ดถูกแดดเผานานๆ เมล็ดงาจะตกมัน ทาให้ไม่งอกหรืองอก ไม่สม่าเสมอ สาหรับเมล็ดพันธุ์ที่หว่านจะใช้ประมาณ 1-2 กิโลกรัมต่อไร่ ขึ้นอยู่กับ สภาพการเตรียมดินและความเคยชินของเกษตรกร ในการหว่านอาจใช้ทราย ละเอียด ขี้เถ้า แกลบ หรือมูลสัตว์ ผสมในอัตร 1:1 เพื่อช่วยให้เมล็ดงากระจาย สม่าเสมอมากขึ้น ปัจจุบันมีการนาเครื่องปลูกงาแบบหว่านมาใช้ในเขตจังหวัด ลพบุรี เป็นเครื่องปลูกที่ใช้ติดท้ายรถแทรกเตอร์ ตัวเครื่องประกอบด้วยผาน 4 ผาน ถ้าบรรจุเมล็ดพันธุ์และมีช่องปล่อยเมล็ดพันธุ์ให้งาออกตามอัตราที่กาหนดไว้ เมื่อ เมล็ดงาตกลงพื้นดินผานทั้ง 4 ผานจะไถดินตาม ทาให้เมล็ดถูกกระจายออกและถูก ดินกลบ ต้นงาที่งอกขึ้นมาจะกระจายตัวคล้าย ๆ กับการหว่าน เครื่องปลูกงา เมื่อ พ่วงกับรถไถเดินตามขนาดเล็ก จะใช้เวลาปลูกประมาณ 20 นาทีต่อไร่ หากพ่วงกับ รถไถขนาดใหญ่จะใช้เวลาเพียง 10 นาที ต่อไร่
  • 49. 2. การปลูกแบบโรยเป็นแถว ในการทาร่องสาหรับโรยเมล็ด ส่วนใหญ่ใช้คราดกาแถว จะช่วยให้ทา แถวปลูกได้เร็วขึ้น ระยะแถวปลูก 50x10 เซนติเมตร หรือใช้เครื่องปลูกชนิด 4 แถว ระยะปลูก 30x10 เซนติเมตร หรือในแถวยาว 1 เมตร ให้มีต้นงา 10-20 ต้น หลังจากปลูกแล้ว 15-20 วัน ให้ทาการถอนแยกให้ได้ระยะต้นตามความต้องการ อัตราเมล็ดพันธุ์ที่ใช้ประมาณ 2-3 กิโลกรัมต่อไร่ การปลูกด้วยวิธีนี้จะใช้เมล็ด พันธุ์มากกว่าวิธีหว่าน เสียเวลาและแรงงานมากต้องกาจัดวิชพืชระหว่างแถว ปลูก แต่จะสะดวกในการพ่นสารเคมีป้ องกันกาจัดศัตรูพืช การปลูกแบบเป็นแถว นี้จะให้ผลผลิตสูงกว่าการปลูกด้วยวิธีหว่าน
  • 50. การดูแลรักษางา งาเป็นพืชที่ต้องการการดูแลรักษาน้อยกว่าพืชชนิดอื่นเพียงแต่เตรียม ดินให้ถูกวิธีและเหมาะสม และปลูกงาให้งอกอย่างสม่าเสมอ ก็สามารถจะให้ ผลผลิตพอสมควรแล้วส่วนใหญ่เกษตรกรที่ปลูกงาเมื่อหว่านเมล็ดงาแล้วก็ปล่อย ทิ้งจนถึงเก็บเกี่ยว อย่างไรก็ตาม หากได้มีการปฏิบัติดูแลรักษาบ้างก็จะช่วยให้ ผลผลิตสูงขึ้น ทั้งนี้ควรจะเริ่มจากการปลูกงาเป็นแปลงใหญ่ ๆ ขนาด 3-5 เมตร ให้ มีร่องระหว่างแปลงเพื่อจะได้ตรวจแปลงได้สะดวกเมื่อมีโรคและแมลงระบาด สามารถที่จะป้ องกันกาจัดได้ง่ายและรวดเร็ว
