SlideShare a Scribd company logo
นยีขเูผ
1. ลุกะตตัภมัสฐษรศเ.รด.ศร
2. ญุบงอกาดุยชตัร.รด
3. งอทมุทะรปยัทุอณุค
กองบรรณาธิการที่ปรึกษา
1. รช็พเ.รด รตุบนิช
2. ญุบจใาภวุยณุค
รากิธาณรรบงอก
1. าดลฤณุค ปลิศณรรว
2. ดิ์กัศิธทฤรภาภุสณุค
3. ยันิขกัทนฒัวริศณุค
พมิพดัจูผ
ราหาอนับาถส มรรกหาสตุองวรทะรก
2008 รทนิรมอณุรอยอซ 36 รทนิรมอณุรอนนถ
นัางยี่ขบงวขแ ดัลพงาบตขเ รคนาหมพทเงุรก 10700
ทพัศรทโ 0-2886-8088
โทรสาร 0-2883-5856
ำทดัจดใลคคุบหใิมมาห าซำา รษกัอณษกัลยาลน็ปเตาญุนอรากบัรดไมไยดโรพแยผเอืรหงลปแดัด
จากสำา มรรกหาสตุองวรทะรกมรรกหาสตุอจิกฐษรศเนางกัน

พิมพครั้งที่ 1 กันยายน 2557 จำนวน 300 เลม
ตำแหนงปจจุบัน:
- หัวหนาหนวยวิจัยเพื่อการจัดการพลังงานและเศรษฐนิเวศ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเชียงใหม
- อาจารยภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
- ที่ปรึกษาและผูทวนสอบ ในทำเนียบรายชื่อที่ไดรับการขึ้นทะเบียนตามแนวทางการประเมินคารบอน
ฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑของประเทศไทยขององคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน)
ประวัติผูแตง
รศ.ดร.เศรษฐ สัมภัตตะกุล
สถานที่ติดตอ:
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
239 ถ. หวยแกว ต. สุเทพ อ. เมือง จ. เชียงใหม 50200
โทรศัพท 053-942086 E-mail: sate@eng.cmu.ac.th
สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ:
การประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ (Life Cycle Assessment)
คารบอนฟุตพริ้นท (Carbon Footprint) วอเตอรฟุตพริ้นท (Water Footprint)
การออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (Eco-design) เทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology)
การวางแผนและการจัดการพลังงาน (Energy Planning and Energy Management)
ตำแหนงปจจุบัน:
- รองหัวหนาหนวยวิจัยเพื่อการจัดการพลังงานและเศรษฐนิเวศ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเชียงใหม
- ที่ปรึกษาและผูทวนสอบ ในทำเนียบรายชื่อที่ไดรับการขึ้นทะเบียน ตามแนวทางการประเมินคารบอน
ฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑของประเทศไทยขององคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน)
ประวัติผูแตง
ดร.รัตชยุดา กองบุญ
สถานที่ติดตอ:
หนวยวิจัยเพื่อการจัดการพลังงานและเศรษฐนิเวศ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเชียงใหม เลขที่ 239 ถ. หวยแกว ต. สุเทพ อ. เมือง จ. เชียงใหม 50200
โทรศัพท 094-4541516 E-mail: R.kongboon@gmail.com
สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ:
การประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ (Life Cycle Assessment)
คารบอนฟุตพริ้นท (Carbon Footprint)
วอเตอรฟุตพริ้นท (Water Footprint)
ตำแหนงปจจุบัน:
รองผูอำนวยการฝาย ฝายบริหารโครงการและพัฒนากลยุทธ
ศูนยพัฒนาและสนับสนุนอุตสาหกรรมอาหาร สถาบันอาหาร
ประวัติผูแตง
คุณอุทัย ประทุมทอง
สถานที่ติดตอ:
สถาบันอาหาร
2008 ซอยอรุณอมรินทร 36 ถนนอรุณอมรินทร
แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพฯ 10700
โทรศัพท 02-8868088 E-mail: Uthai@nfi.or.th
คำนำ สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมอาหารนับเปนอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญตอเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากเปนอุตสาหกรรม
สงออกที่สำคัญ สามารถสรางรายไดมูลคามหาศาลใหกับประเทศไทยในแตละป นอกจากนี้ยังเปนอุตสาหกรรมที่สงเสริม
อาชีพทางดานเกษตรกรรม โดยกอใหเกิดการจางงานและสรางรายไดใหกับเกษตรกร อยางไรก็ตามในปจจุบัน
การคาโลกนับวันจะมีการเปดเสรีมากขึ้น สงผลใหการสงออกผลิตภัณฑอาหารของไทยประสบกับอุปสรรคตาง ๆ เชน
ผูบริโภคในประเทศคูคาสำคัญใหความใสใจตอสิ่งแวดลอม ทำใหประเด็นการปลอยกาซเรือนกระจกถูกหยิบยกขึ้นมา
เปนปจจัยในการเลือกซื้อ และคาดวาจะเปนผลกระทบที่ทำใหเกิดขอกีดกันทางการคาในชวงระยะเวลาอันใกลนี้
จากอุปสรรคทางการคาในตลาดโลกดังกลาว จำเปนอยางยิ่งที่ผูประกอบการในอุตสาหกรรมอาหารของไทย
จะตองมีการเตรียมความพรอมเพื่อความอยูรอดของธุรกิจและรองรับการแขงขันที่เพิ่มขึ้นทามกลางความเปลี่ยนแปลง
ของเศรษฐกิจโลก ซึ่งแนวทางที่จะเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันใหผูประกอบการไทยได คือ การเพิ่มประสิทธิภาพ
ดานการผลิต ตลอดจนปรับปรุงกระบวนการผลิตอาหารใหลดการปลอยกาซเรือนกระจก เพื่อใหผูบริโภคในประเทศ
คูคายอมรับวาผลิตภัณฑอาหารที่มาจากประเทศไทย ผานกระบวนการผลิตที่ใสใจตอการรักษาสิ่งแวดลอม
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ไดตระหนักถึงความสำคัญในการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันใหกับ
ผูประกอบการอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งมีกวา 8,000 โรงงาน จึงจัดทำโครงการยกระดับการแขงขันอุตสาหกรรมอาหาร
ไทยดวยการลดตนทุนและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (GoodPracticesonProductivityandContinuousImproving
to Carbon Label) อยางตอเนื่องตั้งแตปงบประมาณ 2556 โดยไดวาจางสถาบันอาหารดำเนินการใหคำปรึกษา
แนะนำเชิงเทคนิคแกผูประกอบการผลิตภัณฑอาหาร รวมถึงการยกระดับองคความรูของบุคลากรในอุตสาหกรรม
ตลอดจนสนับสนุนใหผูประกอบการไดรับการขึ้นทะเบียนฉลากคารบอน ทั้งนี้ เพื่อใหผูประกอบการอุตสาหกรรม
อาหารของไทย สามารถลดตนทุนการผลิต ตลอดจนลดปญหาสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะลดการปลอยกาซเรือนกระจก
จากกระบวนการผลิต ซึ่งนอกจากจะเปนการเพิ่มผลิตภาพดานการผลิต พัฒนาและยกระดับมาตรฐานการผลิต
ผลิตภัณฑอาหารในประเทศแลว ยังทำใหอุตสาหกรรมอาหารของไทยสามารถเตรียมพรอมรับการเปลี่ยนแปลงของ
สถานการณเศรษฐกิจและขอกีดกันทางการคาจากตลาดโลก รวมทั้งแสดงใหเห็นถึงการมีสวนรวมของประเทศไทย
ในการลดการปลอยกาซเรือนกระจกสูสิ่งแวดลอม และลดภาวะโลกรอนอยางเปนรูปธรรม
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
กันยายน 2557
คำนำ สถาบันอาหาร
หนังสือเลมนี้เปนการเขียนตอเนื่องจากหนังสือเลมแรก “แนวทางการประเมินรอยเทาฉลากบนผลิตภัณฑ
สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร” โดยคณะผูเขียนไดเพิ่มตัวอยางการประเมินคารบอนฟุตพริ้นท พรอมสอดแทรกเทคนิค
