SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
อาร์ตไดเรกเตอร์
                    โดย นางสาวศิรินนาสน์ ชมศิริ เลขที่ 13 ม. 5/1
        อาร์ตไดเรกเตอร์ (art director)เป็นอาชีพที่จัดว่า เก๋ไก๋สไลด์เดอร์มากๆ มีคนอยากเป็นมากแต่
ตาแหน่งน้อยนิดไม่ค่อยจะรับใครใหม่ๆเท่าไหร่ เพราะเงินเดือนดี แต่ทางานหนักเป็นวัวเป็นควายบางที ก็
กลับบ้านตีสองตีสาม หรือข้ามคืนก็เคยมี อาร์ตไดเรกเตอร์เค้าจะทางานเป็นคนคิดโฆษณาทางสิ่งพิมพ์ ทา
บิลบอร์ดเก๋ๆ ยกตัวอย่างเช่นเบียร์ไฮเนเก้นที่จะมีอะไรเก๋ๆออกมาตลอดเวลาและที่เป็นไฮไลท์ คือต้องคิด
หนังโฆษณาทีวี (TVC) ช่วงเวลาที่คิดหนังนี่แหละมันส์ที่สุด จะมีแก๊กตลกๆ เจ็บๆซึ้งๆออกมาเยอะแยะ
แล้วแต่โจทย์ที่ลูกค้าให้มา อาร์ตไดเรกเตอร์ ไม่ได้เป็นคนคิดคนเดียวนะ เค้าจะต้องคิดงานคู่กับก๊อปปีไรท์
เตอร์(copywriter) ที่จบมาทางสายนิเทศศาสตร์นั่นแหละ ทางานคู่กันเสมอๆ แยกกันไม่ออก

                            ตัวอย่างการออกแบบโฆษณาทางสิ่งพิมพ์ เบียร์ไฮเนเก้น
อาร์ตไดจะต้องออกไปกับกองถ่ายฯ จะต้องคุยกับผู้กากับเพื่อแลกไอเดียอันบรรเจิด และคุยกะ
ช่างภาพมือฉกาจเพื่อทาให้งานออกมาดี อาร์ตไดจะต้องควบคุมทุกๆอย่างเพื่อให้งานชิ้นนึงออกมาได้ดีและ
สมบูรณ์ที่สุด เหมือนกับที่ไปโม้ไว้กับลูกค้าในวันขาย Sketch งานครั้งแรก ที่สาคัญคืออาร์ตได จะมีการอัพ
ค่าตัวขึ้นไปได้อีกจากการหมั่นคิดงานดีๆส่งประกวด ซึ่งเวทีสาหรับคนโฆษณาก็มี B.A.D Awards
(Bangkok Advertising Association) หรือ Adman หรือเวทีเก่าแบบ TACT Awards และเวทีระดับเอเชียที่มี
การจัดกันที่พัทยาทุกปีอย่าง AD FEST Asia หรืองานใหญ่แถบภูมิภาคแบบ Media Asian หรืองานระดับ
โลกอย่าง Cannes Lions หรือฝั่ง U.K คือ D&AD หรือฝั่งอเมริกาแบบ CILO Awards เป็นต้น

Art Director
  แปลเป็นไทยว่า พนักงานกากับศิลป์ ทาหน้าที่คิดหาไอเดียของโฆษณา ทั้ง ทีวี หนังสือพิมพ์ นิตยสาร สื่อ
กลางแจ้ง ฯลฯ จากนั้นก็ลงลึกไปทางด้านภาพ คือออกแบบภาพ กากับภาพในโฆษณาให้โดดเด้ง แปลกใหม่
สวยงาม ดึงดูดสายตาคนดูพร้อมสื่อสิ่งที่ผลิตภัณฑ์ต้องการบอกไปถึงผู้ชมด้วย



                                    การเตรียมตัวเป็นอาร์ตไดเรกเตอร์
           ก็ต้องเป็นคนที่มีความคิดสร้างสรรค์ ชอบติดตามข่าวสารวงการออกแบบและโฆษณา ชอบดู
โฆษณา และ ต้องหมั่นประกวดงานเพื่อพัฒนาความคิด และสะสม portfolio ที่ดีๆไว้ตอนสมัครงานและที่
สาคัญช่วงฝึกงานพยายามหาทางเข้าไปฝึกในเอเยนซี่ ให้ได้ Art Director หน้าที่หลักๆ ก็จัดการเกี่ยวกับ
การคุมลักษณะของงาน อย่างเช่น ภาพฉากนี้ต้องเป็นแบบนี้ สีต้องออกประมาณนี้ ดูแลในส่วนของภาพให้
ออกมาตามที่ ผู้กากับบอกมา รวมถึงครีเอท ฉากและภาพรวมถึงต้องคลุมโทนบรรยากาศและอารามของภาพ
ให้อยู่ในคอนเซพงาน

