SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
บทคัดยอ
Wi-Fi (wireless fidelity) เปนเทคโนโลยีใหม ในปจจุบันระบบเครือขายไรสายสาธารณะ
ไดรับความนิยมกันอยางมาก ทําใหผูใชไดรับความสะดวกสบาย ในการติดตออินเตอรเน็ตดวยความเร็ว
สูงมากผานเครือขายไรสายในขณะที่ผูใชเดินทางไปนอกสถานที่ก็สามารถสื่อสารกันได
Wi-Fi ก็คือ เทคโนโลยีสําหรับรอดแบนดไรสาย ที่ทดสอบผลิตภัณฑ Wireless Lan หรือระบบ
Network แบบไรสาย ภายใตเทคโนโลยีการสื่อสาร มาตราฐาน IEEE 802.11 ซึ่งก็ไดมีการพัฒนากันมา
เรื่อยๆ จาก IEEE 802.11 ธรรมดามาเปน 802.11b 802.11a 802.11g ขึ้นซึ่งจะตางกันเรื่องของความเร็ว
ในการรับสงขอมูลเปนหลัก วาอุปกรณทุกตัวซึ่งตางยี่หอกันนั้นมันสามารถติดตอสื่อสารกันไดโดยไมมี
ปญหา
บทความนี้นําเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับเทคโนโลยีของ Wi-Fi เครือขายไรสายและหลักการพื้นฐาน
ของระบบเครือขายสาธารณะรวมถึงประเด็นการรักษาความปลอดภัย อีกทั้งมีโครงสรางเครือขายที่มี
ความปลอดภัยโดยใช ซอรฟแวรที่เปน Open Source ซึ่งประกอบไปดวย hotspot gateway ระบบการ
พิสูจนตัวตน (Authentication System) รวมทั้ง Virtual Private Network โซลูชั่นที่นําเสนอในบทความ
นี้สามารถนํามาใชทดแทนอุปกรณเครือขายที่มีราคาแพง และนอกจากนั้นระบบยังมีขีดความสามารถที่
ใหความปลอดภัย สะดวก แกผูใชเครือขายไรสายสาธารณะได และมีบทสรุปเพื่อใหผูอานเกิดความรู
ความเขาใจเกี่ยวกับเทคโนโลยี Wi-Fi ไปประยุกตใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ
เทคโนโลยี WiFi (wireless fidelity)
บทนํา
ในชวงหลายปที่ผานมาไดมีการพัฒนาแบบกาวกระโดดของระบบคอมพิวเตอร โดยเฉพาะการ
พัฒนาทางดานเน็ตเวิรก ไมวาจะเปนความเร็วในการสื่อสาร รูปแบบการใหบริการใหมๆ ความงายใน
การเชื่อมตอ การพัฒนาแบบกาวกระโดดนี้มีผลจากการใชงานของผูใชมากขึ้น รวมถึงผูใหบริการตางๆ
ไดจัดบริการใหม ๆ ที่รองรับการทํางานบนอินเทอรเน็ตมากขึ้น สิ่งเหลานี้จึงเปนแรงผลักดันใหการ
พัฒนาทางดานเน็ตเวิรกรวดเร็วมากขึ้น และใกลตัวผูใชมากขึ้นดวยเชนกันการเจริญเติบโตของเครือขาย
ไรสายเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว ระบบเครือขายไรสายไดถูกพัฒนาอยางตอเนื่อง ปจจุบันมีการนําเทคโนโลยี
สารสนเทศและเทคโนโลยีการสื่อสาร (Information and Communication Technology) มาใชกันมาก
ไมวาจะเปน Wireless Lan Wimax แตในที่นี้จะกลาวถึง Wi-Fi ก็เปนอุปกรณหนึ่งที่มีความเร็วสูงใชตอ
กับอินเทอรเน็ตสามารถเชื่อมตอกับอินเทอรเน็ตไดโดยผานอุปกรณที่เรียกวาแอคเซสพอยต และบริเวณ
ที่ระยะทําการของแอคเซสพอยตครอบคลุมอยูเรียกวา ฮอตสปอต จึงทําใหสะดวกแกผูใชใน ทุกที่
(Anywhere) ทุกเวลา (Anytime) ทุกสถานที่ (Anyplace) Wi-Fi เปนเครือขายไรสายสามารถใชงานได
สะดวกและมีความปลอดภัยมากขึ้นจึงสนองความตองการของผูใชไดเปนอยางดี
Wi-Fi คือ องคกรหนึ่งที่ทําการทดสอบผลิตภัณฑ Wireless LAN หรือระบบ Network แบบไร
สาย ดวยเทคโนโลยีการสื่อสารภายใตมาตรฐาน IEEE 802.11 ซึ่งอุปกรณทุกตัวที่ตางยี่หอกันนั้นจะ
สามารถติดตอสื่อสารกันไดโดยไมประสบปญหา หากอุปกรณนั้นผานตามเกณฑมาตรฐานก็จะมีการ
ประทับตรา Wi-Fi Certified ซึ่งหมายความวา อุปกรณตัวนี้สามารถเชื่อมตอแบบไรสายกับ อุปกรณอื่น
ที่มีตรา Wi-Fi Certified ได แลวจึงกลายมาเปนคําศัพทของอุปกรณ LANไรสาย
Wi-Fi (wireless fidelity "วายฟาย") หมายถึงชุดผลิตภัณฑตางๆ ที่สามารถใชไดกับมาตรฐาน
เครือขายคอมพิวเตอรแบบไรสาย (WLAN) ซึ่งอยูบนมาตรฐาน IEEE 802.11เดิมที Wi-Fi ถูกออกแบบ
มาใชสําหรับอุปกรณพกพาตางๆ และใชเครือขาย LAN เทานั้น แตปจจุบันที่นิยมใช Wi-Fi เพื่อตอกับ
อินเทอรเน็ต โดยอุปกรณพกพาตาง ๆ สามารถเชื่อมตอกับอินเทอรเน็ตไดผานอุปกรณที่เรียกวาแอคเซส
พอยต และบริเวณที่ระยะทําการของแอคเซสพอยตครอบคลุมเรียกวา ฮอตสปอต
สุนิตรา หาดเนิน เรียบเรียง
Throughput Range Frequency
Hot-spot
access
Power
drain
Interference
risk
Cost
802.11b 5Mbps 150
feet
2.4GHz Excellent Moderate High Low
802.11g 20Mbps 150
feet
2.4GHz Excellent Moderate High Moderate
802.11a 22Mbps 100
feet
5GHz Poor High Low High
Dual
band
22Mbps 150
feet
2.4GHz 5GHz Excellent Moderate Low High
Bluetooth 500Kbps 30 feet 2.4GHz Poor Low High Moderate
รูปที่ 1ตารางความแตกตางของเทคโนโลยี WiFi
ที่มา : http://www.mrpalm.com
Hotspot เปนบริการ อินเตอรเน็ตสาธารณะไรสายความเร็วสูง ดวยเทคโนโลยีของ Wireless
LAN หรือที่เรียกกันวา Wi-Fi ซึ่งในปจจุบันมีการใหบริการกันมากขึ้นเรื่อย ๆ ตามแหลงชุมชน ตางๆ
การใชบริการ Hotspot นี้ อาจจะตองลงทุนสูง เพราะสองสิ่งหลักที่เราตองมีก็คือ เครื่องคอมพิวเตอร
Notebook หรือ PDA และ Wireless LAN Card แตหาก Notebook หรือ PDA บางรุนมี Wi-Fi ในตัวก็
สบายไมตองหาซื้ออุปกรณเพิ่ม
Wi-Fi สาธารณะ Wi-Fi public hotspot คือ จุดที่ใหบริการ อินเทอเนตไรสาย เพื่อใหบุคคล
ทั่วไปไดตอใชงาน จุดที่ใหบริการมักจะเปนพื้นที่สาธารณะที่คาดวาจะมีผูมาใชบริการเปนจํานวนมาก
Hotspot gateway เปนสวนประกอบหลักของ public hotspot หนาที่ของ hotspot gateway มี
ดังตอไปนี้
• Access control หรือ gatekeeper
• การพิสูจนตัวตน (user authentication)
• การกําหนด IP address ใหกับ ผูใช
• การกําหนดระยะเวลา และ bandwidth ของ ผูใช
ระบบเครือขายไรสายสามารถแบงไดออกเปน 3 แบบ คือ
1. การเชื่อมตอระหวางระบบ
2. ระบบเครือขายเฉพาะบริเวณแบบไรสาย
3. ระบบเครือขายวงกวางแบบไรสาย
- การเชื่อมตอระหวางระบบ ( System Interconnection ) หมายถึง การเชื่อมตอสวนประกอบ
ของระบบคอมพิวเตอรโดยการใชสัญญาณวิทยุระยะสั้น ( Short-rang radio ) ระบบคอมพิวเตอรเกือบ
ทุกระบบประกอบดวยจอภาพ แปนพิมพ เมาส และเครื่องปริ้นเตอร ที่เชื่อมตอเขากับเครื่อง
คอมพิวเตอรหลัก ( Main Unit ) ดวยสายเคเบิ้ล ผูที่เริ่มตนใชคอมพิวเตอรมือใหมมักจะประสบปญหา
ในการเชื่อมตอสายเคเบิ้ลและอุปกรณตาง ๆ เขาดวยกัน มีออกแบบระบบเครือขายไรสายโดยการใช
สัญญาณวิทยุระยะสั้นเรียกวา บลูทูธ ( Bluetooth ) เพื่อนํามาใชในการเชื่อมตออุปกรณคอมพิวเตอร
ทั้งหมดเขาดวยกันโดยไมตองใชสายเคเบิ้ล บลูทูธ ยังสามารถนํามาใชในการเชื่อมตออุปกรณดิจิตอล
อื่น ๆ เชน กลองดิจิตอล ชุดหูฟง และเครื่องกราดภาพ เปนตน เขากับเครื่องคอมพิวเตอรโดยการเพียง
แคนําอุปกรณนั้นมาวางไวใกล ๆ เทานั้น
- ระบบเครือขายแบบที่สองคือ ระบบเครือขายเฉพาะบริเวณแบบไรสาย ( Wireless LAN )
หมายถึงระบบเครือขายเฉพาะบริเวณที่คอมพิวเตอรทุกเครื่องในระบบนั้นใชอุปกรณโมเด็มไรสายและ
สายอากาศเพื่อใชในการสื่อสารกับคอมพิวเตอรเครื่องอื่น โดยทั่วไปจะมีสายอากาศที่แขวนอยูบน
เพดานเพื่อใหคอมพิวเตอรแตละเครื่องติดตอสื่อสารดวย ระบบเครือขายเฉพาะบริเวณแบบไรสายกําลัง
ไดรับความนิยมในการนํามาใชงานมากในปจจุบันทั้งในสํานักงานขนาดเล็ก ตามบาน รวมทั้งสํานักงาน
เกาที่ซึ่งการเดินสายเคเบิ้ลนั้นมีความยุงยากหรือไมอาจกระทําได
- ระบบเครือขายไรสายแบบที่สาม คือ ระบบเครือขายวงกวางแบบไรสาย ( Wireless LAN )
ระบบเครือขายทองถิ่นไรสาย คือ ระบบสื่อสารที่มีความยืดหยุนสูง สวนใหญนิยมติดตั้งเพิ่มเติมหรือ
แทนที่ระบบเครือขายทองถิ่นแบบใชสายสัญญาณ ระบบเครือขายทองถิ่นไรสายจะใชคลื่นวิทยุ หรือ
RF (Radio Frequency) เปนสัญญาณและใชอากาศเปนตัวนําสัญญาณ ทําใหลดสายสัญญาณที่ใช
ปจจุบัน เครือขายทองถิ่นไรสายสามารถรับสัญญาณถึง 54 Mbps ซึ่งมีความเร็วกวาอีเธอรเน็ตแบบ
10Base-T ประโยชนที่สําคัญของการใชระบบนี้คือ ความสะดวกในการเคลื่อนยายคอมพิวเตอรใน
เครือขาย ปจจุบันระบบเครือขายไรสายกําลังไดรับความนิยมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะในองคกรที่
ใชคอมพิวเตอรโนตบุค ซึ่งสวนใหญจะมีการเคลื่อนยายบอย
เทคโนโลยี Wi-Fi คืออะไร
Technology Wi-Fi and IP Telephony” Wi-Fi เปนเทคโนโลยีที่ไดรับความนิยมอยางมาก อัน
เนื่องมากจากความอิสระในการใชและ Hot Spotที่เพิ่มมากขึ้นไมเฉพาะแตในที่ทํางานหรือในบานแตยัง
แพรหลายไปถึงแหลงชุมชนตางๆ ปจจุบันมาตารฐาน Wi-Fi สามารถสงขอมูลไดที่ความเร็วถึง 54
Mbps และครอบคลุมพื้นที่ถึง 50 ฟุต (ที่ 11Mbps 802.11g) และในอนาคตยังมีมาตารฐาน Wi-Max ที่
เพิ่มระยะทางถึง 30 ไมล แมวามาตรฐานจะยังไมออกมาแตผูผลิตอยาง Intel ก็เริ่มสรางชิปออกมาแลว
อยางไรก็ตาม 3G คงจะเปนคูแขงที่สําคัญ และเหลานี้เปนสิ่งที่เราควรจะจับตามอง มันเปนสิ่งที่นาสนใจ
มากถาหากจะพัฒนาสรางapplication ของ Wi-Fiผนวกลงในโทรศัทพเคลื่อนที่ซึ่งใชกันแพรหลายมาก
ในประเทศไทยหรือผนวกกับเทคโนโลยี VoIP หรือ IP Telephony เพื่อใหการติดตอระหวางโทรศัพท
บานติดตอกับ IP Phone หรือให IP Phone ติดตอกับโทรศัพทมือถือไดเปนการเพิ่มโอกาสทางการวิจัย
และธุรกิจที่จะเปดตลาดใหมถึงอนาคตของเทคโนโลยี Wireless LAN กับ IP Telephonyและการ
ประยุกตใชในอนาคต
เทคโนโลยี Wi-Fi ใชคลื่นวิทยุความถี่สูงสําหรับรับสงขอมูลภายในเครือขายคอมพิวเตอร
เครื่องคอมพิวเตอรที่สามารถใชงาน Wi-Fi ไดตองมีการติดตั้งแผงวงจรหรืออุปกรณรับสง Wi-Fi ซึ่งมี
ชื่อเรียกวา Network Interface Card (NIC) แตปจจุบันเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุคที่มีจําหนายใน
ทองตลาดมักไดรับการติดตั้งชิปเซ็ต (Chipset) ที่ทําหนาที่เปนตัวรับสงสัญญาณ Wi-Fi ไปในตัว ทําให
สะดวกตอการนําไปใชงานมากขึ้น การติดตอสื่อสารดวยเทคโนโลยี Wi-Fi ทําไดทั้งแบบเชื่อมตอ
โดยตรงระหวางเครื่องคอมพิวเตอร โดยไมตองผานอุปกรณตัวกลาง (Ad-hoc) และแบบที่ผานอุปกรณ
จุดเชื่อมตอ (Access Point) เนื่องจากการติดตั้งเครือขาย Wi-Fi ทําไดงายและไมตองใชความรูในมากนัก