การเก็บขอมูล และการคำนวณที่มีรายละเอียดเพิ่มมากขึ้น โดยมีเปาหมายเพื่อใหบุคลากรในกลุมอุตสาหกรรมอาหาร
รวมทั้งผูที่สนใจไดรับความรู สามารถเขาใจในหลักการ และนำคารบอนฟุตพริ้นทไปประยุกตใชไดอยางเหมาะสม
หนังสือเลมนี้ไดรับการสนับสนุนดวยดีจากสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่งผูจัดทำ
ไดรับการสนับสนุนงบประมาณรวมทั้งคำแนะนำที่ดีจากการดำเนินงาน “โครงการยกระดับการแขงขันอุตสาหกรรม
อาหารไทยดวยการลดตนทุนและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (Good Practices on Productivity and Continuous
Improving to Carbon Label)” มาตั้งแตป 2556 จนถึงปจจุบัน จากประสบการณที่ไดรับในการดำเนินงานโครงการ
ทำใหโรงงานในกลุมอุตสาหกรรมอาหารมีแนวทางลดกาซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิต และไดรับ
การขึ้นทะเบียนคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑ รวมถึงยังสามารถผลิตที่ปรึกษาและผูทวนสอบคารบอนฟุตพริ้นท
ตลอดจนสามารถนำประสบการณที่ไดไปใชในการจัดฝกอบรมใหแกผูที่สนใจไมวาจะเปนหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน
และสถาบันการศึกษามาแลวหลายรุน
สถาบันอาหารหวังเปนอยางยิ่งวาหนังสือเลมนี้จะมีประโยชนตอผูที่สนใจ ทางผูจัดทำขอขอบคุณ
ทุกทานที่มีสวนรวมสนับสนุนและจัดทำหนังสือเลมนี้จนสำเร็จลุลวงมาไดดวยดี หากมีความผิดพลาดประการใด
ทางผูจัดทำยินดีรับคำเสนอแนะและวิจารณ เพื่อเปนแนวทางในการปรับปรุงแกไขเพื่อใหเกิดประโยชนอยางสูงสุด
ในวงกวางตอไป
คณะผูเขียน สถาบันอาหาร
กันยายน 2557
สารบัญ
คำนำ สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
คำนำ สถาบันอาหาร
ประวัติผูแตง
บทที่ 1 สถานการณคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑอาหาร 1
Updates for Carbon Footprint of Foods
1.1 สถานการณฉลากคารบอนฟุตพริ้นทผลิตภัณฑ 2
บทที่ 2 หลักการคำนวณคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑอาหาร 7
Methodology for Determining the Carbon Footprint of Food Product
2.1 การกำหนดวัตถุประสงค 7
2.2 การคัดเลือกผลิตภัณฑ 8
2.3 การกำหนดขอบเขตการประเมิน 8
2.4 การสรางแผนผังวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ 9
2.5 การเก็บรวบรวมขอมูล 12
2.6 การคำนวณคารบอนฟุตพริ้นท 17
บทที่ 3 การประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของอุตสาหกรรมน้ำตาล 21
Carbon Footprint of the Sugar Industry
3.1 ขอมูลทั่วไป 21
3.2 แผนผังวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑน้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ 22
3.3 การเก็บขอมูลบัญชีรายการ 24
3.4 การคำนวณคารบอนฟุตพริ้นท 28
3.5 แนวทางการปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อลดตนทุนและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม 44
หนา
บทที่ 4 การประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของอุตสาหกรรมแปงมันสำปะหลัง 51
Carbon Footprint of the Tapioca Starch Industry
4.1 ขอมูลทั่วไป 51