  • 51. 1. การสกัดน้ามันงา การสกัดน้ามันงาโดยใช้แรงงานสัตว์ เป็นอีกวิธีการหนึ่งซึ่งชาวไทย ใหญ่ในจังหวัดแม่ฮ่องสอนยังใช้อยู่จนถึงปัจจุบันนี้วิธีการนี้ทาได้โดยนาเมล็ด งาที่ตากแดด 5 –6 วันให้ร้อน นาไปใส่ในครกไม้ซึ่งมีความจุประมาณ 22 –25 ลิตร (ประมาณ 15 กิโลกรัม) แล้วใช้แรงงานจากวัวหรือควายลากสากให้หมุน เป็นวงกลมไปรอบ ๆ ครก สากไม้จะบีบให้เมล็ดงาเบียดกับครกจนป่นและมี น้ามันซึมออกมา พอเริ่มถึงชั่วโมงที่สองเติมน้าร้อนลงไปครั้งละประมาณ 150 มิลลิลิตร จานวน 7 ครั้ง ห่างกันครั้งละ 10 นาที (ใช้น้า 3 กระป๋ อง/งา 1 ครก) ในชั่งโมงที่ 3 จะสังเกตเห็นน้ามันลอยแยกขึ้นมาข้างบน เปิดช่องซึ่งอยู่ส่วนบน ของครกให้น้ามันไหลออกสู่ภาชนะรองรับ ในการสกัดน้ามันแต่ละครั้งจะได้ น้ามัน 7 –8 ขวด (ขนาด 750 ซีซี.) และใช้เวลาประมาณ 3 ชั่วโมง การแปรรูปงา
  • 52. ปัจจุบันได้มีการปรับปรุงพัฒนานาเครื่องจักรและมอเตอร์ไฟฟ้ ามาใช้ โดย เป็นระบบไฮโดรลิคและเกลียวอัด ซึ่งสามารถทางานได้ต่อเนื่องตลอดเวลา น้ามันงาที่ได้ จะเป็นน้ามันงาบริสุทธิ์ (virgin oil) โดยอาจเป็นน้ามันงาดิบ ซึ่งได้จากงาที่ไม่ผ่านการคั่ว เป็นน้ามันที่เหมาะที่จะใช้สาหรับทาภายนอกแก้อาการปวดเมื่อย หรือเป็นน้ามันงาที่ได้ จากเมล็ดงาที่ผ่านการคั่วให้มีกลิ่นหอม ซึ่งน้ามันที่ได้จะมีสีคล้า เหมาะสาหรับใช้ปรุง แตงรสอาหาร ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพของเครื่องบีบน้ามัน ถ้าจะทาให้น้ามันออกหมดต้อง ใช้สารละลายนอร์มอล เฮกเซน ละลาย น้ามันที่เหลือให้มารวมตัวกับสารละลาย แล้วจึง กลั่นไล่สารละลายเฮกเซนออกให้หมด ซึ่งเป็นขั้นตอนที่ค่อนข้างยุ่งยากและอันตราย เนื่องจากสารละลายเฮกเซนเป็นสารไวไฟ จึงต้องใช้ความระมัดระวังในการปฏิบัติงาน แต่กากงาที่ได้จากวิธีนี้มีน้ามันหลงเหลืออยู่น้อยกว่า 0.5% น้ามันที่ได้มาจากกรรมวิธีการสกัดต่าง ๆ นี้ยังมีสิ่งเจือปน จาเป็นต้องทาให้ บริสุทธิ์ปราศจากสิ่งเจือปน สารยางเหนียว กรดไขมันอิสระ สีและกลิ่น โดยผ่านกรรมวิธี การกาจัดในขั้นตอนการตกตะกอน การกาจัดกรด การล้างน้ามัน การฟอกสีและการ กาจัดกลิ่น