ทางดานเครือขาย แมจะมีพื้นที่ครอบคลุมในระยะทางจํากัด แตก็ถือวาเพียงพอที่ตอการใชงานใน
สํานักงานและบานพักอาศัยโดยทั่วไป จึงทําใหผูคนทั่วไปนิยมใชงาน Wi-Fi กันมาก สงผลใหเกิดการ
ขยายตัวของตลาดผูบริโภคอยางรวดเร็วในปจจุบัน
รูปที่ 2 แสดงแผนภาพระบบ WiFi
ที่มา : http://www.mrpalm.com
เทคโนโลยี Wi-Fi มีการพัฒนามาตามยุคสมัย เริ่มจากขอกําหนดมาตรฐานเครือขายไรสาย
• มาตรฐาน IEEE 802.11 เครือขายไรสายมาตรฐาน IEEE 802.11 เปนผลิตภัณฑเครือขายไร
สายในสวนของ PHY Layer นั้นมีความสามารถในการรับสงขอมูลที่ความเร็ว 1, 2, 5.5, 11 และ 54 เม
กะบิตตอวินาที โดยมีสื่อนําสัญญาณ 3 ประเภทใหเลือกใชงานอันไดแก คลื่นวิทยุยานความถี่ 2.4 กิกะ
เฮิรตซ, 2.5 กิกะเฮิรตซและคลื่นอินฟาเรด สวน.ในระดับชั้น MAC Layer นั้นไดกําหนดกลไกของการ
ทํางานแบบ CSMA/CA (Carrier Sense Multiple Access/Collision Avoidance) ซึ่งมีความคลายคลึงกับ
CSMA/CD (Collision Detection) ของมาตรฐาน IEEE 802.3 Ethernet ซึ่งนิยมใชงานบนระบบเครือขาย
แลนใชสาย โดยมีกลไกในการเขารหัสขอมูลกอนแพรกระจายสัญญาณไปบนอากาศ พรอมกับมี
ตรวจสอบผูใชงานอีกดวย มาตรฐาน IEEE 802.11 ในยุคเริ่มแรกนั้นใหประสิทธิภาพการทํางานที่
คอนขางต่ํา ทั้งไมมีการรับรองคุณภาพของการใหบริการที่เรียกวา QoS (Quality of Service) ซึ่งมี
ความสําคัญในสภาพแวดลอมที่มีแอพพลิเคชันหลากหลายประเภทใหใชงาน นอกจากนั้นกลไกในเรื่อง
การรักษาความปลอดภัยที่นํามาใชก็ยังมีชองโหวจํานวนมาก IEEE จึงไดจัดตั้งคณะทํางานขึ้นมาหลาย
ชุดดวยกันเพื่อทําการพัฒนาและปรับปรุงมาตรฐานใหมีศักยภาพเพิ่มสูงขึ้น
• มาตรฐาน IEEE 802.11aเปนมาตรฐานที่ไดรับการตีพิมพและเผยแพรเมื่อป พ.ศ. 2542 โดย
ใชเทคโนโลยี OFDM (Orthogonal Frequency Division Multiplexing) เพื่อพัฒนาใหผลิตภัณฑไรสายมี
ความสามารถในการรับสงขอมูลดวยอัตราความเร็วสูงสุด 54 เมกะบิตตอวินาที โดยใชคลื่นวิทยุยาน
ความถี่ 5 กิกะเฮิรตซ ซึ่งเปนยานความถี่ที่ไมไดรับอนุญาตใหใชงานโดยทั่วไปในประเทศไทย เนื่องจาก
สงวนไวสําหรับกิจการทางดานดาวเทียม ขอเสียของผลิตภัณฑมาตรฐาน IEEE 802.11a ก็คือมีรัศมีการ
ใชงานในระยะสั้นและมีราคาแพง ดังนั้นผลิตภัณฑไรสายมาตรฐาน IEEE 802.11aจึงไดรับความนิยม
นอย
• มาตรฐานIEEE802.11b เปนมาตรฐานที่ถูกตีพิมพและเผยแพรออกมาพรอมกับมาตรฐาน
IEEE 802.11a เมื่อป พ.ศ. 2542 ซึ่งเปนที่รูจักกันดีและไดรับความนิยมในการใชงานกันอยางแพรหลาย
มากที่สุด ผลิตภัณฑที่ออกแบบมาใหรองรับมาตรฐาน IEEE 802.11b ใชเทคโนโลยีที่เรียกวา CCK
(Complimentary Code Keying) รวมกับเทคโนโลยี DSSS (Direct Sequence Spread Spectrum) เพื่อให
สามารถรับสงขอมูลไดดวยอัตราความเร็วสูงสุดที่ 11 เมกะบิตตอวินาที โดยใชคลื่นสัญญาณวิทยุยาน
ความถี่ 2.4 กิกะเฮิรตซ ซึ่งเปนยานความถี่ที่อนุญาตใหใชงานในแบบสาธารณะทางดานวิทยาศาสตร
อุตสาหกรรม และการแพทย โดยผลิตภัณฑที่ใชความถี่ยานนี้มีชนิด ทั้งผลิตภัณฑที่รองรับเทคโนโลยี
Bluetooth, โทรศัพทไรสายและเตาไมโครเวฟ จึงทําใหการใชงานนั้นมีปญหาในเรื่องของสัญญาณ
รบกวนของผลิตภัณฑเหลานี้ ขอดีของมาตรฐาน IEEE 802.11b ก็คือ สนับสนุนการใชงานเปนบริเวณ
กวางกวามาตรฐาน IEEE 802.11a ผลิตภัณฑมาตรฐาน IEEE 802.11b เปนที่รูจักในเครื่องหมายการคา
Wi-Fi ซึ่งกําหนดขึ้นโดย WECA (Wireless Ethernet Compatability Alliance) โดยผลิตภัณฑที่ไดรับ
เครื่องหมาย Wi-Fi ไดผานการตรวจสอบและรับรองวาเปนไปตามขอกําหนดของมาตรฐาน IEEE
802.11b ซึ่งสามารถใชงานรวมกันกับผลิตภัณฑของผูผลิตรายอื่นๆได
• มาตรฐานIEEE802.11gเปนมาตรฐานที่นิยมใชงานกันมากในปจจุบัน และไดเขามาทดแทน
ผลิตภัณฑที่รองรับมาตรฐาน IEEE 802.11b เนื่องจากสนับสนุนอัตราความเร็วของการรับสงขอมูลใน
ระดับ 54 เมกะบิตตอวินาที โดยใชเทคโนโลยี OFDM บนคลื่นสัญญาณวิทยุยานความถี่ 2.4 กิกะเฮิรตซ
และใหรัศมีการทํางานที่มากกวา IEEE 802.11a พรอมความสามารถในการใชงานรวมกันกับมาตรฐาน
IEEE802.11bได(Backward-Compatible)
• มาตรฐาน IEEE 802.11e เปนมาตรฐานที่ออกแบบมาสําหรับการใชงานแอพพลิเคชัน
ทางดานมัลติเมียอยาง VoIP (Voice over IP)เพื่อควบคุมและรับประกันคุณภาพของการใชงานตาม
หลักการ QoS (Quality of Service) โดยการปรับปรุง MAC Layer ใหมีคุณสมบัติในการรับรองการใช
งานใหมีประสิทธิภาพ
• มาตรฐาน IEEE 802.11fมาตรฐานนี้เปนที่รูจักกันในนาม IAPP (Inter Access Point
Protocol) ซึ่งเปนมาตรฐานที่ออกแบบมาสําหรับจัดการกับผูใชงานที่เคลื่อนที่ขามเขตการใหบริการของ
Access Point ตัวหนึ่งไปยัง Access Point เพื่อใหบริการในแบบโรมมิงสัญญาณระหวางกัน
• มาตรฐาน IEEE 802.11h มาตรฐานที่ออกแบบมาสําหรับผลิตภัณฑเครือขายไรสายที่ใชงาน
ยานความถี่ 5 กิกะเฮิรตซ ใหทํางานถูกตองตามขอกําหนดการใชความถี่ของประเทศในทวีปยุโรป
• มาตรฐาน IEEE 802.11i เปนมาตรฐานในดานการรักษาความปลอดภัยของผลิตภัณฑของ
เครือขายไรสาย โดยการปรับปรุง MAC Layer เนื่องจากระบบเครือขายไรสายมีชองโหวมากมายในการ
ใชงาน โดยเฉพาะฟงกชันการเขารหัสแบบ WEP 64/128-bit ซึ่งใชคียที่ไมมีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งไม
เพียงพอสําหรับสภาพการใชงานที่ตองการในการรักษาความปลอดภัยของการสื่อสระดับสูง มาตรฐาน
IEEE 802.11i จึงกําหนดเทคนิคการเขารหัสที่ใชคียชั่วคราวดวย WPA, WPA2 และการเขารหัสในแบบ
AES(Advanced EncryptionStandard) ซึ่งมีความนาเชื่อถือสูง
• มาตรฐาน IEEE 802.11kเปนมาตรฐานที่ใชจัดการการทํางานของระบบเครือขายไรสาย ทั้ง
จัดการการใชงานคลื่นวิทยุใหมีประสิทธิภาพ มีฟงกชันการเลือกชองสัญญาณ, การโรมมิง และการ
ควบคุมกําลังสง นอกจากนั้นก็ยังมีการรองขอ และปรับแตงคาใหเหมาะสมกับการทํางาน การหารัศมี
การใชงานสําหรับเครื่องไคลเอนตที่เหมะสมที่สุดเพื่อใหระบบจัดการสามารถทํางานจากศูนยกลางได
• มาตรฐาน IEEE 802.11n เปนมาตรฐานของผลิตภัณฑเครือขายไรสายที่คาดหมายกันวา จะ
เขามาแทนที่มาตรฐานIEEE 802.11a, IEEE 802.11b และ IEEE 802.11g ที่ใชงานกันอยูในปจจุบัน โดย
ใหอัตราความเร็วในการรับสงขอมูลในระดับ 100 เมกะบิตตอวินาที
• มาตรฐาน IEEE 802.1x เปนมาตรฐานที่ใชงานกับระบบรักษาความปลอดภัย ซึ่งกอนเขาใช
งานระบบเครือขายไรสายจะตองตรวจสอบสิทธิ์ในการใชงานกอนโดย IEEE 802.1x จะใชโพรโตคอล
อยาง LEAP, PEAP, EAP-TLS, EAP-FAST ซึ่งรองรับการตรวจสอบผานเซิรฟเวอร เชน RADIUS,
Kerberos เปนตน
แตในปจจุบันมาตรฐานที่นิยมใชกันงานกันอยูจะเปนมาตรฐาน IEEE802.11g ซึ่งรองรับอัตรา
ความเร็วสูงสุดในระดับ 54 เมกะบิตตอวินาที (Mbps) ซึ่งเพียงพอสําหรับการใชงานโดยทั่วๆ ไปใน
ปจจุบันไดอยางดี พรอมกันนั้นก็ยังสนับสนุนการทํางานรวมกันกับมาตรฐานเดิมอยาง IEEE802.11b
ไดอยางไรปญหา แตในขณะนี้ก็เริ่มที่จะเห็นผูผลิตหลายๆ รายตางสงผลิตภัณฑที่สนับสนุนเทคโนโลยี
MIMO ออกมามากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งเปนที่คาดหมายกันวา ในอนาคตอันใกลนี้ เครือขายไรสายที่ใหแบนด
วิดท, ใหประสิทธิภาพการใชงานที่มากกวาและมีรัศมีการทํางานที่ดีกวานั้นจะเขามาทดแทนมาตรฐาน
IEEE 802.1g เดิม แตผลิตภัณฑที่จะใชงานคุณสมบัติเหลานี้ไดอยางเต็มพิกัดจะตองเปนอุปกรณจากซี
รีสเดียวกัน ซึ่งตอนนี้ยังมีราคาแพงอยูมาก การเลือกใชอุปกรณสําหรับมาตรฐาน IEEE802.11g
รูปแบบการเชื่อมตอเครือขายไรสาย
รูปที่ 4 เครือขายไรสายของ Wireless LAN Technology
ที่มา : http://www.thaihelp.net
1. Peer-to-peer ( ad hoc mode )
รูปแบบการเชื่อมตอระบบแลนไรสายแบบ Peer to Peer เปนลักษณะการเชื่อมตอแบบโครงขายโดยตรง
ระหวางเครื่องคอมพิวเตอร จํานวน 2 เครื่องหรือมากกวานั้น เปนการใชงานรวมกันของ wireless
adapter cards โดยไมไดมีการเชื่อมตอกับเครือขายแบบใชสายเลย โดยที่เครื่องคอมพิวเตอรแตละเครื่อง
จะมีความเทาเทียมกัน สามารถทํางานของตนเองได และขอใชบริการเครื่องอื่นไดเหมาะสําหรับการ
นํามาใชงานเพื่อจุดประสงคในดานความรวดเร็วหรือติดตั้งไดโดยงาย เมื่อไมมีโครงสรางพื้นฐานที่จะ
รองรับ ยกตัวอยางเชน ในศูนยประชุม, หรือการประชุมที่จัดขึ้นนอกสถานที่
2. Client/server (Infrastructure mode)
ระบบเครือขายไรสายแบบ Client / server หรือ Infrastructure mode เปนลักษณะการรับสงขอมูลโดย
อาศัย Access Point ( AP) หรือเรียกวา “Hot spot” ทําหนาที่เปนสะพานการเชื่อมตอระหวางระบบ
เครือขายแบบใชสายกับเครื่องคอมพิวเตอรลูกขาย (client) โดยจะกระจายสัญญาณคลื่นวิทยุเพื่อ รับ-สง
ขอมูลเปนรัศมีโดยรอบเครื่องคอมพิวเตอรที่อยูในรัศมีของ AP จะกลายเปน เครือขายกลุมเดียวกันทันที
โดยเครื่องคอมพิวเตอร จะสามารถติดตอกัน หรือติดตอกับ Server เพื่อแลกเปลี่ยนและคนหาขอมูลได
โดยตองติดตอผานAP เทานั้น
3. Multiple access points and roaming
โดยทั่วไปแลว การเชื่อมตอสัญญาณระหวางเครื่องคอมพิวเตอร กับ Access Point ของเครือขายไรสาย
จะอยูในรัศมีประมาณ 500 ฟุต ภายในอาคาร และ 1000 ฟุต ภายนอกอาคาร หากสถานที่ที่ติดตั้งมีขนาด
กวางมากๆ
4. The Use of Directional Antennas
ระบบแลนไรสายแบบนี้เปนแบบใชเสาอากาศในการรับสงสัญญาณระหวางอาคารที่อยูหางกัน โดยการ
ติดตั้งเสาอากาศที่แตละอาคาร เพื่อสงและรับสัญญาณระหวางกัน
5. Client-to-Client Attacks
client ไรสาย 2 ตัวสามารถจะคุยกันเองไดโดยตรง ไมจําเปนตองผาน access point และนั่นเปนชองโหว
ที่อาจทําใหไฟลสําคัญรั่วไหลออกไปได
การประยุกตใชงานของ Wi-Fi
ปจจุบันอุปกรณคอมพิวเตอรตัวหนึ่งไดถูกกลาวถึงกันมากทีเดียว นั่นก็คือ Wireless Lan หรือ