          ทาอย่างไรถึงเป็นได้ งานหน้าที่นี้ต้องเก่งเรื่องการใช้สี และก็ศิลปะเป็นหลัก ทาเยอะๆออกแบบ
เยอะๆ วาดรูปบ่อยๆ มีจิตนาการ เยอะๆ แบบถ้ามีโจทย์ยากๆมา ลองตีโจทย์ดู เช่นถ้าต้องทาหนังเกี่ยวกับ
โลกหิมพานต์จะ ทายังไง ต้นไม้จะเป็นยังไง เมฆจะเป็นรูปแบบไหน ภูเขา สัตว์ พืช แสงละ จะคงไม่ได้เป็น
สีแบบปกติ จะเป็นแบบไหน ดาวบนท้องฟ้าจะเป็นยังไง ตัวละครมีอะไรบ้าง ใครเป็นตัวโกง ตัวโกงมีกี่คน
บุคลิกจะเป็นแบบไหน พระเอกจะเป็นยังไงผมฟู แต่งตัวลายไทยหรือแค่ใส่เสื้อแบบปกติ แล้วความสามารถ
พิเศษละ ทาอะไรได้บ้าง อาวุธ ประจาตัว ใช้อะไรได้ถนัด แล้วชุดกับของที่ใช้ ต้องไม่ขัดกัน แล้วการคิดเรื่อง
เสื้อผ้าและสีในฉากต้องไม่ตีกัน ออกแบบแล้วต้องดูแบ่งแยกตัวโกงกับตัวดีได้ทันที เหล่านี้ต้องมาจาก Art
director ครับ เรื่องอีโก้สูงมันเป็นเรื่องของบุคคล Art director นิสัยดีดี ก็มีอยู่เยอะ แต่คนที่ต้องมาทางาน
เหล่านี้ได้ต้องรับผิดชอบสูงและต้องเก่งจริงๆ ถึงจะประสบความสาเร็จ
กิตติยา ปั้นทรัพย์ อาร์ตไดเรกเตอร์แห่ง a team junior 8

          อาชีพ Art Director ต้อง การคนประเภทที่ชอบทางด้านภาพ ไม่ว่าจะเป็นเขียนภาพ ถ่ายภาพ จะต้อง
มีพื้นทางด้านศิลปะพอตัว มองภาพและคิดไม่เหมือนคนอื่นๆ คิดอะไรแปลกๆ เสมอ ประกวดภาพถ่าย
ภาพเขียนบ่อยๆ มีทักษะทางการสื่อความด้วยภาพดีมากๆ เมื่อกล่าวถึงฉากและเครื่องแต่งกาย มีบุคคลสอง
บุคคลที่เราต้องทาความรู้จัก บุคคลแรกคือผู้กากับฝ่ายศิลป์ (Art Director) ภาพยนตร์เกือบทุกเรื่องจะต้อง
มีผู้กับกาฝ่ายศิลป์ ซึ่งจะทาหน้าที่ออกแบบฉากทั้งภายในภายนอก และรับผิดชอบการสร้างฉากให้เป็นไป
ตามที่ออกแบบไว้ แต่ภาพยนตร์ที่ลงทุนมากๆบางเรื่องจะใช้ “ผู้ออกแบบฉากและเครื่องแต่งกาย” แทนผู้
กากับศิลป์งานของผู้ออกแบบฉากและเครื่องแต่งกาย หรือเรียกว่า โพรดัคชั่น ดีไซค์ (Production Designer :
PD) นี้จะกว้างกว่างานของผู้กากับฝ่ายศิลป์ เพราะนอกจากจะต้องรับผิดชอบเรื่องฉากทั้งหมดแล้ว พีดี
จะต้องรับผิดชอบเรื่องเครื่องแต่งกายทั้งหมด และยังต้องสร้างสรรค์รูปแบบ (Style) ของภาพยนตร์ให้เป็น
อันหนึ่งอันเดียวกันตลอดเรื่องด้วย ซีซิล บีตัน(Cecil Beaton) เป็นพีดีที่มีชื่อเสียงมากในวงการ
ภาพยนตร์ ภาพยนตร์เรื่อง “บุษบาริมทาง” ของบริษัทวอเน่อบราเดอร์ซึ่งประสบความสาเร็จอย่างสูง
นั้น เครื่องแต่งกาย เฟอร์นิเจอร์ ฉาก และสีสันทุกจุดในภาพยนตร์ออกแบบโดยบีตัน ทั้งหมด ในกรณีที่
ภาพยนตร์เรื่องใดไม่ใช้ พีดี แต่ใช้ผู้กากับฝ่ายศิลป์ก็อาจจะมีผู้ออกแบบเครื่องแต่งกายโดยเฉพาะอีกคนที่
เรียกว่า ผู้ออกแบบเครื่องแต่งกาย (Costume Designer)