  • 53. 2. การทาแป้ งงา หลังจากสกัดน้ามันออกหมดด้วยสารละลายเฮกเซน ซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้าย ของการสกัดน้ามัน แล้วอบไล่สารละลายเฮกเซน โดยใช้อุณหภูมิ 80 C ภายใต้ความดัน ประมาณ 15 มม. ปรอทนาน 30 นาที จะได้กากงาที่มีคุณภาพสูง (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถ้าเป็นกากที่ได้จากเมล็ดงาที่ลอกเปลือกออกแล้ว จะได้กากงาที่ไม่มีรสขม) เมื่อนากากงาที่ได้ไปบดเป็นแป้ ง และนาไปผสมกับแป้ งถั่วเหลืองที่ได้จาก กรรมวิธีเดียวกัน ในสัดส่วนที่พอเหมาะแล้วนาเข้าเครื่อง Extruder จะได้ผลิตภัณฑ์ โปรตีนจากพืชที่มีคุณภาพดีเท่าเทียมกับโปรตีนจากเนื้อสัตว์ เพราะงามีปริมาณกรดอะ มิโนไลซีนต่า ประมาณ 0.19 กรัม/ปริมาณโปรตีน 1 กรัม ขณะที่ถั่วเหลืองมีถึง 0.42 กรัม แต่มีเมทไธโอนีนสูง 0.14 กรัม/โปรตีน 1 กรัม ขณะที่ ถั่วเหลืองมีกรดอะมิโน ดังกล่าว 0.04 กรัม/โปรตีน 1 กรัม ผลิตภัณฑ์อาหารต่าง ๆ ได้อีกมาก หรือนาไปใช้เป็นส่วนผสมเพิ่มโปรตีนใน ขนมปัง ขนมอบกรอบ อาหารโปรตีนจากพืชเป็นอาหารที่ร่างกายย่อยได้ง่าย เหมาะที่ จะใช้เป็นอาหารบารุงสาหรับคนไข้
  • 54. 3. การทางาขัด งาขัด หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่างาล้าง คือ เมล็ดงาที่แยกเปลือกออกทาให้ได้ เมล็ดงาสีขาวน่ารับประทาน และไม่มีรสขม เนื่องจากเปลือกงาซึ่งมีแคลเซี่ยมออกซา เลท และเยื่อใยอยู่สูงถูกกาจัดออกไป งาขัด นิยมใช้โรยหน้า หรือปรุงแต่งขนมต่าง ๆ หลายชนิด นอกจากนี้การส่งออกเมล็ดงาไปยังต่างประเทศก็มักส่งออกในรูปงาขัด เนื่องจากตลาดต่างประเทศมีความต้องการใช้งาขาว แต่ประเทศไทยผลิตได้น้อย พ่อค้า ส่งออกจึงนางาเมล็ดสีดา หรือสีน้าตาลมาลอกเปลือกออกให้เป็นสีขาว
  • 55. 4. การทางาคั่ว นาเมล็ดงามาทาความสะอาดเอาเศษ หิน ดิน หรือวัสดุต่าง ๆ ที่เจือ ปนออก หลังจากนั้นนาไปล้างในน้าสะอาด 2 –3 ครั้ง โดยอาจล้างบนตะแกรง ร่อนแป้ งซึ่งมีรูตาข่ายเล็กละเอียด หรือในถุงผ้าตาข่ายละเอียดเพื่อให้เศษฝุ่นผง ดินต่าง ๆ เล็ดลอดออกไป เหลือเฉพาะเมล็ดงาที่สะอาดปราศจากสิ่งเจือปน จากนั้นนาไปผึ่งแดดให้แห้งพอหมาด แล้วนาไปคั่วโดยใช้ไฟปานกลางและคน ตลอดเวลา การคั่วแต่ละครั้งควรใช้งาครั้งละไม่มาก เช่น งา 1 กิโลกรัม ควรแบ่ง คั่วประมาณ 3 ครั้ง คั่วจนเมล็ดงาเริ่มแตกและมีกลิ่นหมอแสดงว่าสุกได้ที่ เติม น้าเกลือโดยพรมให้ทั่ว คนต่อเล็กน้อยแล้วยกลงจากเตาไฟ ท้งไว้จนมีอุณหภูมิ ปกติจึงบรรจุในภาชนะที่ปิดฝาสนิท การทางาบดควรแบ่งบดครั้งละไม่มาก เพื่อให้ได้งาบดที่มีรสชาติหอมอร่อยน่ารับประทาน
  • 56.
