SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
โครงการแหลมผักเบี้ย-หนองหาร
ความเป็นมาของโครงการ

      โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริ ตาบลแหลมผักเบี้ย อาเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี เกิดขึ้นสืบเนื่องจาก
พระมหากรุณาธิคุณแห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่ทรงมีพระราชดาริด้าน
ปัญหาขยะและน้าเสีย โดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือ การศึกษาวิจัยหาเทคโนโลยีที่
เหมาะสมในการแก้ไขปัญหาน้าเสียและขยะชุมชนที่ประหยัด สะดวก ทาได้ง่าย และ
สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่อื่นๆ ในประเทศได้อย่างกว้างขวาง
ส่วนระบบบาบัดรองนั้นอาศัยการบาบัดโดยธรรมชาติ
                      ประกอบด้วย

1.ระบบบึงชีวภาพซึ่งจะปลูกพืชที่สามารถเจริญได้ดีในน้าขังเสียดูดซับสารพิษ
และสารอินทรีย์ได้ เช่น กก อ้อ เป็นต้น
2. ระบบกรองน้าเสียด้วยหญ้า เช่น หญ้าเนเปีย หญ้าแฝกหญ้านวลน้อยหญ้ารูซี่
เป็นต้นโดยจะส่งน้าเสียไปขังในแปลงหญ้าเป็นระยะๆ และ
3. ระบบกรองด้วยป่าชายเลนโดยในพื้นที่ป่าชายเลนจะปลูกโกงกางแสมขาวเป็น
ต้นเพื่อให้มีสภาพใกล้เคียง ธรรมชาติน้าที่ผ่านป่าชายเลนก็จะได้การบาบัด
ตามธรรมชาติ
ระบบบึงชีวภาพ

            เป็นระบบบาบัดน้าเสียที่ขุดเป็นบ่อดินตื้นๆ มีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า
สาหรับกักขังน้าเสียในบ่ออย่างต่อเนื่อง ให้มีระดับความลึกประมาณ 15 - 30
เซนติเมตร ภายในบึงปลูกพืชประเภทต้นกก ต้นอ้อ ฯลฯ พืชที่ปลูกจะมีลักษณะลาต้น
เล็ก แต่ขึ้นหนาแน่นและมีระบบรากที่แผ่กระจาย ยึดเกาะกันกับผิวดิน สามารถ
เจริญเติบโตได้ดี ในพื้นที่ที่มีน้าขัง การทางานเริ่มที่น้าเสีย ถูกปล่อยลงสู่ต้นบึงจะค่อยๆ
ไหลไปท้ายบึง
ในขณะที่น้าเสียอยู่ในบึงชีวภาพนั้น ธรรมชาติ สายลม แสงแดด จะช่วยบาบัด
น้าเสียได้ส่วนหนึ่ง แต่ส่วนบาบัดที่สาคัญคือ พืชที่อยู่ในบึง จะช่วยดูดซับสิ่งสกปรกที่
ประกอบด้วยสารอินทรีย์ และสารอนินทรีย์ให้ลดน้อยลง นอกจากนั้นบริเวณลาต้น
และรากของพืช ยังเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของจุลินทรีย์ได้จับเกาะ ซึ่งจุลินทรีย์เหล่านี้จะ
ช่วยย่อยสลายสารอินทรีย์ ที่เป็นความสกปรกในน้าเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้
น้าที่ไหลล้นออกจากท้ายบึง เป็นน้าที่มีคุณภาพ สามารถนากลับไปใช้ประโยชน์เพื่อ
อุปโภค บริโภค หรือการชลประทานได้เห็นอย่างดี
ระบบกรองน้าเสียด้วยหญ้า

         เป็นระบบบาบัดน้าเสีย ที่มีลักษณะคล้ายระบบบึงชีวภาพ
(Constructed Wetland) แต่ต่างกันที่ระบบแปลงหญ้าสาหรับกรองน้าเสีย
คือจะปล่อยให้น้าเสียได้กักขังเป็นระยะๆ จากการศึกษาทดลองพบว่า สภาพน้าขังที่
เหมาะสมคือขังน้าที่ระดับ 30 cm. เป็นเวลา 5 วัน แล้วปล่อยแห้ง 3 วัน ภายในแปลง
ได้ปลูกหญ้าสาหรับการกรองสิ่งสกปรก ที่อยู่ในน้าเสียให้ลดน้อยลง พบว่ามีพืชที่มี
ศักยภาพสูงในการเจริญเติบโต และบาบัดน้าเสียได้ มีจานวน 5 ชนิด คือ ต้นกกกลม
หญ้าแฝกอินโดนีเซีย ต้นธูปฤษี หญ้าคาร์ลา และหญ้าสมูท และอัตราส่วนของดินที่
เหมาะสม ต่อการปลูกพืชบาบัดน้าเสียคือ อัตราส่วนผสม ทราย:ดิน = 3:1
ระบบกรองด้วยป่าชายเลน