ระบบ Network ไรสายนั่นเอง ซึ่งเปนเทคโนโลยีที่สรางขึ้นมาภายใตมาตราฐาน IEEE 802.11b หรือที่
มักเรียกระบบไรสายนี้วา Wi-Fiและมาตราฐาน IEEE 802.11เทคโนโลยีไรสาย WLAN นี้มีขอกําหนด
มาตรฐานในการสงขอมูลที่ความเร็ว1,2,5หรือ11MB/sในคลื่นความถี่ที่2.4GHz การสื่อสารชนิดนี้กําลัง
ไดรับความนิยมสูงมากทีเดียวทั้งในตางประเทศและในประเทศไทยเอง ซึ่งคาดวาจะมีอัตราการเพิ่ม
จํานวนมากขึ้นกวาเดิมถึง 6 เทาตัว และจํานวนสถานที่บริการที่ใหเชื่อมตอ Wi-Fiแบบสาธารณะก็จะมี
เพิ่มขึ้นหลายเทาตัวทีเดียว ในบานเราเองสถานที่สําคัญตางๆ ก็ไดเริ่มมีบริการ Internet ไรสายดวย
WIFI กันบางแลวเชน หางสรรพสินคา และสถานที่ราชการบางแหง เรื่องของเทคโนโลยีตัวนี้นาจับตา
มองมากทีเดียวเพราะเปนกระแสที่คอนขางมาแรงมากตั้งแตเมื่อตนปจนถึงปจจุบัน และอุปกรณ
เกี่ยวของกับการใชงานนี้ นับวันก็จะมีราคาถูกลงเรื่อย ๆ และมีการพัฒนาลูกเลนตางๆใหดีขึ้นเรื่อยๆอีก
ดวย สําหรับการประยุกตใชงานเครือขายไรสายนับวามีอยางหลากหลาย ซึ่งพอจะยกตัวอยางไดตอไปนี้
- ผูใชงานตามบานเรือนที่พัก สามารถนําระบบเครือขายไรสายมาใชงานทั้งการแชรการใชงาน
อินเทอรเน็ตรวมกัน และรับชมสื่อบันเทิงบนเครือขายอินเทอรเน็ตผานผลิตภัณฑไรสายแบบตางๆได
จากทุกๆที่ภายในบริเวณบานโดยไมตองเดินสายนําสัญญาณใหยากลําบาก
- ผูใชงานภายในองคกร สามารถนํามาใชเพื่อเพิ่มผลิตผลของการทํางานของพนักงาน ลด
คาใชจายของการวางสายนําสัญญาณลง ใชขยายขอบเขตการใชงานเครือขายเดิมใหมีความยืดหยุน ใน
กิจการโรงแรมสามารถใหบริการแกแขกผูมาเขาพักไดโดยสะดวก รานอาหารสามารถนํามาใชบริการ
กับลูกคาที่เขามาสั่งอาหาร, ผูใหบริการอินเทอรเน็ตชวยลดคาใชจายในการเดินสายสัญญาณใหเขาถึงจุด
บริการตางๆมากขึ้น และสามารถใหบริการในจุดบริการที่สายสัญญาณไมสามารถเขาถึงไดเชนกัน
ผูบริหารระบบเครือขายสามารถเฝาตรวจสอบระบบ และปรับเปลี่ยนแกไขปญหาที่อาจเกิดขึ้นกับระบบ
เครือขายจากจุดใดก็ไดทําใหสะดวกและรวดเร็วตอการจัดการมากขึ้น
- ผูใชงานภายในสถานศึกษา สถานศึกษาสามารถใชเครือขายไรสายโดยใหนักศึกษาสามารถ
เขาเรียนในแบบออนไลนได สามารถสืบคนขอมูลบนเครือขายอินเทอรเน็ตจากจุดใดจุดหนึ่งของ
สถาบันได ชวยใหนักศึกษาสามารถใชงานไดสะดวกและรวดเร็วมากขึ้น
ขอดีของ Wireless LAN ชนิด Wi-Fi
ธรรมชาติของธุรกิจปจจุบันจะขึ้นอยูกับระบบเครือขายคอมพิวเตอรมาก ความเติบโตของ
อินเตอรเน็ตและการใหบริการผานเครือขายเปนขอพิสูจนที่สําคัญของการแชรขอมูลและทรัพยากตางๆ
ถาใชระบบเครือขายไรสายผูใชไมจําเปนตองใช UTP เชื่อมตอ เน็ตเวิรคการดเขากับปลั๊ก LAN อีก
ตอไป ขอดีของเครือขายไรสายมีดังนี้
• ความคลองตัว (Mobility) ผูใชสามารถเชื่อมตอกับเครือขายไรสายที่ไหนก็ไดภายใน
องคกร ซึ่งที่ดังกลาวบางที่ไมสามารถที่จะติดตั้งสายสัญญาณได
• ความสะดวกในการจัดตั้งและจัดการงาย เนื่องจากระบบเครือขายไรสายไมตองติดตั้ง
สายสัญญาณ ทําใหเวลาในการติดตั้งเร็วขึ้นและไมตองจัดการสายสัญญาณ
• ความยืดหยุน (Flexibility) เทคโนโลยีไรสายทําใหระบบเครือขายไปถึงยังที่ที่
สายสัญญาณไมสามารถติดตั้งได
• ประหยัดคาใชจาย แมวาฮารดแวรของเครือขายไรสายจะมีราคาคอนขางสูง แตในบาง
กรณีคาติดตั้งสายสัญญาณอาจจะสูงกวาก็ได และในกรณีที่สายสัญญาณลาสมัยหรือ
เกาอาจตองมีการติดตั้งใหม ซึ่งถาใชระบบเครือขายก็ไมจําเปนตองกังวลในเรื่องนี้
• ความสามารถในการขยายเครือขาย (Scalability) ระบบเครือขายไรสายสามารถคอน
ฟกไดหลายโทโปโลยี และใชไดกับตั้งแตเครือขายขนาดเล็กจนไปถึงขนาดใหญ
ขอจํากัดการใชงาน Wi-Fi
อาจมีผูมาใช Internet ได ถาผูอื่นทราบ IP address ของเรา Security การเชื่อมตอกับเครือขายไร
สาย เราตอพิจารณาถึงเรื่องการรักษาความปลอดภัยของขอมูล ซึ่งถึงวาเปนเรื่องที่ สําคัญมากยิ่งกวาใน
กรณีของเครือขายคอมพิวเตอรที่ใชสายตอทั่วไป เนื่องจากการเปดกวางของเครือขายซึ่งผูใดก็ตาม ที่มี
เครื่องคอมพิวเตอรที่ติดตั้งอุปกรณ NIC ตางก็มีโอกาสเชื่อมตอเขาสูระบบเครือขายคอมพิวเตอรไดเทา
เทียมกัน ไมวาจะเปนเครือขายที่ตั้งใจเปดใหบริการกับสาธารณะ ไปจนถึงเครือขายเฉพาะองคกร
เครือขาย LAN ทั่วไปที่ใชสาย สัญญาณในการเชื่อมตอจะมีความปลอดภัยมากกวาเนื่องจากผูดูแลระบบ
สามารถควบคุมพอรตเชื่อมตอไดตามความ ตองการ ดังนั้นจึงมีการวางขอกําหนดตาง ๆ ขึ้นสําหรับ
เครือขายไรสาย โดยมีจุดประสงคเพื่อปองกันการลักลอบโจรกรรมขอมูลภายในเครือขายสวนบุคคล
แนวทางในการรักษาความปลอดภัยที่สามารถเลือกใชไดมีอยูหลายประการ ดวยกันใชขีดความสามารถ
ของมาตรฐาน IEEE 802.11 โดยจํากัดการติดตอเขาสูระบบเครือขายคอมพิวเตอรใหกับ เครื่อง
คอมพิวเตอรแตละเครื่อง ทั้งนี้พิจารณาจากเลขหมาย SSID (Service Set Identifier) รวมกับแอดเดรส
MAC (Media Access Control) นอกจากนั้นยังสามารถใชคุณสมบัติ WEP (Wired Equivalent Privacy)
การรักษาความปลอดภัยในลักษณะนี้ก็คือ การกําหนดระดับการรักษาความปลอดภัยใหกับอุปกรณ
AP (Access Point) แตละชุดโดยอางอิงแอดเดรส MAC ซึ่งเปนหมายเลขเฉพาะที่ถูกกําหนดตายตัว
ใหกับอุปกรณสื่อ สารตางๆ บนเครือขาย LAN โดยผูผลิตอุปกรณ
ความปลอดภัย ( Wi-Fi Security )
การใชงานของ Wi-Fi ,นั้นมีทั้งขอดีและขอเสียแตไมควรลืมถึงการรักษาความปลอดภัยใหระบบ
เครือขายแบบไรสาย (WLAN) ในปจจุบัน ไดรับความนิยมมากขึ้นจากผูใชงานที่อยูใน องคกร, offices,
บาน หรือตามจุดใหบริการอินเทอรเน็ตสาธารณะ (Hot Spot) เนื่องจากใหความสะดวกสบายในการ
เชื่อมตอโดยไมตองอยูตามตําแหนงตามจุดที่ใหบริการ การเชื่อมตอระบบตามแบบเดิมที่เปนระบบ
เครือขายแบบมีสาย (LAN) แตเพราะความสะดวกสบายในการใชงานทําใหผูใชงานระบบเครือขายแบบ
ไรสายสวนใหญละเลยหรือไมไดตระหนักในเรื่องของความปลอดภัยในการใชงาน ดวยเทคโนโลยี
Wi-Fi มีจุดออนในเรื่องของมาตรการรักษาความปลอดภัย ที่เกิดจากการลักลอบเขาใชเครือขายโดย
บุคคลที่สามซึ่งอาจใชเครื่องรับสงสัญญาณและซอฟทแวรบางชนิดบนเครื่องคอมพิวเตอร มาตรฐาน
การรักษาความปลอดภัยที่มีมาพรอมกับ Wi-Fi ซึ่งมีชื่อเรียกวา WEP (Wired Equivalent Privacy) ไม
สามารถปองกันการลักลอบเขาใชงานเครือขายคอมพิวเตอรโดยผานทาง AP ไดแตอยางไร ซึ่ง IEEE ก็
มีแผนการพัฒนาขอกําหนดมาตรฐาน IEEE802.11i ซึ่งนํามาตรการเขารหัสขอมูล (Coding) และการ
ตรวจยืนยันเพื่อตัวผูใชงาน (Authentication) ที่มีความซับซอน เพื่อรักษาความปลอดภัยใหกับเครือขาย
โดยใชเทคโนโลยี AES (Advanced Encryption Standard) มาเสริมความสามารถใหกับทั้งมาตรฐาน
IEEE802.11a, 802.11b และ 802.11g
มาตรฐาน อัตราเร็วในการ
สื่อสาร
เทคนิคการมอดูเลต การปองกันภัย
IEEE 802.11 สูงถึง 2 Mbps
ที่ยานความถี่ 2.4 GHz
FHSS หรือ DSSS WEP และ WPA
IEEE 802.11a
(Wi-Fi)
สูงถึง 54 Mbps
ที่ยานความถี่ 5 GHz
OFDM WEP และ WPA
IEEE 802.11b
(Wi-Fi)
สูงถึง 11 Mbps
ที่ยานความถี่ 2.4 GHz
DSSS WEP และ WPA
IEEE 802.11g
(Wi-Fi)
สูงถึง 54 Mbps
ที่ยานความถี่ 2.4 GHz
OFDM ที่อัตราเร็วต่ํากวา 20 Mbps
และ DSSS ที่อัตราเร็วต่ํากวา 20 Mbps
WEP และ WPA
IEEE 802.16
(WiMAX)
ตามกําหนดใน
มาตรฐาน WiMAX
โดยใชความถี่ยาน 10 –
66 GHz
OFDM DES3 และ AES
IEEE 802.16a
(WiMAX)
เพิ่มยานความถี่ใชงาน
ในชวง 2-11 GHz
OFDM DES3 และ AES
Bluetooth สูงถึง 2 Mbps
ที่ยานความถี่ 2.45 GHz
FHSS PPTP, SSL หรือ VPN
รูปที่ 5 ตารางเปรียบเทียบมาตรฐาน WLAN ทั้งหมด
ที่มา : http://www.pairoj.com
สรุป
WiFi (wireless fidelity) เปนเครือขายไรสายมีอัตราการเติบโตเพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็ว
นับตั้งแตมาตรฐาน IEEE 802.11 เกิดขึ้น เครือขายไรสายก็ไดรับการปรับปรุงและพัฒนามาอยาง
ตอเนื่อง จนกระทั่งปจจุบันเครือขายไรสายสามารถใชงานไดดวยความสะดวก และมีความปลอดภัย
สูงขึ้นมาก นอกจากนั้นก็ยังใหอัตราความเร็วของการสื่อสารที่เพิ่มสูงขึ้นจนสามารถตอบรับกับการใช
งานในดานตางๆ ไดเปนอยางดี ไมวาจะเปนการใชงานอินเทอรเน็ตความเร็วสูงเครือขายไรสายชวยให
ผูใชงานไดรับความสะดวก สามารถปรับเปลี่ยน เคลื่อนยาย ขยายขนาดไดตลอดเวลา ดวยความ
สะดวกสบายของเครือขายไรสายทําใหไดรับการยอมรับจากผูใชเพิ่มมากขึ้นและมีพัฒนาการอยางไม
หยุดยั้ง
Wireless Fidelity หรือที่รูจักกันในนาม 802.11 หรือ Wi-Fi เปนสิ่งที่ไดรับการพัฒนาเพื่อชวย
ใหนักเลนเน็ตไมตองติดอยูกับที่ทํางาน และทําใหสามารถเชื่อมตออินเทอรเน็ตไดทุกที่ Wi-Fi ใช
สัญญาณวิทยุกําลังต่ําแทนที่จะใชสายเคเบิลในการเชื่อมตอเครื่องคอมพิวเตอรกับอุปกรณตาง ๆ ในการ
เขาอินเทอรเน็ต
ในปจจุบันWiFi เปนเทคโนโลยีแบบไรสายที่มีประสิทธิภาพสูง มีอัตราความเร็วในการรับสง
ขอมูล ทําใหผูใชงานคลองตัวมากขึ้นในการทํางานนอกสถานที่ ซึ่งผลที่ตามมาก็คือมีประสิทธิภาพที่
สูงขึ้นในการติดตอระยะไกล ๆ และมีการขยายเครือขายในเขาถึงพื้นที่ที่อยูหางไกลมากขึ้นดวยอีกทั้ง
ประโยชนที่ตามมาก็จะเกิดขึ้นกับผูใชงาน ที่จะมีโอกาสไดใชเครือขายสื่อสารแบบไรสายมีความเร็วสูง
ไดอยางเทาทั่วถึงและเทาเทียมกันรวมกับการใชงานก็มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นดวย
เอกสารอางอิง
จตุชัย แพงจันทรและอนุชิต วุฒิพรพงษ. (2546). เจาะระบบเน็ตเวิรค. นนทะบุรี:
ไอดีซี อินโฟ ดิสทริบิวเตอร เซ็นเตอร.
โอภาส เอี่ยมสิริวงศ. (2548). เครือขายคอมพิวเตอรและการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: เอช. เอ็น. กรุป.
สัลยุทธ สวางวรรณ. (2547). เครือขายไรสาย ( Wireless Network ). กรุงเทพฯ: เพียรสัน เอ็ด
ดูเคชั่น อินโดไชนา.
ไพโรจน ไววานิชกิจ. (2548). เทคโนโลยี WiFi กับขอจํากัดในทางปฏิบัติ. : http://www.pairoj.com/
http://thaicert.nectec.or.th/wifi.pdf
http://www.thaiwirelesslan.com/modules.php