  • 57. ไข่ตุ๋นงาดา ส่วนผสม 1. ไข่ไก่ 1 ฟอง 2. น้าซุปไก่ 1/2 ถ้วยตวง 3. เนื้อไก่บด 2 ช้อนโต๊ะ 4. งาดาคั่ว โขลกละเอียด 1 1/2 ช้อนชา 5. งาดาคั่ว โขลกละเอียด สาหรับโรยหน้า 1/4 ช้อนชา 6. เกลือป่นหยาบ 1/8 ช้อนชา 7. พริกไทยป่นเล็กน้อย 8. ต้นหอมและผักชีซอย
  • 58. วิธีทา 1. ผสมเนื้อไก่บด งาดาคั่ว เกลือป่น และพริกไทยป่น นวดให้เข้ากัน แล้ว ปั้นเป็น ก้อนกลม พักไว้ 2. ตีไข่ไก่พอแตก เติมน้าซุปไก่ลงไปคนผสมให้เข้ากันตักถ้วยสาหรับตุ๋น 3. ใส่ส่วนผสมไก่สับงาดา (ข้อที่ 1) ลงไปในถ้วยส่วนผสมไข่ 4. นาลังถึงหรือชุดนึ่งขึ้นตั้งไฟ ใช้ไฟอ่อนพอร้อน นาถ้วยส่วนผสมไข่วาง ลงไปนึ่งพอสุก ยกออกจากเตา โรยด้วยต้นหอม ผักชี และงาดาคั่ว พร้อมเสิร์ฟ
  • 59. สูตรอาหารไก่ชุบงาทอด – ไก่ทอดงา ส่วนผสม 1. เนื้อไก่ติดสะโพก 200 กรัม 2. ซอสปรุงรส 1/2 ช้อนโต๊ะ 3. เกลือ 1/2 ช้อนชา 4. พริกไทย 1 ช้อนชา 5. ไข่ขาว 1 ฟอง 6. งาขาว 1/2 ถ้วย 7. งาดา 1/2 ถ้วย 8. น้ามัน
  • 60. วิธีทาไก่ชุบงาทอด - ไก่ทอดงา 1. นาไก่มาล้างให้สะอาด ซับน้าให้แป้ ง หมักเกลือ พริกไทย ซอสปรุงรสไว้ ไว้ประมาณ 10 นาที 2. นาไข่ขาวมาตีให้ขึ้นฟูแต่ไม่ต้องตั้งยอด แล้วนาไก่มาชุบกับไข่ขาวที่ขึ้นฟู ขึ้นฟูแล้วให้ทั่ว สะบัดออกเล็กน้อย จากนั้นนาไปชุบงา จะเป็นงาขาวหรือดา หรือดาก็ได้พักไว้ 3. นาไก่ที่ชุบงาแล้วมาทอดให้เหลืองกรอบ จัดใส่จานเสิร์ฟพร้อมกับผักสลัด
  • 61. สูตรบะหมี่หวานงาดา ส่วนผสม 1.บะหมี่งาดา 2 ก้อน 2.พุทราจีน 10 เม็ด 3.แปะก้วย 10 เม็ด 4.แห้ว 5 ลูก 5.ไข่ไก่ 2 ฟอง 6.น้าตาลทรายแดง 1 ถ้วย 7.น้าตาลกรวด 1 ถ้วย 8.เกลือ 1 ช้อนชา 9.ขิง 1/2 แง่ง 10.น้าสะอาด 4 ถ้วย