           เป็นระบบบาบัดน้าเสียที่ใช้ป่าชายเลน ช่วยดูดซับและกรองน้าเสีย โดยใช้
เป็นการศึกษาวิจัยระบบบาบัดน้าเสีย ด้วยวิธีการทางธรรมชาติรูปแบบหนึ่ง โดยน้าเสีย
จากท่อระบายน้าเสียรวม จะไหลผ่านท่อแยก เข้าสู่แปลงป่าชายเลน ก่อนที่จะปล่อยน้า
ทิ้งลงสู่ทะเล ทาให้มีคุณภาพดี ไม่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ชายฝั่งแต่อย่างใด
วิธีการใช้ป่าชายเลนเป็นตัวบาบัดน้าเสีย โดยปล่อยน้าเสียให้ไหลผ่านป่าชาย
เลน ที่เป็นป่าชายเลนที่ปลูกขึ้นใหม่ และป่าที่มีอยู่เดิม ซึ่งป่าชายเลนจะสามารถกรอง
และดูดซับมลสาร และสิ่งสกปรกต่างๆออกจากน้าเสีย จนกลายเป็นน้าที่มีคุณภาพดี
สามารถนากลับมาใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตร หรือปล่อยลงทะเลได้อย่างปลอดภัย
นอกจากนี้ยังมีโครงการตามพระราชดาริเพื่อบาบัดน้าเสียใน อ.เมือง จ.
สกลนคร ทั้งนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดาริให้วิจัยและพัฒนาระบบ
บาบัดน้าเสีย โดยได้ทรงทอดพระเนตรน้าเสียบริเวณหนองสนม ข้างโรงงานผลิต
น้าประปา ซึ่งมีแนวทางแก้คือรวบรวมน้าเสียมาระบายลงหนองหารเป็นจุดเดียวกัน
เพื่อจัดทาโครงการบาบัดน้าเสียโดยวิธีธรรมชาติรวมกับการใช้เทคโนโลยีแบบ
ประหยัด น้าเสียจากตัวเมืองสกลนครจะถูกรวบรวมโดยระบบท่อส่งและผ่านการ
บาบัดให้ดีในระดับหนึ่ง ก่อนส่งต่อไปยังแปลงพืชน้าบาบัดแล้วระบายลงสู่หนองหาร
ต่อไป สาหรับพืชน้าที่ใช้บาบัดน้าเสีย ได้แก่ ธูปฤาษี กกเล็ก แพงพวยน้า บอน
ผักตบชวา หญ้าปล้องละมาน เป็นต้น
นางสาวกรกมล ธาราพิตรกิจชัย ม.4/6 เลขที36
                                      ่

More Related Content

What's hot

Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การChapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การwanna2728
 
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียนphysical04
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าdnavaroj
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์ รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์ phatthra jampathong
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพรสเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพรminmint
 
การพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆการพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆSirirat Pongpid
 
โครงการ กังหันน้ำ
โครงการ กังหันน้ำ โครงการ กังหันน้ำ
โครงการ กังหันน้ำ zodiacppat
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลThanawut Rattanadon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้Paramin Suwannawut
 
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )Sireetorn Buanak
 
โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥everadaq
 
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดโครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดJoy Jantima
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศwilaiporntoey
 

What's hot (20)

Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การChapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
 
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์ รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพรสเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
 
การพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆการพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆ
 
โครงการ กังหันน้ำ
โครงการ กังหันน้ำ โครงการ กังหันน้ำ
โครงการ กังหันน้ำ
 
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุดโครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
 
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
 
โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥
 
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดโครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
แบบรายงานการวิจัย (ว สอศ.-3)
แบบรายงานการวิจัย (ว สอศ.-3)แบบรายงานการวิจัย (ว สอศ.-3)
แบบรายงานการวิจัย (ว สอศ.-3)
 
ชุดการสอน
ชุดการสอนชุดการสอน
ชุดการสอน
 

Similar to โครงการแหลมผักเบี้ย หนองหาร

โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะโครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะPoramate Minsiri
 
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริเทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริsoonthon100
 
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวchkchp
 
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวchkchp
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1Nuttayaporn2138
 