More Related Content

What's hot

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไร้สา1
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไร้สา1ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไร้สา1
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไร้สา1chrisman77
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตgasnaja
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตThanisorn Deenarn
 
วิธีการเชื่อมต่อ Internet
วิธีการเชื่อมต่อ Internetวิธีการเชื่อมต่อ Internet
วิธีการเชื่อมต่อ InternetLaughter' Meepoom
 
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407Pitchayut Wongsriphuak
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
Tu153 บทที่ 8 2/2560
Tu153 บทที่ 8 2/2560Tu153 บทที่ 8 2/2560
Tu153 บทที่ 8 2/2560Kasidit Chanchio
 
ระบบเครือข่ายไร้สาย Ppt
ระบบเครือข่ายไร้สาย Pptระบบเครือข่ายไร้สาย Ppt
ระบบเครือข่ายไร้สาย Ppttaenmai
 
ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์IS UP
 

What's hot (14)

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไร้สา1
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไร้สา1ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไร้สา1
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไร้สา1
 
ส่ง
ส่งส่ง
ส่ง
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
วิธีการเชื่อมต่อ Internet
วิธีการเชื่อมต่อ Internetวิธีการเชื่อมต่อ Internet
วิธีการเชื่อมต่อ Internet
 
Ieee802wireless
Ieee802wirelessIeee802wireless
Ieee802wireless
 
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
Tu153 บทที่ 8 2/2560
Tu153 บทที่ 8 2/2560Tu153 บทที่ 8 2/2560
Tu153 บทที่ 8 2/2560
 
ระบบเครือข่ายไร้สาย Ppt
ระบบเครือข่ายไร้สาย Pptระบบเครือข่ายไร้สาย Ppt
ระบบเครือข่ายไร้สาย Ppt
 
ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
123
123123
123
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
Wifi
WifiWifi
Wifi
 

Viewers also liked

Mariagede kennedyphotosdartistes
Mariagede kennedyphotosdartistesMariagede kennedyphotosdartistes
Mariagede kennedyphotosdartistesBernard Aboab
 
Nuclear energy
Nuclear energyNuclear energy
Nuclear energycdenef
 
Energy costs
Energy costsEnergy costs
Energy costscdenef
 
Climate change: Changes in the atmosphere
Climate change: Changes in the atmosphereClimate change: Changes in the atmosphere
Climate change: Changes in the atmospherecdenef
 
Fossil energy
Fossil energyFossil energy
Fossil energycdenef
 
Climate change: Changes in the biosphere
Climate change: Changes in the biosphereClimate change: Changes in the biosphere
Climate change: Changes in the biospherecdenef
 
Renewable energy
Renewable energyRenewable energy
Renewable energycdenef
 
climate change in the past: Palaeoclimate
climate change in the past: Palaeoclimateclimate change in the past: Palaeoclimate
climate change in the past: Palaeoclimatecdenef
 
Changes in the atmosphere
Changes in the atmosphereChanges in the atmosphere
Changes in the atmospherecdenef
 
The importance of managing process and requirements
The importance of managing process and requirementsThe importance of managing process and requirements
The importance of managing process and requirementsJeff Herz
 
Climate change: changes in the cryosphere
Climate change: changes in the cryosphereClimate change: changes in the cryosphere
Climate change: changes in the cryospherecdenef
 
Energy in everyday life
Energy in everyday lifeEnergy in everyday life
Energy in everyday lifecdenef
 