  • 62. วิธีทาบะหมี่หวานงาดา 1.ลวกบะหมี่งาดา ในน้าเดือด ให้สุกพอดี ล้างด้วยน้าเย็น แล้วลวกเร็วๆด้วยน้าร้อนอีกครั้ง ครั้ง สะเด็ดน้าให้แห้ง 2.ล้างขิงให้สะอาด นาไปปอกเปลือกให้เกลี้ยง แล้วบุบ พักไว้ 3.ตั้งไฟกลางต้มน้า ใส่น้าตาลทรายแดง และน้าตาลกรวด ใส่ขิงบุบ เติมเกลือเล็กน้อย เคี่ยว เคี่ยวจนน้าตาลละลาย 4.ใส่พุทราจีนและแปะก้วยลงต้ม 5นาที 5. นาไข่ไก่มาแยก ไข่แดง และ ไข่ขาว นาส่วนไข่แดงไปต้มในน้าเชื่อมที่แบ่งไว้พอสุกตักเบา ตักเบามือ ขึ้น พักไว้ 6.ไข่ขาวตีให้ขึ้นฟู ค่อยๆเท ลงต้มเช่นเดียวกับไข่แดง พอสุกตักขึ้นพักไว้
  • 63. วิธีทาบะหมี่หวานงาดา 1.ลวกบะหมี่งาดา ในน้าเดือด ให้สุกพอดี ล้างด้วยน้าเย็น แล้วลวกเร็วๆด้วยน้าร้อนอีกครั้ง ครั้ง สะเด็ดน้าให้แห้ง 2.ล้างขิงให้สะอาด นาไปปอกเปลือกให้เกลี้ยง แล้วบุบ พักไว้ 3.ตั้งไฟกลางต้มน้า ใส่น้าตาลทรายแดง และน้าตาลกรวด ใส่ขิงบุบ เติมเกลือเล็กน้อย เคี่ยว เคี่ยวจนน้าตาลละลาย 4.ใส่พุทราจีนและแปะก้วยลงต้ม 5นาที 5. นาไข่ไก่มาแยก ไข่แดง และ ไข่ขาว นาส่วนไข่แดงไปต้มในน้าเชื่อมที่แบ่งไว้พอสุกตักเบา ตักเบามือ ขึ้น พักไว้ 6.ไข่ขาวตีให้ขึ้นฟู ค่อยๆเท ลงต้มเช่นเดียวกับไข่แดง พอสุกตักขึ้นพักไว้
  • 64. สูตรอาหารบะหมี่งาดาราดหน้าปลาเต้าซี่ ส่วนผสม หมักปลา 1.ปลากะพง 2 ขีด 2. ไข่ขาว 1 ฟอง 3.แป้ งมันละลายน้า 4 ช้อนโต๊ะ 4.น้ามันงา 1 ช้อนโต๊ะ 5.น้ามันพืช สาหรบทอด -ผัด 6.เกลือ 2 ช้อนชา 7.น้าตาล 1 ช้อนชา 8.แป้ งมันสาหรับหมักปลา 1/4 ถ้วย สาหรับทาราดหน้า 1.เต้าซี่ 1 ช้อนโต๊ะ 2.บะหมี่งาดา 2 ก้อน 3.กระเทียมสับ 2 ช้อนโต๊ะ 4..ซอสหอยนางรม 3 ช้อนโต๊ะ 5.พริกหวาน 3 สี เขียว แดง เหลือง หั่นชิ้นพอคา 2 ถ้วย 6.น้าซุป 2 ถ้วย
  • 65. วิธีทาบะหมี่งาดาราดหน้าปลาเต้าซี่ 1.หั่นปลาชิ้นใหญ่ แล้วโรยเกลือ น้าตาล น้ามันงา 2.ใส่ไข่ขาว และโรย แป้ งคลุกส่วนผสมให้เข้ากันหมักไว้ 5 นาที 3.นาไปทอดในน้ามัน จนได้ที่สุกเหลือง ตักขึ้นพักไว้ 4.ตั้งกระทะน้ามันให้ร้อน ใส่กระเทียม ตามด้วยเต้าซี่ ผัดจนหอม 5.ใส่พริกหวาน ทั้ง 3 สี ผัดพอสดุ้งไฟ เติมน้าซุป 6.ปรุงรสด้วยซอสหอยนางรม ตามด้วยแป้ งมันละลายน้า ผัด และคนให้ทั่ว 7.สุก เริ่มเดือด ราดบนเส้นบะหมี่งาดา และ ราดบนปลากะพงที่นามาวางบนบะหมี่ บะหมี่งาดาที่ลวกเสร็จเรียบร้อยแล้ว