ใบงานที่10
ใบงานที่10ใบงานที่10
ใบงานที่10Mind Kyn
 
ใบงานที่10
ใบงานที่10ใบงานที่10
ใบงานที่10Mind Kyn
 
ใบงานที่10
ใบงานที่10ใบงานที่10
ใบงานที่10Fin Sawitree
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sk'b Methasith
 
ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10AKii Fam
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชHataitip Suwanachote
 
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืชการเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืชchunkidtid
 
โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1
โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1
โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1PN17
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2Wan Ngamwongwan
 
สวนสวยหวาน
สวนสวยหวานสวนสวยหวาน
สวนสวยหวานBenjawan Punkum
 

Similar to โครงการแหลมผักเบี้ย หนองหาร (20)

โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะโครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
 
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริเทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
 
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
 
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
 
หญ้าแฝก
หญ้าแฝกหญ้าแฝก
หญ้าแฝก
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
 
ใบงานที่10
ใบงานที่10ใบงานที่10
ใบงานที่10
 
ใบงานที่10
ใบงานที่10ใบงานที่10
ใบงานที่10
 
ใบงานที่10
ใบงานที่10ใบงานที่10
ใบงานที่10
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10
 
K10
K10K10
K10
 
K10
K10K10
K10
 
ใบงาน10
ใบงาน10ใบงาน10
ใบงาน10
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืช
 
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืชการเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
 
โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1
โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1
โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 
สวนสวยหวาน
สวนสวยหวานสวนสวยหวาน
สวนสวยหวาน
 