Climate change summary and conclusions
Climate change summary and conclusionsClimate change summary and conclusions
Climate change summary and conclusionscdenef
 
Energy production & consumption
Energy production & consumptionEnergy production & consumption
Energy production & consumptioncdenef
 
Climate change: Extreme weather events
Climate change: Extreme weather eventsClimate change: Extreme weather events
Climate change: Extreme weather eventscdenef
 

Viewers also liked (18)

Châteaux de France
Châteaux de FranceChâteaux de France
Châteaux de France
 
Mariagede kennedyphotosdartistes
Mariagede kennedyphotosdartistesMariagede kennedyphotosdartistes
Mariagede kennedyphotosdartistes
 
Nuclear energy
Nuclear energyNuclear energy
Nuclear energy
 
mineralizaciopn
mineralizaciopnmineralizaciopn
mineralizaciopn
 
Energy costs
Energy costsEnergy costs
Energy costs
 
Climate change: Changes in the atmosphere
Climate change: Changes in the atmosphereClimate change: Changes in the atmosphere
Climate change: Changes in the atmosphere
 
Fossil energy
Fossil energyFossil energy
Fossil energy
 
Climate change: Changes in the biosphere
Climate change: Changes in the biosphereClimate change: Changes in the biosphere
Climate change: Changes in the biosphere
 
Renewable energy
Renewable energyRenewable energy
Renewable energy
 
climate change in the past: Palaeoclimate
climate change in the past: Palaeoclimateclimate change in the past: Palaeoclimate
climate change in the past: Palaeoclimate
 
Changes in the atmosphere
Changes in the atmosphereChanges in the atmosphere
Changes in the atmosphere
 
The importance of managing process and requirements
The importance of managing process and requirementsThe importance of managing process and requirements
The importance of managing process and requirements
 
Climate change: changes in the cryosphere
Climate change: changes in the cryosphereClimate change: changes in the cryosphere
Climate change: changes in the cryosphere
 
Energy in everyday life
Energy in everyday lifeEnergy in everyday life
Energy in everyday life
 
Climate change summary and conclusions
Climate change summary and conclusionsClimate change summary and conclusions
Climate change summary and conclusions
 
Bon a savoir 1
Bon a savoir 1Bon a savoir 1
Bon a savoir 1
 
Energy production & consumption
Energy production & consumptionEnergy production & consumption
Energy production & consumption
 
Climate change: Extreme weather events
Climate change: Extreme weather eventsClimate change: Extreme weather events
Climate change: Extreme weather events
 

Similar to Wifi

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPop Cholthicha
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPop Cholthicha
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPop Cholthicha
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPop Cholthicha
 
C:\Fakepath\ระบบเครือข่ายไร้สาย Ppt
C:\Fakepath\ระบบเครือข่ายไร้สาย PptC:\Fakepath\ระบบเครือข่ายไร้สาย Ppt
C:\Fakepath\ระบบเครือข่ายไร้สาย Ppttaenmai
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตapisak smutpha
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตapisak smutpha
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดnoooom
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์jansaowapa
 
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์xsitezaa
 

Similar to Wifi (20)

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
S1 Wireless fidelity
S1 Wireless fidelityS1 Wireless fidelity
S1 Wireless fidelity
 
C:\Fakepath\ระบบเครือข่ายไร้สาย Ppt
C:\Fakepath\ระบบเครือข่ายไร้สาย PptC:\Fakepath\ระบบเครือข่ายไร้สาย Ppt
C:\Fakepath\ระบบเครือข่ายไร้สาย Ppt
 
405609008 2
405609008 2405609008 2
405609008 2
 
อุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสารอุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสาร
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนด
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Work4 48
Work4 48Work4 48
Work4 48
 