  • 66. ข้อแนะนา โรยแป้ งบางๆให้เกาะ บนชิ้นปลา ก่อนทอด จะได้ชิ้นปลาที่ ปลาที่สุกนุ่มกรอบ พลิกปลาเบาๆ ถ้าแรงเนื้อปลาอาจแตก แตกได้ลวกบะหมี่ ในน้าร้อน แล้วรีบนาแช่น้าเย็นทันที สะเด็ดน้าออกให้แห้ง เวลาเทแป้ งมันละลายน้าลงในกระทะ กระทะ ให้รีบคน หากล่าช้าแป้ งจะเหนียวคืนตัว
  • 67. สูตรอาหารซาลาเปาไส้งาดา ส่วนผสม 1. แป้ งสาลี 2 ถ้วย 2. น้าตาลทราย 1/4 ถ้วย 3. เกลือ 1/8 ช้อนชา 4. ยีสต์ 2 ช้อนชา 5. น้าอุ่น 3/4 ถ้วย ไส้งาดา 6. งาดา (คั่วสุก-บดหรือปั่นละเอียด) 500 กรัม 7. น้าตาลทรายแดง 150-200 กรัม 8. แบะแซ / กลูโคส 50 กรัม 9. น้า 1/2 ถ้วย 10. น้ามันพืช 1/2 ถ้วย
  • 68. วิธีทาซาลาเปาไส้งาดา 1. อ่างผสมใส่แป้ งสาลี ยีสต์ น้าตาล เกลือ เคล้าให้เข้ากัน ค่อยๆ เทน้าใส่ นวดต่อ ต่อจนแป้ งเข้ากันดี สังเกตจากสีแป้ งเปลี่ยนสีเป็นขาวนวล พักทิ้งไว้ให้แป้ งขึ้น 1 1 ชม. เป็นอย่างต่า 2. ไส้งาดา – หม้อใส่น้าตาลทราย แบะแซ น้า ตั้งไฟ พอเดือดใส่งาบด กวนด้วยไฟ ด้วยไฟอ่อนจนน้าแห้ง ใส่น้ามันพืชกวนเล็กน้อย พักไว้ให้เย็นตัว สามารถปั้นเป็น เป็นก้อนกลมรีๆ เพื่อทาให้ง่ายขึ้นเวลาใส่เป็นไส้ 3. แป้ งที่พักไว้แบ่งก้อนแป้ งปั้นเป็นก้อนกลมรีๆ เท่าๆ กัน 12 – 16 ก้อน นาก้อน ก้อนแป้ งแผ่ออกให้ขอบๆ บาง ใส่ไส้ ห่อเป็นก้อนกลม วางบนกระดาษเรียงใส่ถาด ถาด พักไว้อีกสัก 10-15 นาที แล้วนาไปใส่ในลังถึงที่น้าเดือด นึ่งประมาณ 15 นาที
  • 69. สูตรขนมบัวลอยน้าขิง ส่วนผสม 1. แป้ งข้าวเหนียว 150 กรัม 2. แป้ งข้าวเจ้า 50 กรัม 3. งาดาคั่วบดละเอียด 80 กรัม 4. น้าตาลทรายแดง 150 กรัม 5. น้าตาลปี๊ป 200 กรัม 6. ขิงหั่นแว่น 100 กรัม 7. น้าเปล่า 150 มล. (สาหรับนวดแป้ ง) 8. น้าเปล่า 1 1/2 ลิตร (สาหรับทาน้าขิง)