         ผู้กากับฝ่ายศิลป์จะรับผิดชอบเกี่ยวกับเรื่องฉากอย่างเดียว เขาเริ่มงานเหมือนกับทุกๆคนในกอง
ถ่าย คือจะต้องศึกษาบทภาพยนตร์ให้เข้าใจ พูดคุยกับผู้อานวยการสร้างและผู้กากับการแสดงเพื่อให้ทราบ
รูปแบบของ ภาพยนตร์ จากนั้นก็จะค้นคว้าหลักฐานจากหนังสือ รูปภาพ ภาพวาด บ้านเรือนและตึกรามที่มี
อยู่ และทุกสิ่งทุกอย่างที่คิดว่าจะช่วยให้ออกแบบฉากได้เหมือนจริงมากที่สุด และเมื่อได้ความคิดแล้ว ผู้
กากับฝ่ายศิลป์ก็จะวาดภาพฉากทุกฉากที่คิดว่าจาเป็นสาหรับภาพยนตร์นั้น ตลอดทั้งเรื่อง




        จากภาพวาดฉากและขนาดโดยประมาณของสิ่งต่างๆที่ใช้ในฉาก จะทาให้ทราบค่าใช้จ่ายในการ
สร้างฉาก นอกจากผู้กากับฝ่ายศิลป์จะต้องออกแบบและคานวณค่าใช้จ่ายในการสร้างฉากแล้ว จะต้อง
คานึงถึงสถานที่ตั้งฉากโดยดูจากขนาดของโรงถ่าย และถ้าจาเป็นก็อาจจะต้องเช่าโรงถ่ายอื่นด้วย

         ผู้กากับฝ่ายศิลป์ที่มความสามารถจะออกแบบฉากให้สามารถนาไปดัดแปลงแก้ไขใช้ ได้ใหม่ใน
                              ี
ภาพยนตร์เรื่องต่อไป และสามารถนาฉากเก่าจากภาพยนตร์เรื่องก่อนๆมาดัดแปลงใช้ได้ด้วย ทั้งนี้เพื่อ
ประหยัดค่าใช้จ่าย ผู้กากับฝ่ายศิลป์จะเป็นผู้ออกแบบและรับผิดชอบการจัดทาฉากที่ใช้ในภาพยนตร์
ทั้งหมด แต่ผู้ที่จะลงมือจัดฉากให้ได้ตามที่ผู้กากับฝ่ายศิลป์ออกแบบนั้นคือ “ผู้จัดฉาก” (Set Decorator)
ผู้จัดฉากจะเป็นคนจัดหาเฟอร์นิเจอร์ทุกชิ้นมาประกอบฉาก ไม่ว่าจะเป็นโต๊ะ เก้าอี้ นาฬิกา พรม
ม่าน รูปภาพติดผนัง ตู้หนังสือ หนังสือ นิตยสาร และทุกสิ่งทุกอย่างที่จะทาให้ฉากนั้นๆมีความเหมือนจริง
มากที่สุด การจัดฉากนั้นมิใช่ต้องการความสวยงามเพียงอย่างเดียว แต่จะต้องให้ความรู้สึกว่ามีชีวิต
เหมือนมีคนใช้และอาศัยอยู่ในฉากนั้นจริงๆ การจะให้เกิดความรู้สึกเช่นนั้นได้ ผู้จัดฉากจะต้องเอาใจใส่กับ
การจัดวางของใช้เล็กๆน้อยๆที่จาเป็น ห้องที่ดูเรียบร้อยเกินไปจะดูเหมือนห้องนั้นไม่มีชีวิต ผู้จัดฉากจะต้อง
ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับของใช้ตามสมัยในภาพยนตร์ การผิดพลาดเล็กๆน้อยๆจะทาให้ภาพยนตร์ขาด
ความน่าเชื่อถือไปอย่างเสียดาย