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
 
5630504218
56305042185630504218
5630504218
 
M5 3 2 20 22
M5 3 2 20 22M5 3 2 20 22
M5 3 2 20 22
 

Wifi

  • 1. บทคัดยอ Wi-Fi (wireless fidelity) เปนเทคโนโลยีใหม ในปจจุบันระบบเครือขายไรสายสาธารณะ ไดรับความนิยมกันอยางมาก ทําใหผูใชไดรับความสะดวกสบาย ในการติดตออินเตอรเน็ตดวยความเร็ว สูงมากผานเครือขายไรสายในขณะที่ผูใชเดินทางไปนอกสถานที่ก็สามารถสื่อสารกันได Wi-Fi ก็คือ เทคโนโลยีสําหรับรอดแบนดไรสาย ที่ทดสอบผลิตภัณฑ Wireless Lan หรือระบบ Network แบบไรสาย ภายใตเทคโนโลยีการสื่อสาร มาตราฐาน IEEE 802.11 ซึ่งก็ไดมีการพัฒนากันมา เรื่อยๆ จาก IEEE 802.11 ธรรมดามาเปน 802.11b 802.11a 802.11g ขึ้นซึ่งจะตางกันเรื่องของความเร็ว ในการรับสงขอมูลเปนหลัก วาอุปกรณทุกตัวซึ่งตางยี่หอกันนั้นมันสามารถติดตอสื่อสารกันไดโดยไมมี ปญหา บทความนี้นําเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับเทคโนโลยีของ Wi-Fi เครือขายไรสายและหลักการพื้นฐาน ของระบบเครือขายสาธารณะรวมถึงประเด็นการรักษาความปลอดภัย อีกทั้งมีโครงสรางเครือขายที่มี ความปลอดภัยโดยใช ซอรฟแวรที่เปน Open Source ซึ่งประกอบไปดวย hotspot gateway ระบบการ พิสูจนตัวตน (Authentication System) รวมทั้ง Virtual Private Network โซลูชั่นที่นําเสนอในบทความ นี้สามารถนํามาใชทดแทนอุปกรณเครือขายที่มีราคาแพง และนอกจากนั้นระบบยังมีขีดความสามารถที่ ใหความปลอดภัย สะดวก แกผูใชเครือขายไรสายสาธารณะได และมีบทสรุปเพื่อใหผูอานเกิดความรู ความเขาใจเกี่ยวกับเทคโนโลยี Wi-Fi ไปประยุกตใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ
  • 2. เทคโนโลยี WiFi (wireless fidelity) บทนํา ในชวงหลายปที่ผานมาไดมีการพัฒนาแบบกาวกระโดดของระบบคอมพิวเตอร โดยเฉพาะการ พัฒนาทางดานเน็ตเวิรก ไมวาจะเปนความเร็วในการสื่อสาร รูปแบบการใหบริการใหมๆ ความงายใน การเชื่อมตอ การพัฒนาแบบกาวกระโดดนี้มีผลจากการใชงานของผูใชมากขึ้น รวมถึงผูใหบริการตางๆ ไดจัดบริการใหม ๆ ที่รองรับการทํางานบนอินเทอรเน็ตมากขึ้น สิ่งเหลานี้จึงเปนแรงผลักดันใหการ พัฒนาทางดานเน็ตเวิรกรวดเร็วมากขึ้น และใกลตัวผูใชมากขึ้นดวยเชนกันการเจริญเติบโตของเครือขาย ไรสายเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว ระบบเครือขายไรสายไดถูกพัฒนาอยางตอเนื่อง ปจจุบันมีการนําเทคโนโลยี สารสนเทศและเทคโนโลยีการสื่อสาร (Information and Communication Technology) มาใชกันมาก ไมวาจะเปน Wireless Lan Wimax แตในที่นี้จะกลาวถึง Wi-Fi ก็เปนอุปกรณหนึ่งที่มีความเร็วสูงใชตอ กับอินเทอรเน็ตสามารถเชื่อมตอกับอินเทอรเน็ตไดโดยผานอุปกรณที่เรียกวาแอคเซสพอยต และบริเวณ ที่ระยะทําการของแอคเซสพอยตครอบคลุมอยูเรียกวา ฮอตสปอต จึงทําใหสะดวกแกผูใชใน ทุกที่ (Anywhere) ทุกเวลา (Anytime) ทุกสถานที่ (Anyplace) Wi-Fi เปนเครือขายไรสายสามารถใชงานได สะดวกและมีความปลอดภัยมากขึ้นจึงสนองความตองการของผูใชไดเปนอยางดี Wi-Fi คือ องคกรหนึ่งที่ทําการทดสอบผลิตภัณฑ Wireless LAN หรือระบบ Network แบบไร สาย ดวยเทคโนโลยีการสื่อสารภายใตมาตรฐาน IEEE 802.11 ซึ่งอุปกรณทุกตัวที่ตางยี่หอกันนั้นจะ สามารถติดตอสื่อสารกันไดโดยไมประสบปญหา หากอุปกรณนั้นผานตามเกณฑมาตรฐานก็จะมีการ ประทับตรา Wi-Fi Certified ซึ่งหมายความวา อุปกรณตัวนี้สามารถเชื่อมตอแบบไรสายกับ อุปกรณอื่น ที่มีตรา Wi-Fi Certified ได แลวจึงกลายมาเปนคําศัพทของอุปกรณ LANไรสาย Wi-Fi (wireless fidelity "วายฟาย") หมายถึงชุดผลิตภัณฑตางๆ ที่สามารถใชไดกับมาตรฐาน เครือขายคอมพิวเตอรแบบไรสาย (WLAN) ซึ่งอยูบนมาตรฐาน IEEE 802.11เดิมที Wi-Fi ถูกออกแบบ มาใชสําหรับอุปกรณพกพาตางๆ และใชเครือขาย LAN เทานั้น แตปจจุบันที่นิยมใช Wi-Fi เพื่อตอกับ อินเทอรเน็ต โดยอุปกรณพกพาตาง ๆ สามารถเชื่อมตอกับอินเทอรเน็ตไดผานอุปกรณที่เรียกวาแอคเซส พอยต และบริเวณที่ระยะทําการของแอคเซสพอยตครอบคลุมเรียกวา ฮอตสปอต สุนิตรา หาดเนิน เรียบเรียง
  • 3. Throughput Range Frequency Hot-spot access Power drain Interference risk Cost 802.11b 5Mbps 150 feet 2.4GHz Excellent Moderate High Low 802.11g 20Mbps 150 feet 2.4GHz Excellent Moderate High Moderate 802.11a 22Mbps 100 feet 5GHz Poor High Low High Dual band 22Mbps 150 feet 2.4GHz 5GHz Excellent Moderate Low High Bluetooth 500Kbps 30 feet 2.4GHz Poor Low High Moderate รูปที่ 1ตารางความแตกตางของเทคโนโลยี WiFi ที่มา : http://www.mrpalm.com Hotspot เปนบริการ อินเตอรเน็ตสาธารณะไรสายความเร็วสูง ดวยเทคโนโลยีของ Wireless LAN หรือที่เรียกกันวา Wi-Fi ซึ่งในปจจุบันมีการใหบริการกันมากขึ้นเรื่อย ๆ ตามแหลงชุมชน ตางๆ การใชบริการ Hotspot นี้ อาจจะตองลงทุนสูง เพราะสองสิ่งหลักที่เราตองมีก็คือ เครื่องคอมพิวเตอร Notebook หรือ PDA และ Wireless LAN Card แตหาก Notebook หรือ PDA บางรุนมี Wi-Fi ในตัวก็ สบายไมตองหาซื้ออุปกรณเพิ่ม Wi-Fi สาธารณะ Wi-Fi public hotspot คือ จุดที่ใหบริการ อินเทอเนตไรสาย เพื่อใหบุคคล ทั่วไปไดตอใชงาน จุดที่ใหบริการมักจะเปนพื้นที่สาธารณะที่คาดวาจะมีผูมาใชบริการเปนจํานวนมาก Hotspot gateway เปนสวนประกอบหลักของ public hotspot หนาที่ของ hotspot gateway มี ดังตอไปนี้ • Access control หรือ gatekeeper • การพิสูจนตัวตน (user authentication) • การกําหนด IP address ใหกับ ผูใช • การกําหนดระยะเวลา และ bandwidth ของ ผูใช ระบบเครือขายไรสายสามารถแบงไดออกเปน 3 แบบ คือ 1. การเชื่อมตอระหวางระบบ 2. ระบบเครือขายเฉพาะบริเวณแบบไรสาย 3. ระบบเครือขายวงกวางแบบไรสาย
  • 4. - การเชื่อมตอระหวางระบบ ( System Interconnection ) หมายถึง การเชื่อมตอสวนประกอบ ของระบบคอมพิวเตอรโดยการใชสัญญาณวิทยุระยะสั้น ( Short-rang radio ) ระบบคอมพิวเตอรเกือบ ทุกระบบประกอบดวยจอภาพ แปนพิมพ เมาส และเครื่องปริ้นเตอร ที่เชื่อมตอเขากับเครื่อง คอมพิวเตอรหลัก ( Main Unit ) ดวยสายเคเบิ้ล ผูที่เริ่มตนใชคอมพิวเตอรมือใหมมักจะประสบปญหา ในการเชื่อมตอสายเคเบิ้ลและอุปกรณตาง ๆ เขาดวยกัน มีออกแบบระบบเครือขายไรสายโดยการใช สัญญาณวิทยุระยะสั้นเรียกวา บลูทูธ ( Bluetooth ) เพื่อนํามาใชในการเชื่อมตออุปกรณคอมพิวเตอร ทั้งหมดเขาดวยกันโดยไมตองใชสายเคเบิ้ล บลูทูธ ยังสามารถนํามาใชในการเชื่อมตออุปกรณดิจิตอล อื่น ๆ เชน กลองดิจิตอล ชุดหูฟง และเครื่องกราดภาพ เปนตน เขากับเครื่องคอมพิวเตอรโดยการเพียง แคนําอุปกรณนั้นมาวางไวใกล ๆ เทานั้น - ระบบเครือขายแบบที่สองคือ ระบบเครือขายเฉพาะบริเวณแบบไรสาย ( Wireless LAN ) หมายถึงระบบเครือขายเฉพาะบริเวณที่คอมพิวเตอรทุกเครื่องในระบบนั้นใชอุปกรณโมเด็มไรสายและ สายอากาศเพื่อใชในการสื่อสารกับคอมพิวเตอรเครื่องอื่น โดยทั่วไปจะมีสายอากาศที่แขวนอยูบน เพดานเพื่อใหคอมพิวเตอรแตละเครื่องติดตอสื่อสารดวย ระบบเครือขายเฉพาะบริเวณแบบไรสายกําลัง ไดรับความนิยมในการนํามาใชงานมากในปจจุบันทั้งในสํานักงานขนาดเล็ก ตามบาน รวมทั้งสํานักงาน เกาที่ซึ่งการเดินสายเคเบิ้ลนั้นมีความยุงยากหรือไมอาจกระทําได - ระบบเครือขายไรสายแบบที่สาม คือ ระบบเครือขายวงกวางแบบไรสาย ( Wireless LAN ) ระบบเครือขายทองถิ่นไรสาย คือ ระบบสื่อสารที่มีความยืดหยุนสูง สวนใหญนิยมติดตั้งเพิ่มเติมหรือ แทนที่ระบบเครือขายทองถิ่นแบบใชสายสัญญาณ ระบบเครือขายทองถิ่นไรสายจะใชคลื่นวิทยุ หรือ RF (Radio Frequency) เปนสัญญาณและใชอากาศเปนตัวนําสัญญาณ ทําใหลดสายสัญญาณที่ใช ปจจุบัน เครือขายทองถิ่นไรสายสามารถรับสัญญาณถึง 54 Mbps ซึ่งมีความเร็วกวาอีเธอรเน็ตแบบ 10Base-T ประโยชนที่สําคัญของการใชระบบนี้คือ ความสะดวกในการเคลื่อนยายคอมพิวเตอรใน เครือขาย ปจจุบันระบบเครือขายไรสายกําลังไดรับความนิยมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะในองคกรที่ ใชคอมพิวเตอรโนตบุค ซึ่งสวนใหญจะมีการเคลื่อนยายบอย
  • 5. เทคโนโลยี Wi-Fi คืออะไร Technology Wi-Fi and IP Telephony” Wi-Fi เปนเทคโนโลยีที่ไดรับความนิยมอยางมาก อัน เนื่องมากจากความอิสระในการใชและ Hot Spotที่เพิ่มมากขึ้นไมเฉพาะแตในที่ทํางานหรือในบานแตยัง แพรหลายไปถึงแหลงชุมชนตางๆ ปจจุบันมาตารฐาน Wi-Fi สามารถสงขอมูลไดที่ความเร็วถึง 54 Mbps และครอบคลุมพื้นที่ถึง 50 ฟุต (ที่ 11Mbps 802.11g) และในอนาคตยังมีมาตารฐาน Wi-Max ที่ เพิ่มระยะทางถึง 30 ไมล แมวามาตรฐานจะยังไมออกมาแตผูผลิตอยาง Intel ก็เริ่มสรางชิปออกมาแลว อยางไรก็ตาม 3G คงจะเปนคูแขงที่สําคัญ และเหลานี้เปนสิ่งที่เราควรจะจับตามอง มันเปนสิ่งที่นาสนใจ มากถาหากจะพัฒนาสรางapplication ของ Wi-Fiผนวกลงในโทรศัทพเคลื่อนที่ซึ่งใชกันแพรหลายมาก ในประเทศไทยหรือผนวกกับเทคโนโลยี VoIP หรือ IP Telephony เพื่อใหการติดตอระหวางโทรศัพท บานติดตอกับ IP Phone หรือให IP Phone ติดตอกับโทรศัพทมือถือไดเปนการเพิ่มโอกาสทางการวิจัย และธุรกิจที่จะเปดตลาดใหมถึงอนาคตของเทคโนโลยี Wireless LAN กับ IP Telephonyและการ ประยุกตใชในอนาคต เทคโนโลยี Wi-Fi ใชคลื่นวิทยุความถี่สูงสําหรับรับสงขอมูลภายในเครือขายคอมพิวเตอร เครื่องคอมพิวเตอรที่สามารถใชงาน Wi-Fi ไดตองมีการติดตั้งแผงวงจรหรืออุปกรณรับสง Wi-Fi ซึ่งมี ชื่อเรียกวา Network Interface Card (NIC) แตปจจุบันเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุคที่มีจําหนายใน ทองตลาดมักไดรับการติดตั้งชิปเซ็ต (Chipset) ที่ทําหนาที่เปนตัวรับสงสัญญาณ Wi-Fi ไปในตัว ทําให สะดวกตอการนําไปใชงานมากขึ้น การติดตอสื่อสารดวยเทคโนโลยี Wi-Fi ทําไดทั้งแบบเชื่อมตอ โดยตรงระหวางเครื่องคอมพิวเตอร โดยไมตองผานอุปกรณตัวกลาง (Ad-hoc) และแบบที่ผานอุปกรณ จุดเชื่อมตอ (Access Point) เนื่องจากการติดตั้งเครือขาย Wi-Fi ทําไดงายและไมตองใชความรูในมากนัก ทางดานเครือขาย แมจะมีพื้นที่ครอบคลุมในระยะทางจํากัด แตก็ถือวาเพียงพอที่ตอการใชงานใน สํานักงานและบานพักอาศัยโดยทั่วไป จึงทําใหผูคนทั่วไปนิยมใชงาน Wi-Fi กันมาก สงผลใหเกิดการ ขยายตัวของตลาดผูบริโภคอยางรวดเร็วในปจจุบัน