  • 70. วิธีทาบัวลอยน้าขิง 1. นางาคั่วบดละเอียด น้าตาลปี๊ป ไปกวนในกระทะทองเหลือง ประมาณ 10 นาทีจน จนส่วนผสมเริ่มเหนียวข้น พักไว้ให้เย็น (ใช้ไฟอ่อน) 2. นาแป้ งข้าวจ้าว แป้ งข้าวเหนียว ผสมรวมกัน เติมน้าเปล่าลงไปทีละน้อยและนวดให้ นวดให้เข้ากันดี 3. ปั้นแป้ งเป็นก้อนกลมขนาด 1 1/2 นิ้ว และแผ่แป้ งออกเป็นแผ่นแบน ตักใส่งาดาวาง วางตรงกลางแป้ ง จากนั้นเก็บริมแป้ งให้มิดและปั้นเป็นก้อนกลม วางพักไว้บนถาดแป้ งที่ แป้ งที่โรยนวลแป้ งไว้แล้ว 4. ต้มน้าเปล่าให้เดือดจัด นาแป้ งบัวลอยลงต้มให้สุกประมาณ 5-7 นาที เมื่อแป้ งบัว บัวลอยเริ่มลอยตัวขึ้นมาให้ตักขึ้นพักไว้ในน้าเย็น 5. ต้มน้าเปล่า น้าตาลทรายแดง ขิงแก่ รวมกันจนเดือด ตักน้าขิงใส่ถ้วยบัวลอย เป็น เป็นอันเสร็จ พร้อมเสิร์ฟ
  • 71. สูตรขนมบัวหิมะไส้งาดา ส่วนผสม 1. แป้ งขนมบัวหิมะ 500 กรัม 2. งาดา 120 กรัม 3. ถั่วเขียวซีกนึ่งสุก 200 กรัม 4. กะทิ 190 กรัม 5. น้าตาลทรายแบบไม่ขัดสี 75 กรัม 6. แบะแซ 25 กรัม 7. สีผสมอาหาร สีเหลือง
  • 72. วิธีทาขนมบัวหิมะไส้งาดา 1. ปั่นถั่วเขียวซีก งาดา กะทิปั่นรวมกัน แล้วนาใส่หม้อ ใส่น้าตาลคนให้เข้ากัน กันนาขึ้นตั้งไฟอ่อน 2. ใส่แบะแซลงไป กวนตลอดเวลาจนส่วนผสมร่อนออกจากหม้อ 3. พักไว้ให้เย็นแล้วนามาปั้นลูกละ 25-30 กรัม 4. นาแป้ งบัวหิมะมาใส่สีผสมอาหารสีเหลือง นวดให้เข้ากันและปั้นลูกละ 25- 25-30 กรัม โรยแป้ งนวลกันติด 5. นาแป้ งมาห่อกับไว้แล้วนาไปกดในพิมพ์ขนมไหว้พระจันทร์ โรยแป้ งนวลใน ในพิมพ์เพื่อไม่ให้ติด 6. จัดใส่จานพร้อมเสิร์ฟ
  • 73. สูตรขนมเค้กงาดา Black Sesame Cake อุปกรณ์ 1. พิมพ์สี่เหลี่ยมผืนผ้า 2. ชามผสม 3. ตะแกรง 4. ตะกร้อ 5. พายยาง 6. ที่ร่อนแป้ ง ส่วนผสม 1. เนยเค็ม 170 กรัม 2. น้าตาลไอซิ่ง 100 กรัม 3. ไข่แดง 2 ฟอง 4. งาดาป่น 30 กรัม 5. งาดาเมล็ด 5 กรัม 6. ผงฟู 1 1/2 ช้อนชา 7. แป้ งเค้ก 140 กรัม 8. ไข่ขาว 2 ฟอง 9. น้าตาลทราย 20 กรัม 10. วิปปิ้งครีม 250 กรัม 11. งาดาคั่ว (ตามชอบ)