                                  ผู้กากับฝ่ายศิลป์(Art Director)
เป็นหัวหน้าควบคุมการออกแบบทุกด้าน เช่น

1) การออกแบบเครื่องแต่งกายตัวละคร จะต้องมีคุณสมบัติดังนี้

        (1)ศึกษาความเป็นมาของบทละครและตัวละครเป็นอย่างดี

        (2)ต้องเข้าใจลักษรเด่นของการแต่งกาย อันตรงต่อนิสัยของตัวละคร

        (3)ศึกษารสนิยมของผู้ชม

        (4)มีความสามารถในทางศิลปะสูง

        5)มีประสบการณ์ทางด้านการออกแบบและด้านการละคร



2)ออกแบบการแต่งหน้า ผู้ออกแบบทางด้านนี้ควรมีคุณสมบัติดังนี้

        (1)มีประสบการทางด้านศิลปะและการละคร

        มีความรู้เรื่องเครื่องสาอาง

        มีความเข้าใจในลักษณะนิสัยของตัวละคร

        มีความรู้เรื่องความแตกต่างทางร่างกายของเพศและวัย

        เป็นอย่างดีสามารถแต่งหน้าให้ตรงกับที่ผู้ประพันธ์ต้องการ
3)การออกแบบแสง ผู้ออกแบบควรมีคุณสมบัติดังนี้

       มีความรู้ทางด้านทฤษฎีและแสงเป็นอย่างดี

       สามารถสร้างอารมณ์และบรรยากาศด้วยแสงได้

       มีมนุษยสัมพันธ์และประสานงานกับทุกฝ่ายได้

       มีประสบการณ์ทางการแสดงละคร

       ศึกษาเรื่องราวบทประพันธ์ของละครเป็นอย่างดี



4)การออกแบบฉากและตกแต่งเวที ผู้ออกแบบทางด้านนี้มีความสาคัญและควรมีคุณสมบัติดังนี้

       (1)สามารถออกแบบและสร้างฉากได้ตามจินตนาการของผู้ประพันธ์และผู้กากับการแสดงได้เป็น
       อย่างดีสามารถ แสดง เอกลักษณ์ และความหมายของเรื่องได้อย่างชัด เจนสามารถจัดติดตั้งฉากให้ผู้
       แสดงเกิดความคล่องตัวในการแสดงสามารถทาให้ผู้เข้าชมเข้าใจในการดาเนินเริ่งราวได้เป็นอย่างดี
       มีประสบการณ์ทางด้านการละครประวัติของการละครการละครมีกาเนิดพร้อมกับมนุษย์
       เช่นเดียวกับการขับร้องและดนตรีในครั้งแรกคงจะเริ่มจากการเล่าเรื่อง แล้วต่อมาผู้เล่าแสดงท่าทาง
       ประกอบการเล่าเรื่องในที่สุดก็จัดให้คนหลายคนแสดงตามในเรื่องนั้นๆพอจะแบ่งออกเป็นสมัยได้
       ดังนี้ การละครของกรีกเกิดจากการบูชาเทพเจ้าแห่งเหล้าองุ่น คือ เทพเจ้า ไดโอซัส (Dionysus) ให้
       แพะเป็นรางวัลผู้แสดงแทนการฆ่าแพะเชื่อว่าแพะเป็นศัตรูข องเทพเจ้าเพราะแพะชอบกินองุ่นใน
       การแสดงขั้นแรกมีผู้ขับร้องหรือสวดเพื่อบูชาพระเจ้าบทเพลงบูชาเรียกว่า ดิธธีแรมบ์ (Dithyramb)
       เธสพิส(Thespix) เป็นตัวละครหรือผู้แสดงคนแรกของโลกและของประวัติละครสากลซึ่งเรียกว่า
       (Actor)
บรรณานุกรม

       ธารริน อดุลยานนท์. "อาชีพ อาร์ตไอเรกเตอร์ ," Art director. 4 กรกฎาคม 2550.

< http://hardsales.exteen.com/20060704/art-director > 21 กรกฎาคม 2554.