  • 6. รูปที่ 2 แสดงแผนภาพระบบ WiFi ที่มา : http://www.mrpalm.com เทคโนโลยี Wi-Fi มีการพัฒนามาตามยุคสมัย เริ่มจากขอกําหนดมาตรฐานเครือขายไรสาย • มาตรฐาน IEEE 802.11 เครือขายไรสายมาตรฐาน IEEE 802.11 เปนผลิตภัณฑเครือขายไร สายในสวนของ PHY Layer นั้นมีความสามารถในการรับสงขอมูลที่ความเร็ว 1, 2, 5.5, 11 และ 54 เม กะบิตตอวินาที โดยมีสื่อนําสัญญาณ 3 ประเภทใหเลือกใชงานอันไดแก คลื่นวิทยุยานความถี่ 2.4 กิกะ เฮิรตซ, 2.5 กิกะเฮิรตซและคลื่นอินฟาเรด สวน.ในระดับชั้น MAC Layer นั้นไดกําหนดกลไกของการ ทํางานแบบ CSMA/CA (Carrier Sense Multiple Access/Collision Avoidance) ซึ่งมีความคลายคลึงกับ CSMA/CD (Collision Detection) ของมาตรฐาน IEEE 802.3 Ethernet ซึ่งนิยมใชงานบนระบบเครือขาย แลนใชสาย โดยมีกลไกในการเขารหัสขอมูลกอนแพรกระจายสัญญาณไปบนอากาศ พรอมกับมี ตรวจสอบผูใชงานอีกดวย มาตรฐาน IEEE 802.11 ในยุคเริ่มแรกนั้นใหประสิทธิภาพการทํางานที่ คอนขางต่ํา ทั้งไมมีการรับรองคุณภาพของการใหบริการที่เรียกวา QoS (Quality of Service) ซึ่งมี ความสําคัญในสภาพแวดลอมที่มีแอพพลิเคชันหลากหลายประเภทใหใชงาน นอกจากนั้นกลไกในเรื่อง การรักษาความปลอดภัยที่นํามาใชก็ยังมีชองโหวจํานวนมาก IEEE จึงไดจัดตั้งคณะทํางานขึ้นมาหลาย ชุดดวยกันเพื่อทําการพัฒนาและปรับปรุงมาตรฐานใหมีศักยภาพเพิ่มสูงขึ้น
  • 7. • มาตรฐาน IEEE 802.11aเปนมาตรฐานที่ไดรับการตีพิมพและเผยแพรเมื่อป พ.ศ. 2542 โดย ใชเทคโนโลยี OFDM (Orthogonal Frequency Division Multiplexing) เพื่อพัฒนาใหผลิตภัณฑไรสายมี ความสามารถในการรับสงขอมูลดวยอัตราความเร็วสูงสุด 54 เมกะบิตตอวินาที โดยใชคลื่นวิทยุยาน ความถี่ 5 กิกะเฮิรตซ ซึ่งเปนยานความถี่ที่ไมไดรับอนุญาตใหใชงานโดยทั่วไปในประเทศไทย เนื่องจาก สงวนไวสําหรับกิจการทางดานดาวเทียม ขอเสียของผลิตภัณฑมาตรฐาน IEEE 802.11a ก็คือมีรัศมีการ ใชงานในระยะสั้นและมีราคาแพง ดังนั้นผลิตภัณฑไรสายมาตรฐาน IEEE 802.11aจึงไดรับความนิยม นอย • มาตรฐานIEEE802.11b เปนมาตรฐานที่ถูกตีพิมพและเผยแพรออกมาพรอมกับมาตรฐาน IEEE 802.11a เมื่อป พ.ศ. 2542 ซึ่งเปนที่รูจักกันดีและไดรับความนิยมในการใชงานกันอยางแพรหลาย มากที่สุด ผลิตภัณฑที่ออกแบบมาใหรองรับมาตรฐาน IEEE 802.11b ใชเทคโนโลยีที่เรียกวา CCK (Complimentary Code Keying) รวมกับเทคโนโลยี DSSS (Direct Sequence Spread Spectrum) เพื่อให สามารถรับสงขอมูลไดดวยอัตราความเร็วสูงสุดที่ 11 เมกะบิตตอวินาที โดยใชคลื่นสัญญาณวิทยุยาน ความถี่ 2.4 กิกะเฮิรตซ ซึ่งเปนยานความถี่ที่อนุญาตใหใชงานในแบบสาธารณะทางดานวิทยาศาสตร อุตสาหกรรม และการแพทย โดยผลิตภัณฑที่ใชความถี่ยานนี้มีชนิด ทั้งผลิตภัณฑที่รองรับเทคโนโลยี Bluetooth, โทรศัพทไรสายและเตาไมโครเวฟ จึงทําใหการใชงานนั้นมีปญหาในเรื่องของสัญญาณ รบกวนของผลิตภัณฑเหลานี้ ขอดีของมาตรฐาน IEEE 802.11b ก็คือ สนับสนุนการใชงานเปนบริเวณ กวางกวามาตรฐาน IEEE 802.11a ผลิตภัณฑมาตรฐาน IEEE 802.11b เปนที่รูจักในเครื่องหมายการคา Wi-Fi ซึ่งกําหนดขึ้นโดย WECA (Wireless Ethernet Compatability Alliance) โดยผลิตภัณฑที่ไดรับ เครื่องหมาย Wi-Fi ไดผานการตรวจสอบและรับรองวาเปนไปตามขอกําหนดของมาตรฐาน IEEE 802.11b ซึ่งสามารถใชงานรวมกันกับผลิตภัณฑของผูผลิตรายอื่นๆได • มาตรฐานIEEE802.11gเปนมาตรฐานที่นิยมใชงานกันมากในปจจุบัน และไดเขามาทดแทน ผลิตภัณฑที่รองรับมาตรฐาน IEEE 802.11b เนื่องจากสนับสนุนอัตราความเร็วของการรับสงขอมูลใน ระดับ 54 เมกะบิตตอวินาที โดยใชเทคโนโลยี OFDM บนคลื่นสัญญาณวิทยุยานความถี่ 2.4 กิกะเฮิรตซ และใหรัศมีการทํางานที่มากกวา IEEE 802.11a พรอมความสามารถในการใชงานรวมกันกับมาตรฐาน IEEE802.11bได(Backward-Compatible) • มาตรฐาน IEEE 802.11e เปนมาตรฐานที่ออกแบบมาสําหรับการใชงานแอพพลิเคชัน ทางดานมัลติเมียอยาง VoIP (Voice over IP)เพื่อควบคุมและรับประกันคุณภาพของการใชงานตาม หลักการ QoS (Quality of Service) โดยการปรับปรุง MAC Layer ใหมีคุณสมบัติในการรับรองการใช งานใหมีประสิทธิภาพ
  • 8. • มาตรฐาน IEEE 802.11fมาตรฐานนี้เปนที่รูจักกันในนาม IAPP (Inter Access Point Protocol) ซึ่งเปนมาตรฐานที่ออกแบบมาสําหรับจัดการกับผูใชงานที่เคลื่อนที่ขามเขตการใหบริการของ Access Point ตัวหนึ่งไปยัง Access Point เพื่อใหบริการในแบบโรมมิงสัญญาณระหวางกัน • มาตรฐาน IEEE 802.11h มาตรฐานที่ออกแบบมาสําหรับผลิตภัณฑเครือขายไรสายที่ใชงาน ยานความถี่ 5 กิกะเฮิรตซ ใหทํางานถูกตองตามขอกําหนดการใชความถี่ของประเทศในทวีปยุโรป • มาตรฐาน IEEE 802.11i เปนมาตรฐานในดานการรักษาความปลอดภัยของผลิตภัณฑของ เครือขายไรสาย โดยการปรับปรุง MAC Layer เนื่องจากระบบเครือขายไรสายมีชองโหวมากมายในการ ใชงาน โดยเฉพาะฟงกชันการเขารหัสแบบ WEP 64/128-bit ซึ่งใชคียที่ไมมีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งไม เพียงพอสําหรับสภาพการใชงานที่ตองการในการรักษาความปลอดภัยของการสื่อสระดับสูง มาตรฐาน IEEE 802.11i จึงกําหนดเทคนิคการเขารหัสที่ใชคียชั่วคราวดวย WPA, WPA2 และการเขารหัสในแบบ AES(Advanced EncryptionStandard) ซึ่งมีความนาเชื่อถือสูง • มาตรฐาน IEEE 802.11kเปนมาตรฐานที่ใชจัดการการทํางานของระบบเครือขายไรสาย ทั้ง จัดการการใชงานคลื่นวิทยุใหมีประสิทธิภาพ มีฟงกชันการเลือกชองสัญญาณ, การโรมมิง และการ ควบคุมกําลังสง นอกจากนั้นก็ยังมีการรองขอ และปรับแตงคาใหเหมาะสมกับการทํางาน การหารัศมี การใชงานสําหรับเครื่องไคลเอนตที่เหมะสมที่สุดเพื่อใหระบบจัดการสามารถทํางานจากศูนยกลางได • มาตรฐาน IEEE 802.11n เปนมาตรฐานของผลิตภัณฑเครือขายไรสายที่คาดหมายกันวา จะ เขามาแทนที่มาตรฐานIEEE 802.11a, IEEE 802.11b และ IEEE 802.11g ที่ใชงานกันอยูในปจจุบัน โดย ใหอัตราความเร็วในการรับสงขอมูลในระดับ 100 เมกะบิตตอวินาที • มาตรฐาน IEEE 802.1x เปนมาตรฐานที่ใชงานกับระบบรักษาความปลอดภัย ซึ่งกอนเขาใช งานระบบเครือขายไรสายจะตองตรวจสอบสิทธิ์ในการใชงานกอนโดย IEEE 802.1x จะใชโพรโตคอล อยาง LEAP, PEAP, EAP-TLS, EAP-FAST ซึ่งรองรับการตรวจสอบผานเซิรฟเวอร เชน RADIUS, Kerberos เปนตน แตในปจจุบันมาตรฐานที่นิยมใชกันงานกันอยูจะเปนมาตรฐาน IEEE802.11g ซึ่งรองรับอัตรา ความเร็วสูงสุดในระดับ 54 เมกะบิตตอวินาที (Mbps) ซึ่งเพียงพอสําหรับการใชงานโดยทั่วๆ ไปใน ปจจุบันไดอยางดี พรอมกันนั้นก็ยังสนับสนุนการทํางานรวมกันกับมาตรฐานเดิมอยาง IEEE802.11b ไดอยางไรปญหา แตในขณะนี้ก็เริ่มที่จะเห็นผูผลิตหลายๆ รายตางสงผลิตภัณฑที่สนับสนุนเทคโนโลยี MIMO ออกมามากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งเปนที่คาดหมายกันวา ในอนาคตอันใกลนี้ เครือขายไรสายที่ใหแบนด วิดท, ใหประสิทธิภาพการใชงานที่มากกวาและมีรัศมีการทํางานที่ดีกวานั้นจะเขามาทดแทนมาตรฐาน
  • 9. IEEE 802.1g เดิม แตผลิตภัณฑที่จะใชงานคุณสมบัติเหลานี้ไดอยางเต็มพิกัดจะตองเปนอุปกรณจากซี รีสเดียวกัน ซึ่งตอนนี้ยังมีราคาแพงอยูมาก การเลือกใชอุปกรณสําหรับมาตรฐาน IEEE802.11g รูปแบบการเชื่อมตอเครือขายไรสาย รูปที่ 4 เครือขายไรสายของ Wireless LAN Technology ที่มา : http://www.thaihelp.net 1. Peer-to-peer ( ad hoc mode ) รูปแบบการเชื่อมตอระบบแลนไรสายแบบ Peer to Peer เปนลักษณะการเชื่อมตอแบบโครงขายโดยตรง ระหวางเครื่องคอมพิวเตอร จํานวน 2 เครื่องหรือมากกวานั้น เปนการใชงานรวมกันของ wireless adapter cards โดยไมไดมีการเชื่อมตอกับเครือขายแบบใชสายเลย โดยที่เครื่องคอมพิวเตอรแตละเครื่อง จะมีความเทาเทียมกัน สามารถทํางานของตนเองได และขอใชบริการเครื่องอื่นไดเหมาะสําหรับการ นํามาใชงานเพื่อจุดประสงคในดานความรวดเร็วหรือติดตั้งไดโดยงาย เมื่อไมมีโครงสรางพื้นฐานที่จะ รองรับ ยกตัวอยางเชน ในศูนยประชุม, หรือการประชุมที่จัดขึ้นนอกสถานที่ 2. Client/server (Infrastructure mode) ระบบเครือขายไรสายแบบ Client / server หรือ Infrastructure mode เปนลักษณะการรับสงขอมูลโดย อาศัย Access Point ( AP) หรือเรียกวา “Hot spot” ทําหนาที่เปนสะพานการเชื่อมตอระหวางระบบ เครือขายแบบใชสายกับเครื่องคอมพิวเตอรลูกขาย (client) โดยจะกระจายสัญญาณคลื่นวิทยุเพื่อ รับ-สง