101010
101010101010
101010
 

โครงการแหลมผักเบี้ย หนองหาร

  • 2. ความเป็นมาของโครงการ โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจาก พระราชดาริ ตาบลแหลมผักเบี้ย อาเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี เกิดขึ้นสืบเนื่องจาก พระมหากรุณาธิคุณแห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่ทรงมีพระราชดาริด้าน ปัญหาขยะและน้าเสีย โดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือ การศึกษาวิจัยหาเทคโนโลยีที่ เหมาะสมในการแก้ไขปัญหาน้าเสียและขยะชุมชนที่ประหยัด สะดวก ทาได้ง่าย และ สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่อื่นๆ ในประเทศได้อย่างกว้างขวาง
  • 3. ส่วนระบบบาบัดรองนั้นอาศัยการบาบัดโดยธรรมชาติ ประกอบด้วย 1.ระบบบึงชีวภาพซึ่งจะปลูกพืชที่สามารถเจริญได้ดีในน้าขังเสียดูดซับสารพิษ และสารอินทรีย์ได้ เช่น กก อ้อ เป็นต้น 2. ระบบกรองน้าเสียด้วยหญ้า เช่น หญ้าเนเปีย หญ้าแฝกหญ้านวลน้อยหญ้ารูซี่ เป็นต้นโดยจะส่งน้าเสียไปขังในแปลงหญ้าเป็นระยะๆ และ 3. ระบบกรองด้วยป่าชายเลนโดยในพื้นที่ป่าชายเลนจะปลูกโกงกางแสมขาวเป็น ต้นเพื่อให้มีสภาพใกล้เคียง ธรรมชาติน้าที่ผ่านป่าชายเลนก็จะได้การบาบัด ตามธรรมชาติ
  • 4. ระบบบึงชีวภาพ เป็นระบบบาบัดน้าเสียที่ขุดเป็นบ่อดินตื้นๆ มีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า สาหรับกักขังน้าเสียในบ่ออย่างต่อเนื่อง ให้มีระดับความลึกประมาณ 15 - 30 เซนติเมตร ภายในบึงปลูกพืชประเภทต้นกก ต้นอ้อ ฯลฯ พืชที่ปลูกจะมีลักษณะลาต้น เล็ก แต่ขึ้นหนาแน่นและมีระบบรากที่แผ่กระจาย ยึดเกาะกันกับผิวดิน สามารถ เจริญเติบโตได้ดี ในพื้นที่ที่มีน้าขัง การทางานเริ่มที่น้าเสีย ถูกปล่อยลงสู่ต้นบึงจะค่อยๆ ไหลไปท้ายบึง
  • 5. ในขณะที่น้าเสียอยู่ในบึงชีวภาพนั้น ธรรมชาติ สายลม แสงแดด จะช่วยบาบัด น้าเสียได้ส่วนหนึ่ง แต่ส่วนบาบัดที่สาคัญคือ พืชที่อยู่ในบึง จะช่วยดูดซับสิ่งสกปรกที่ ประกอบด้วยสารอินทรีย์ และสารอนินทรีย์ให้ลดน้อยลง นอกจากนั้นบริเวณลาต้น และรากของพืช ยังเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของจุลินทรีย์ได้จับเกาะ ซึ่งจุลินทรีย์เหล่านี้จะ ช่วยย่อยสลายสารอินทรีย์ ที่เป็นความสกปรกในน้าเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้ น้าที่ไหลล้นออกจากท้ายบึง เป็นน้าที่มีคุณภาพ สามารถนากลับไปใช้ประโยชน์เพื่อ อุปโภค บริโภค หรือการชลประทานได้เห็นอย่างดี
  • 6. ระบบกรองน้าเสียด้วยหญ้า เป็นระบบบาบัดน้าเสีย ที่มีลักษณะคล้ายระบบบึงชีวภาพ (Constructed Wetland) แต่ต่างกันที่ระบบแปลงหญ้าสาหรับกรองน้าเสีย คือจะปล่อยให้น้าเสียได้กักขังเป็นระยะๆ จากการศึกษาทดลองพบว่า สภาพน้าขังที่ เหมาะสมคือขังน้าที่ระดับ 30 cm. เป็นเวลา 5 วัน แล้วปล่อยแห้ง 3 วัน ภายในแปลง ได้ปลูกหญ้าสาหรับการกรองสิ่งสกปรก ที่อยู่ในน้าเสียให้ลดน้อยลง พบว่ามีพืชที่มี ศักยภาพสูงในการเจริญเติบโต และบาบัดน้าเสียได้ มีจานวน 5 ชนิด คือ ต้นกกกลม หญ้าแฝกอินโดนีเซีย ต้นธูปฤษี หญ้าคาร์ลา และหญ้าสมูท และอัตราส่วนของดินที่ เหมาะสม ต่อการปลูกพืชบาบัดน้าเสียคือ อัตราส่วนผสม ทราย:ดิน = 3:1
  • 7. ระบบกรองด้วยป่าชายเลน เป็นระบบบาบัดน้าเสียที่ใช้ป่าชายเลน ช่วยดูดซับและกรองน้าเสีย โดยใช้ เป็นการศึกษาวิจัยระบบบาบัดน้าเสีย ด้วยวิธีการทางธรรมชาติรูปแบบหนึ่ง โดยน้าเสีย จากท่อระบายน้าเสียรวม จะไหลผ่านท่อแยก เข้าสู่แปลงป่าชายเลน ก่อนที่จะปล่อยน้า ทิ้งลงสู่ทะเล ทาให้มีคุณภาพดี ไม่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ชายฝั่งแต่อย่างใด
  • 8. วิธีการใช้ป่าชายเลนเป็นตัวบาบัดน้าเสีย โดยปล่อยน้าเสียให้ไหลผ่านป่าชาย เลน ที่เป็นป่าชายเลนที่ปลูกขึ้นใหม่ และป่าที่มีอยู่เดิม ซึ่งป่าชายเลนจะสามารถกรอง และดูดซับมลสาร และสิ่งสกปรกต่างๆออกจากน้าเสีย จนกลายเป็นน้าที่มีคุณภาพดี สามารถนากลับมาใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตร หรือปล่อยลงทะเลได้อย่างปลอดภัย
  • 9. นอกจากนี้ยังมีโครงการตามพระราชดาริเพื่อบาบัดน้าเสียใน อ.เมือง จ. สกลนคร ทั้งนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดาริให้วิจัยและพัฒนาระบบ บาบัดน้าเสีย โดยได้ทรงทอดพระเนตรน้าเสียบริเวณหนองสนม ข้างโรงงานผลิต น้าประปา ซึ่งมีแนวทางแก้คือรวบรวมน้าเสียมาระบายลงหนองหารเป็นจุดเดียวกัน เพื่อจัดทาโครงการบาบัดน้าเสียโดยวิธีธรรมชาติรวมกับการใช้เทคโนโลยีแบบ ประหยัด น้าเสียจากตัวเมืองสกลนครจะถูกรวบรวมโดยระบบท่อส่งและผ่านการ บาบัดให้ดีในระดับหนึ่ง ก่อนส่งต่อไปยังแปลงพืชน้าบาบัดแล้วระบายลงสู่หนองหาร ต่อไป สาหรับพืชน้าที่ใช้บาบัดน้าเสีย ได้แก่ ธูปฤาษี กกเล็ก แพงพวยน้า บอน ผักตบชวา หญ้าปล้องละมาน เป็นต้น
  • 10.