More Related Content

Similar to อาร์ตไดเรกเตอร์

ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นchaiwat vichianchai
 
สร้างบ้าน ต้องใช้สถาปนิกหรือไม่
สร้างบ้าน ต้องใช้สถาปนิกหรือไม่สร้างบ้าน ต้องใช้สถาปนิกหรือไม่
สร้างบ้าน ต้องใช้สถาปนิกหรือไม่Nut Veron
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4JoyCe Zii Zii
 
Week1 screenplay
Week1 screenplayWeek1 screenplay
Week1 screenplaymonkeychoc
 
อาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟอาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟNing Rommanee
 
อาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟอาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟNing Rommanee
 
อาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟอาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟNing Rommanee
 

Similar to อาร์ตไดเรกเตอร์ (11)

ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
 
สร้างบ้าน ต้องใช้สถาปนิกหรือไม่
สร้างบ้าน ต้องใช้สถาปนิกหรือไม่สร้างบ้าน ต้องใช้สถาปนิกหรือไม่
สร้างบ้าน ต้องใช้สถาปนิกหรือไม่
 
ผู้จัดการศิลปิน
ผู้จัดการศิลปิน ผู้จัดการศิลปิน
ผู้จัดการศิลปิน
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
Week1 screenplay
Week1 screenplayWeek1 screenplay
Week1 screenplay
 
อาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟอาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟ
 
อาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟอาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟ
 
อาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟอาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟ
 
ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น2
ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น2ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น2
ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น2
 
ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น
ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้นขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น
ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น
 
ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น
ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้นขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น
ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