  • 10. ขอมูลเปนรัศมีโดยรอบเครื่องคอมพิวเตอรที่อยูในรัศมีของ AP จะกลายเปน เครือขายกลุมเดียวกันทันที โดยเครื่องคอมพิวเตอร จะสามารถติดตอกัน หรือติดตอกับ Server เพื่อแลกเปลี่ยนและคนหาขอมูลได โดยตองติดตอผานAP เทานั้น 3. Multiple access points and roaming โดยทั่วไปแลว การเชื่อมตอสัญญาณระหวางเครื่องคอมพิวเตอร กับ Access Point ของเครือขายไรสาย จะอยูในรัศมีประมาณ 500 ฟุต ภายในอาคาร และ 1000 ฟุต ภายนอกอาคาร หากสถานที่ที่ติดตั้งมีขนาด กวางมากๆ 4. The Use of Directional Antennas ระบบแลนไรสายแบบนี้เปนแบบใชเสาอากาศในการรับสงสัญญาณระหวางอาคารที่อยูหางกัน โดยการ ติดตั้งเสาอากาศที่แตละอาคาร เพื่อสงและรับสัญญาณระหวางกัน 5. Client-to-Client Attacks client ไรสาย 2 ตัวสามารถจะคุยกันเองไดโดยตรง ไมจําเปนตองผาน access point และนั่นเปนชองโหว ที่อาจทําใหไฟลสําคัญรั่วไหลออกไปได การประยุกตใชงานของ Wi-Fi ปจจุบันอุปกรณคอมพิวเตอรตัวหนึ่งไดถูกกลาวถึงกันมากทีเดียว นั่นก็คือ Wireless Lan หรือ ระบบ Network ไรสายนั่นเอง ซึ่งเปนเทคโนโลยีที่สรางขึ้นมาภายใตมาตราฐาน IEEE 802.11b หรือที่ มักเรียกระบบไรสายนี้วา Wi-Fiและมาตราฐาน IEEE 802.11เทคโนโลยีไรสาย WLAN นี้มีขอกําหนด มาตรฐานในการสงขอมูลที่ความเร็ว1,2,5หรือ11MB/sในคลื่นความถี่ที่2.4GHz การสื่อสารชนิดนี้กําลัง ไดรับความนิยมสูงมากทีเดียวทั้งในตางประเทศและในประเทศไทยเอง ซึ่งคาดวาจะมีอัตราการเพิ่ม จํานวนมากขึ้นกวาเดิมถึง 6 เทาตัว และจํานวนสถานที่บริการที่ใหเชื่อมตอ Wi-Fiแบบสาธารณะก็จะมี เพิ่มขึ้นหลายเทาตัวทีเดียว ในบานเราเองสถานที่สําคัญตางๆ ก็ไดเริ่มมีบริการ Internet ไรสายดวย WIFI กันบางแลวเชน หางสรรพสินคา และสถานที่ราชการบางแหง เรื่องของเทคโนโลยีตัวนี้นาจับตา มองมากทีเดียวเพราะเปนกระแสที่คอนขางมาแรงมากตั้งแตเมื่อตนปจนถึงปจจุบัน และอุปกรณ เกี่ยวของกับการใชงานนี้ นับวันก็จะมีราคาถูกลงเรื่อย ๆ และมีการพัฒนาลูกเลนตางๆใหดีขึ้นเรื่อยๆอีก ดวย สําหรับการประยุกตใชงานเครือขายไรสายนับวามีอยางหลากหลาย ซึ่งพอจะยกตัวอยางไดตอไปนี้ - ผูใชงานตามบานเรือนที่พัก สามารถนําระบบเครือขายไรสายมาใชงานทั้งการแชรการใชงาน อินเทอรเน็ตรวมกัน และรับชมสื่อบันเทิงบนเครือขายอินเทอรเน็ตผานผลิตภัณฑไรสายแบบตางๆได จากทุกๆที่ภายในบริเวณบานโดยไมตองเดินสายนําสัญญาณใหยากลําบาก
  • 11. - ผูใชงานภายในองคกร สามารถนํามาใชเพื่อเพิ่มผลิตผลของการทํางานของพนักงาน ลด คาใชจายของการวางสายนําสัญญาณลง ใชขยายขอบเขตการใชงานเครือขายเดิมใหมีความยืดหยุน ใน กิจการโรงแรมสามารถใหบริการแกแขกผูมาเขาพักไดโดยสะดวก รานอาหารสามารถนํามาใชบริการ กับลูกคาที่เขามาสั่งอาหาร, ผูใหบริการอินเทอรเน็ตชวยลดคาใชจายในการเดินสายสัญญาณใหเขาถึงจุด บริการตางๆมากขึ้น และสามารถใหบริการในจุดบริการที่สายสัญญาณไมสามารถเขาถึงไดเชนกัน ผูบริหารระบบเครือขายสามารถเฝาตรวจสอบระบบ และปรับเปลี่ยนแกไขปญหาที่อาจเกิดขึ้นกับระบบ เครือขายจากจุดใดก็ไดทําใหสะดวกและรวดเร็วตอการจัดการมากขึ้น - ผูใชงานภายในสถานศึกษา สถานศึกษาสามารถใชเครือขายไรสายโดยใหนักศึกษาสามารถ เขาเรียนในแบบออนไลนได สามารถสืบคนขอมูลบนเครือขายอินเทอรเน็ตจากจุดใดจุดหนึ่งของ สถาบันได ชวยใหนักศึกษาสามารถใชงานไดสะดวกและรวดเร็วมากขึ้น ขอดีของ Wireless LAN ชนิด Wi-Fi ธรรมชาติของธุรกิจปจจุบันจะขึ้นอยูกับระบบเครือขายคอมพิวเตอรมาก ความเติบโตของ อินเตอรเน็ตและการใหบริการผานเครือขายเปนขอพิสูจนที่สําคัญของการแชรขอมูลและทรัพยากตางๆ ถาใชระบบเครือขายไรสายผูใชไมจําเปนตองใช UTP เชื่อมตอ เน็ตเวิรคการดเขากับปลั๊ก LAN อีก ตอไป ขอดีของเครือขายไรสายมีดังนี้ • ความคลองตัว (Mobility) ผูใชสามารถเชื่อมตอกับเครือขายไรสายที่ไหนก็ไดภายใน องคกร ซึ่งที่ดังกลาวบางที่ไมสามารถที่จะติดตั้งสายสัญญาณได • ความสะดวกในการจัดตั้งและจัดการงาย เนื่องจากระบบเครือขายไรสายไมตองติดตั้ง สายสัญญาณ ทําใหเวลาในการติดตั้งเร็วขึ้นและไมตองจัดการสายสัญญาณ • ความยืดหยุน (Flexibility) เทคโนโลยีไรสายทําใหระบบเครือขายไปถึงยังที่ที่ สายสัญญาณไมสามารถติดตั้งได • ประหยัดคาใชจาย แมวาฮารดแวรของเครือขายไรสายจะมีราคาคอนขางสูง แตในบาง กรณีคาติดตั้งสายสัญญาณอาจจะสูงกวาก็ได และในกรณีที่สายสัญญาณลาสมัยหรือ เกาอาจตองมีการติดตั้งใหม ซึ่งถาใชระบบเครือขายก็ไมจําเปนตองกังวลในเรื่องนี้ • ความสามารถในการขยายเครือขาย (Scalability) ระบบเครือขายไรสายสามารถคอน ฟกไดหลายโทโปโลยี และใชไดกับตั้งแตเครือขายขนาดเล็กจนไปถึงขนาดใหญ
  • 12. ขอจํากัดการใชงาน Wi-Fi อาจมีผูมาใช Internet ได ถาผูอื่นทราบ IP address ของเรา Security การเชื่อมตอกับเครือขายไร สาย เราตอพิจารณาถึงเรื่องการรักษาความปลอดภัยของขอมูล ซึ่งถึงวาเปนเรื่องที่ สําคัญมากยิ่งกวาใน กรณีของเครือขายคอมพิวเตอรที่ใชสายตอทั่วไป เนื่องจากการเปดกวางของเครือขายซึ่งผูใดก็ตาม ที่มี เครื่องคอมพิวเตอรที่ติดตั้งอุปกรณ NIC ตางก็มีโอกาสเชื่อมตอเขาสูระบบเครือขายคอมพิวเตอรไดเทา เทียมกัน ไมวาจะเปนเครือขายที่ตั้งใจเปดใหบริการกับสาธารณะ ไปจนถึงเครือขายเฉพาะองคกร เครือขาย LAN ทั่วไปที่ใชสาย สัญญาณในการเชื่อมตอจะมีความปลอดภัยมากกวาเนื่องจากผูดูแลระบบ สามารถควบคุมพอรตเชื่อมตอไดตามความ ตองการ ดังนั้นจึงมีการวางขอกําหนดตาง ๆ ขึ้นสําหรับ เครือขายไรสาย โดยมีจุดประสงคเพื่อปองกันการลักลอบโจรกรรมขอมูลภายในเครือขายสวนบุคคล แนวทางในการรักษาความปลอดภัยที่สามารถเลือกใชไดมีอยูหลายประการ ดวยกันใชขีดความสามารถ ของมาตรฐาน IEEE 802.11 โดยจํากัดการติดตอเขาสูระบบเครือขายคอมพิวเตอรใหกับ เครื่อง คอมพิวเตอรแตละเครื่อง ทั้งนี้พิจารณาจากเลขหมาย SSID (Service Set Identifier) รวมกับแอดเดรส MAC (Media Access Control) นอกจากนั้นยังสามารถใชคุณสมบัติ WEP (Wired Equivalent Privacy) การรักษาความปลอดภัยในลักษณะนี้ก็คือ การกําหนดระดับการรักษาความปลอดภัยใหกับอุปกรณ AP (Access Point) แตละชุดโดยอางอิงแอดเดรส MAC ซึ่งเปนหมายเลขเฉพาะที่ถูกกําหนดตายตัว ใหกับอุปกรณสื่อ สารตางๆ บนเครือขาย LAN โดยผูผลิตอุปกรณ ความปลอดภัย ( Wi-Fi Security ) การใชงานของ Wi-Fi ,นั้นมีทั้งขอดีและขอเสียแตไมควรลืมถึงการรักษาความปลอดภัยใหระบบ เครือขายแบบไรสาย (WLAN) ในปจจุบัน ไดรับความนิยมมากขึ้นจากผูใชงานที่อยูใน องคกร, offices, บาน หรือตามจุดใหบริการอินเทอรเน็ตสาธารณะ (Hot Spot) เนื่องจากใหความสะดวกสบายในการ เชื่อมตอโดยไมตองอยูตามตําแหนงตามจุดที่ใหบริการ การเชื่อมตอระบบตามแบบเดิมที่เปนระบบ เครือขายแบบมีสาย (LAN) แตเพราะความสะดวกสบายในการใชงานทําใหผูใชงานระบบเครือขายแบบ ไรสายสวนใหญละเลยหรือไมไดตระหนักในเรื่องของความปลอดภัยในการใชงาน ดวยเทคโนโลยี Wi-Fi มีจุดออนในเรื่องของมาตรการรักษาความปลอดภัย ที่เกิดจากการลักลอบเขาใชเครือขายโดย บุคคลที่สามซึ่งอาจใชเครื่องรับสงสัญญาณและซอฟทแวรบางชนิดบนเครื่องคอมพิวเตอร มาตรฐาน การรักษาความปลอดภัยที่มีมาพรอมกับ Wi-Fi ซึ่งมีชื่อเรียกวา WEP (Wired Equivalent Privacy) ไม สามารถปองกันการลักลอบเขาใชงานเครือขายคอมพิวเตอรโดยผานทาง AP ไดแตอยางไร ซึ่ง IEEE ก็ มีแผนการพัฒนาขอกําหนดมาตรฐาน IEEE802.11i ซึ่งนํามาตรการเขารหัสขอมูล (Coding) และการ
  • 13. ตรวจยืนยันเพื่อตัวผูใชงาน (Authentication) ที่มีความซับซอน เพื่อรักษาความปลอดภัยใหกับเครือขาย โดยใชเทคโนโลยี AES (Advanced Encryption Standard) มาเสริมความสามารถใหกับทั้งมาตรฐาน IEEE802.11a, 802.11b และ 802.11g มาตรฐาน อัตราเร็วในการ สื่อสาร เทคนิคการมอดูเลต การปองกันภัย IEEE 802.11 สูงถึง 2 Mbps ที่ยานความถี่ 2.4 GHz FHSS หรือ DSSS WEP และ WPA IEEE 802.11a (Wi-Fi) สูงถึง 54 Mbps ที่ยานความถี่ 5 GHz OFDM WEP และ WPA IEEE 802.11b (Wi-Fi) สูงถึง 11 Mbps ที่ยานความถี่ 2.4 GHz DSSS WEP และ WPA IEEE 802.11g (Wi-Fi) สูงถึง 54 Mbps ที่ยานความถี่ 2.4 GHz OFDM ที่อัตราเร็วต่ํากวา 20 Mbps และ DSSS ที่อัตราเร็วต่ํากวา 20 Mbps WEP และ WPA IEEE 802.16 (WiMAX) ตามกําหนดใน มาตรฐาน WiMAX โดยใชความถี่ยาน 10 – 66 GHz OFDM DES3 และ AES IEEE 802.16a (WiMAX) เพิ่มยานความถี่ใชงาน ในชวง 2-11 GHz OFDM DES3 และ AES Bluetooth สูงถึง 2 Mbps ที่ยานความถี่ 2.45 GHz FHSS PPTP, SSL หรือ VPN รูปที่ 5 ตารางเปรียบเทียบมาตรฐาน WLAN ทั้งหมด ที่มา : http://www.pairoj.com
  • 14. สรุป WiFi (wireless fidelity) เปนเครือขายไรสายมีอัตราการเติบโตเพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็ว นับตั้งแตมาตรฐาน IEEE 802.11 เกิดขึ้น เครือขายไรสายก็ไดรับการปรับปรุงและพัฒนามาอยาง ตอเนื่อง จนกระทั่งปจจุบันเครือขายไรสายสามารถใชงานไดดวยความสะดวก และมีความปลอดภัย สูงขึ้นมาก นอกจากนั้นก็ยังใหอัตราความเร็วของการสื่อสารที่เพิ่มสูงขึ้นจนสามารถตอบรับกับการใช งานในดานตางๆ ไดเปนอยางดี ไมวาจะเปนการใชงานอินเทอรเน็ตความเร็วสูงเครือขายไรสายชวยให ผูใชงานไดรับความสะดวก สามารถปรับเปลี่ยน เคลื่อนยาย ขยายขนาดไดตลอดเวลา ดวยความ สะดวกสบายของเครือขายไรสายทําใหไดรับการยอมรับจากผูใชเพิ่มมากขึ้นและมีพัฒนาการอยางไม หยุดยั้ง Wireless Fidelity หรือที่รูจักกันในนาม 802.11 หรือ Wi-Fi เปนสิ่งที่ไดรับการพัฒนาเพื่อชวย ใหนักเลนเน็ตไมตองติดอยูกับที่ทํางาน และทําใหสามารถเชื่อมตออินเทอรเน็ตไดทุกที่ Wi-Fi ใช สัญญาณวิทยุกําลังต่ําแทนที่จะใชสายเคเบิลในการเชื่อมตอเครื่องคอมพิวเตอรกับอุปกรณตาง ๆ ในการ เขาอินเทอรเน็ต ในปจจุบันWiFi เปนเทคโนโลยีแบบไรสายที่มีประสิทธิภาพสูง มีอัตราความเร็วในการรับสง ขอมูล ทําใหผูใชงานคลองตัวมากขึ้นในการทํางานนอกสถานที่ ซึ่งผลที่ตามมาก็คือมีประสิทธิภาพที่ สูงขึ้นในการติดตอระยะไกล ๆ และมีการขยายเครือขายในเขาถึงพื้นที่ที่อยูหางไกลมากขึ้นดวยอีกทั้ง ประโยชนที่ตามมาก็จะเกิดขึ้นกับผูใชงาน ที่จะมีโอกาสไดใชเครือขายสื่อสารแบบไรสายมีความเร็วสูง ไดอยางเทาทั่วถึงและเทาเทียมกันรวมกับการใชงานก็มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นดวย
  • 15. เอกสารอางอิง จตุชัย แพงจันทรและอนุชิต วุฒิพรพงษ. (2546). เจาะระบบเน็ตเวิรค. นนทะบุรี: ไอดีซี อินโฟ ดิสทริบิวเตอร เซ็นเตอร. โอภาส เอี่ยมสิริวงศ. (2548). เครือขายคอมพิวเตอรและการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: เอช. เอ็น. กรุป. สัลยุทธ สวางวรรณ. (2547). เครือขายไรสาย ( Wireless Network ). กรุงเทพฯ: เพียรสัน เอ็ด ดูเคชั่น อินโดไชนา. ไพโรจน ไววานิชกิจ. (2548). เทคโนโลยี WiFi กับขอจํากัดในทางปฏิบัติ. : http://www.pairoj.com/ http://thaicert.nectec.or.th/wifi.pdf http://www.thaiwirelesslan.com/modules.php