อาร์ตไดเรกเตอร์

  • 1. อาร์ตไดเรกเตอร์ โดย นางสาวศิรินนาสน์ ชมศิริ เลขที่ 13 ม. 5/1 อาร์ตไดเรกเตอร์ (art director)เป็นอาชีพที่จัดว่า เก๋ไก๋สไลด์เดอร์มากๆ มีคนอยากเป็นมากแต่ ตาแหน่งน้อยนิดไม่ค่อยจะรับใครใหม่ๆเท่าไหร่ เพราะเงินเดือนดี แต่ทางานหนักเป็นวัวเป็นควายบางที ก็ กลับบ้านตีสองตีสาม หรือข้ามคืนก็เคยมี อาร์ตไดเรกเตอร์เค้าจะทางานเป็นคนคิดโฆษณาทางสิ่งพิมพ์ ทา บิลบอร์ดเก๋ๆ ยกตัวอย่างเช่นเบียร์ไฮเนเก้นที่จะมีอะไรเก๋ๆออกมาตลอดเวลาและที่เป็นไฮไลท์ คือต้องคิด หนังโฆษณาทีวี (TVC) ช่วงเวลาที่คิดหนังนี่แหละมันส์ที่สุด จะมีแก๊กตลกๆ เจ็บๆซึ้งๆออกมาเยอะแยะ แล้วแต่โจทย์ที่ลูกค้าให้มา อาร์ตไดเรกเตอร์ ไม่ได้เป็นคนคิดคนเดียวนะ เค้าจะต้องคิดงานคู่กับก๊อปปีไรท์ เตอร์(copywriter) ที่จบมาทางสายนิเทศศาสตร์นั่นแหละ ทางานคู่กันเสมอๆ แยกกันไม่ออก ตัวอย่างการออกแบบโฆษณาทางสิ่งพิมพ์ เบียร์ไฮเนเก้น
  • 2. อาร์ตไดจะต้องออกไปกับกองถ่ายฯ จะต้องคุยกับผู้กากับเพื่อแลกไอเดียอันบรรเจิด และคุยกะ ช่างภาพมือฉกาจเพื่อทาให้งานออกมาดี อาร์ตไดจะต้องควบคุมทุกๆอย่างเพื่อให้งานชิ้นนึงออกมาได้ดีและ สมบูรณ์ที่สุด เหมือนกับที่ไปโม้ไว้กับลูกค้าในวันขาย Sketch งานครั้งแรก ที่สาคัญคืออาร์ตได จะมีการอัพ ค่าตัวขึ้นไปได้อีกจากการหมั่นคิดงานดีๆส่งประกวด ซึ่งเวทีสาหรับคนโฆษณาก็มี B.A.D Awards (Bangkok Advertising Association) หรือ Adman หรือเวทีเก่าแบบ TACT Awards และเวทีระดับเอเชียที่มี การจัดกันที่พัทยาทุกปีอย่าง AD FEST Asia หรืองานใหญ่แถบภูมิภาคแบบ Media Asian หรืองานระดับ โลกอย่าง Cannes Lions หรือฝั่ง U.K คือ D&AD หรือฝั่งอเมริกาแบบ CILO Awards เป็นต้น Art Director แปลเป็นไทยว่า พนักงานกากับศิลป์ ทาหน้าที่คิดหาไอเดียของโฆษณา ทั้ง ทีวี หนังสือพิมพ์ นิตยสาร สื่อ กลางแจ้ง ฯลฯ จากนั้นก็ลงลึกไปทางด้านภาพ คือออกแบบภาพ กากับภาพในโฆษณาให้โดดเด้ง แปลกใหม่ สวยงาม ดึงดูดสายตาคนดูพร้อมสื่อสิ่งที่ผลิตภัณฑ์ต้องการบอกไปถึงผู้ชมด้วย การเตรียมตัวเป็นอาร์ตไดเรกเตอร์ ก็ต้องเป็นคนที่มีความคิดสร้างสรรค์ ชอบติดตามข่าวสารวงการออกแบบและโฆษณา ชอบดู โฆษณา และ ต้องหมั่นประกวดงานเพื่อพัฒนาความคิด และสะสม portfolio ที่ดีๆไว้ตอนสมัครงานและที่ สาคัญช่วงฝึกงานพยายามหาทางเข้าไปฝึกในเอเยนซี่ ให้ได้ Art Director หน้าที่หลักๆ ก็จัดการเกี่ยวกับ การคุมลักษณะของงาน อย่างเช่น ภาพฉากนี้ต้องเป็นแบบนี้ สีต้องออกประมาณนี้ ดูแลในส่วนของภาพให้ ออกมาตามที่ ผู้กากับบอกมา รวมถึงครีเอท ฉากและภาพรวมถึงต้องคลุมโทนบรรยากาศและอารามของภาพ ให้อยู่ในคอนเซพงาน ทาอย่างไรถึงเป็นได้ งานหน้าที่นี้ต้องเก่งเรื่องการใช้สี และก็ศิลปะเป็นหลัก ทาเยอะๆออกแบบ เยอะๆ วาดรูปบ่อยๆ มีจิตนาการ เยอะๆ แบบถ้ามีโจทย์ยากๆมา ลองตีโจทย์ดู เช่นถ้าต้องทาหนังเกี่ยวกับ โลกหิมพานต์จะ ทายังไง ต้นไม้จะเป็นยังไง เมฆจะเป็นรูปแบบไหน ภูเขา สัตว์ พืช แสงละ จะคงไม่ได้เป็น สีแบบปกติ จะเป็นแบบไหน ดาวบนท้องฟ้าจะเป็นยังไง ตัวละครมีอะไรบ้าง ใครเป็นตัวโกง ตัวโกงมีกี่คน บุคลิกจะเป็นแบบไหน พระเอกจะเป็นยังไงผมฟู แต่งตัวลายไทยหรือแค่ใส่เสื้อแบบปกติ แล้วความสามารถ พิเศษละ ทาอะไรได้บ้าง อาวุธ ประจาตัว ใช้อะไรได้ถนัด แล้วชุดกับของที่ใช้ ต้องไม่ขัดกัน แล้วการคิดเรื่อง เสื้อผ้าและสีในฉากต้องไม่ตีกัน ออกแบบแล้วต้องดูแบ่งแยกตัวโกงกับตัวดีได้ทันที เหล่านี้ต้องมาจาก Art director ครับ เรื่องอีโก้สูงมันเป็นเรื่องของบุคคล Art director นิสัยดีดี ก็มีอยู่เยอะ แต่คนที่ต้องมาทางาน เหล่านี้ได้ต้องรับผิดชอบสูงและต้องเก่งจริงๆ ถึงจะประสบความสาเร็จ
  • 3. กิตติยา ปั้นทรัพย์ อาร์ตไดเรกเตอร์แห่ง a team junior 8 อาชีพ Art Director ต้อง การคนประเภทที่ชอบทางด้านภาพ ไม่ว่าจะเป็นเขียนภาพ ถ่ายภาพ จะต้อง มีพื้นทางด้านศิลปะพอตัว มองภาพและคิดไม่เหมือนคนอื่นๆ คิดอะไรแปลกๆ เสมอ ประกวดภาพถ่าย ภาพเขียนบ่อยๆ มีทักษะทางการสื่อความด้วยภาพดีมากๆ เมื่อกล่าวถึงฉากและเครื่องแต่งกาย มีบุคคลสอง บุคคลที่เราต้องทาความรู้จัก บุคคลแรกคือผู้กากับฝ่ายศิลป์ (Art Director) ภาพยนตร์เกือบทุกเรื่องจะต้อง มีผู้กับกาฝ่ายศิลป์ ซึ่งจะทาหน้าที่ออกแบบฉากทั้งภายในภายนอก และรับผิดชอบการสร้างฉากให้เป็นไป ตามที่ออกแบบไว้ แต่ภาพยนตร์ที่ลงทุนมากๆบางเรื่องจะใช้ “ผู้ออกแบบฉากและเครื่องแต่งกาย” แทนผู้ กากับศิลป์งานของผู้ออกแบบฉากและเครื่องแต่งกาย หรือเรียกว่า โพรดัคชั่น ดีไซค์ (Production Designer : PD) นี้จะกว้างกว่างานของผู้กากับฝ่ายศิลป์ เพราะนอกจากจะต้องรับผิดชอบเรื่องฉากทั้งหมดแล้ว พีดี จะต้องรับผิดชอบเรื่องเครื่องแต่งกายทั้งหมด และยังต้องสร้างสรรค์รูปแบบ (Style) ของภาพยนตร์ให้เป็น อันหนึ่งอันเดียวกันตลอดเรื่องด้วย ซีซิล บีตัน(Cecil Beaton) เป็นพีดีที่มีชื่อเสียงมากในวงการ ภาพยนตร์ ภาพยนตร์เรื่อง “บุษบาริมทาง” ของบริษัทวอเน่อบราเดอร์ซึ่งประสบความสาเร็จอย่างสูง นั้น เครื่องแต่งกาย เฟอร์นิเจอร์ ฉาก และสีสันทุกจุดในภาพยนตร์ออกแบบโดยบีตัน ทั้งหมด ในกรณีที่ ภาพยนตร์เรื่องใดไม่ใช้ พีดี แต่ใช้ผู้กากับฝ่ายศิลป์ก็อาจจะมีผู้ออกแบบเครื่องแต่งกายโดยเฉพาะอีกคนที่ เรียกว่า ผู้ออกแบบเครื่องแต่งกาย (Costume Designer) ผู้กากับฝ่ายศิลป์จะรับผิดชอบเกี่ยวกับเรื่องฉากอย่างเดียว เขาเริ่มงานเหมือนกับทุกๆคนในกอง ถ่าย คือจะต้องศึกษาบทภาพยนตร์ให้เข้าใจ พูดคุยกับผู้อานวยการสร้างและผู้กากับการแสดงเพื่อให้ทราบ
  • 4. รูปแบบของ ภาพยนตร์ จากนั้นก็จะค้นคว้าหลักฐานจากหนังสือ รูปภาพ ภาพวาด บ้านเรือนและตึกรามที่มี อยู่ และทุกสิ่งทุกอย่างที่คิดว่าจะช่วยให้ออกแบบฉากได้เหมือนจริงมากที่สุด และเมื่อได้ความคิดแล้ว ผู้ กากับฝ่ายศิลป์ก็จะวาดภาพฉากทุกฉากที่คิดว่าจาเป็นสาหรับภาพยนตร์นั้น ตลอดทั้งเรื่อง จากภาพวาดฉากและขนาดโดยประมาณของสิ่งต่างๆที่ใช้ในฉาก จะทาให้ทราบค่าใช้จ่ายในการ สร้างฉาก นอกจากผู้กากับฝ่ายศิลป์จะต้องออกแบบและคานวณค่าใช้จ่ายในการสร้างฉากแล้ว จะต้อง คานึงถึงสถานที่ตั้งฉากโดยดูจากขนาดของโรงถ่าย และถ้าจาเป็นก็อาจจะต้องเช่าโรงถ่ายอื่นด้วย ผู้กากับฝ่ายศิลป์ที่มความสามารถจะออกแบบฉากให้สามารถนาไปดัดแปลงแก้ไขใช้ ได้ใหม่ใน ี ภาพยนตร์เรื่องต่อไป และสามารถนาฉากเก่าจากภาพยนตร์เรื่องก่อนๆมาดัดแปลงใช้ได้ด้วย ทั้งนี้เพื่อ ประหยัดค่าใช้จ่าย ผู้กากับฝ่ายศิลป์จะเป็นผู้ออกแบบและรับผิดชอบการจัดทาฉากที่ใช้ในภาพยนตร์ ทั้งหมด แต่ผู้ที่จะลงมือจัดฉากให้ได้ตามที่ผู้กากับฝ่ายศิลป์ออกแบบนั้นคือ “ผู้จัดฉาก” (Set Decorator)
  • 5. ผู้จัดฉากจะเป็นคนจัดหาเฟอร์นิเจอร์ทุกชิ้นมาประกอบฉาก ไม่ว่าจะเป็นโต๊ะ เก้าอี้ นาฬิกา พรม ม่าน รูปภาพติดผนัง ตู้หนังสือ หนังสือ นิตยสาร และทุกสิ่งทุกอย่างที่จะทาให้ฉากนั้นๆมีความเหมือนจริง มากที่สุด การจัดฉากนั้นมิใช่ต้องการความสวยงามเพียงอย่างเดียว แต่จะต้องให้ความรู้สึกว่ามีชีวิต เหมือนมีคนใช้และอาศัยอยู่ในฉากนั้นจริงๆ การจะให้เกิดความรู้สึกเช่นนั้นได้ ผู้จัดฉากจะต้องเอาใจใส่กับ การจัดวางของใช้เล็กๆน้อยๆที่จาเป็น ห้องที่ดูเรียบร้อยเกินไปจะดูเหมือนห้องนั้นไม่มีชีวิต ผู้จัดฉากจะต้อง ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับของใช้ตามสมัยในภาพยนตร์ การผิดพลาดเล็กๆน้อยๆจะทาให้ภาพยนตร์ขาด ความน่าเชื่อถือไปอย่างเสียดาย ผู้กากับฝ่ายศิลป์(Art Director) เป็นหัวหน้าควบคุมการออกแบบทุกด้าน เช่น 1) การออกแบบเครื่องแต่งกายตัวละคร จะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ (1)ศึกษาความเป็นมาของบทละครและตัวละครเป็นอย่างดี (2)ต้องเข้าใจลักษรเด่นของการแต่งกาย อันตรงต่อนิสัยของตัวละคร (3)ศึกษารสนิยมของผู้ชม (4)มีความสามารถในทางศิลปะสูง 5)มีประสบการณ์ทางด้านการออกแบบและด้านการละคร 2)ออกแบบการแต่งหน้า ผู้ออกแบบทางด้านนี้ควรมีคุณสมบัติดังนี้ (1)มีประสบการทางด้านศิลปะและการละคร มีความรู้เรื่องเครื่องสาอาง มีความเข้าใจในลักษณะนิสัยของตัวละคร มีความรู้เรื่องความแตกต่างทางร่างกายของเพศและวัย เป็นอย่างดีสามารถแต่งหน้าให้ตรงกับที่ผู้ประพันธ์ต้องการ
  • 6. 3)การออกแบบแสง ผู้ออกแบบควรมีคุณสมบัติดังนี้ มีความรู้ทางด้านทฤษฎีและแสงเป็นอย่างดี สามารถสร้างอารมณ์และบรรยากาศด้วยแสงได้ มีมนุษยสัมพันธ์และประสานงานกับทุกฝ่ายได้ มีประสบการณ์ทางการแสดงละคร ศึกษาเรื่องราวบทประพันธ์ของละครเป็นอย่างดี 4)การออกแบบฉากและตกแต่งเวที ผู้ออกแบบทางด้านนี้มีความสาคัญและควรมีคุณสมบัติดังนี้ (1)สามารถออกแบบและสร้างฉากได้ตามจินตนาการของผู้ประพันธ์และผู้กากับการแสดงได้เป็น อย่างดีสามารถ แสดง เอกลักษณ์ และความหมายของเรื่องได้อย่างชัด เจนสามารถจัดติดตั้งฉากให้ผู้ แสดงเกิดความคล่องตัวในการแสดงสามารถทาให้ผู้เข้าชมเข้าใจในการดาเนินเริ่งราวได้เป็นอย่างดี มีประสบการณ์ทางด้านการละครประวัติของการละครการละครมีกาเนิดพร้อมกับมนุษย์ เช่นเดียวกับการขับร้องและดนตรีในครั้งแรกคงจะเริ่มจากการเล่าเรื่อง แล้วต่อมาผู้เล่าแสดงท่าทาง ประกอบการเล่าเรื่องในที่สุดก็จัดให้คนหลายคนแสดงตามในเรื่องนั้นๆพอจะแบ่งออกเป็นสมัยได้ ดังนี้ การละครของกรีกเกิดจากการบูชาเทพเจ้าแห่งเหล้าองุ่น คือ เทพเจ้า ไดโอซัส (Dionysus) ให้ แพะเป็นรางวัลผู้แสดงแทนการฆ่าแพะเชื่อว่าแพะเป็นศัตรูข องเทพเจ้าเพราะแพะชอบกินองุ่นใน การแสดงขั้นแรกมีผู้ขับร้องหรือสวดเพื่อบูชาพระเจ้าบทเพลงบูชาเรียกว่า ดิธธีแรมบ์ (Dithyramb) เธสพิส(Thespix) เป็นตัวละครหรือผู้แสดงคนแรกของโลกและของประวัติละครสากลซึ่งเรียกว่า (Actor)
  • 7. บรรณานุกรม ธารริน อดุลยานนท์. "อาชีพ อาร์ตไอเรกเตอร์ ," Art director. 4 กรกฎาคม 2550. < http://hardsales.exteen.com/20060704/art-director > 21 กรกฎาคม 2554.