4.2 แผนผังวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑแปงมันสำปะหลัง 52
4.3 การเก็บขอมูลบัญชีรายการ 53
4.4 การคำนวณคารบอนฟุตพริ้นท 58
4.5 แนวทางการปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อลดตนทุนและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม 71
บทที่ 5 การประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของอุตสาหกรรมกาแฟ 74
Carbon Footprint of the Coffee Industry
5.1 ขอมูลทั่วไป 74
5.2 แผนผังวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑเมล็ดกาแฟคั่วอราบิกา 75
5.3 การเก็บรวบรวมขอมูล 77
5.4 การคำนวณคารบอนฟุตพริ้นท 83
5.5 แนวทางการปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อลดตนทุนและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม 97
เอกสารอางอิง 100
1
กวาครึ่งทศวรรษที่กระทรวงอุตสาหกรรม เล็งเห็นถึงความสำคัญในการสงเสริมใหผูประกอบการและ
อุตสาหกรรมอาหารในประเทศไทยมีความพรอมสำหรับกระแสตลาดสีเขียว หรือตลาดสินคาอาหารที่เปนมิตรตอ
สิ่งแวดลอมที่กำลังเปนที่นิยมและขยายตัวอยางแพรหลายทั่วโลก หากแตจะมองยอนไปยังจุดเริ่มตน การพิจารณา
ผลกระทบทางสิ่งแวดลอมตลอดวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ (Product Life Cycle Assessment: LCA) นั้น ไดเริ่มตน
ขึ้นจากการพิจารณาบรรจุภัณฑเพื่อลดการใชทรัพยากรของบริษัทโคคาโคลา ตั้งแตชวงป พ.ศ. 2533 หลังจากนั้น
กระแสการเรียกรองผลิตภัณฑสีเขียวไดวิวัฒนาการ และขยายวงกวางออกไปทุกสวนของภาคอุตสาหกรรม และ
เปนที่คาดการณเอาไวแลววา ภาคอุตสาหกรรมอาหารซึ่งเปนสวนที่มีการแขงขันทางการตลาดสูงมาก ยอมจะถูก
หยิบยกประเด็นเรื่องผลกระทบทางสิ่งแวดลอมนี้มาใชไมมากก็นอย อาทิเชน ประเด็นทางตรง คือ เพื่อลดผลกระทบ
จากการใชทรัพยากร และลดผลกระทบทางสิ่งแวดลอมดานตาง ๆ และประเด็นทางออม คือ การกีดกันทางการคา
ที่ไมใชภาษี (Non-Tariff Barrier: NTB) อยางไรก็ตามอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดใหญในอุตสาหกรรมอาหาร
มีความคุนเคยกับระบบควบคุมคุณภาพการผลิตโดยผานการปฏิบัติในมาตรฐานอุตสาหกรรม (InternationalOrganization
Standards: ISO) เชน ISO9000, ISO14000, ISO18000, ISO22000, HACCP และ GMP มาเปนอยางดี ดังนั้น
การยอมรับและกาวไปสูมาตรฐานทางดานสิ่งแวดลอมตัวใหม ๆ เชน ISO14025 (ฉลากสิ่งแวดลอม), ISO14067
(Carbon Footprint of Products), ISO14064 (Carbon Footprint for Organization) และ ISO14046 (Water
Footprint of Product) ยอมทำไดคอนขางงายกวากลุมอุตสาหกรรมอาหารที่มีขนาดเล็กหรือวิสาหกิจชุมชน ทั้งนี้
มาตรฐานอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมอาหารตาง ๆ นั้น ไมไดมีผลบังคับใชโดยตรง หากแตถูกใชเปน
เครื่องคัดกรองการเลือกผูกมิตรสัญญาซื้อขายระหวางบริษัทที่สอดคลองกับนโยบายการจัดซื้อจัดจางที่เปนมิตร
ตอสิ่งแวดลอม (Green Purchasing and Green Procurement) นั่นหมายความวา หากผลิตภัณฑอาหารใดไม
มีมาตรฐานอุตสาหกรรม หรือไมมีฉลากสิ่งแวดลอม อาจจะถูกจัดอยูในกลุมที่ถูกปฏิเสธการซื้อขายไดในตลาด
สีเขียวของโลก กรณีเชนนี้ไดถูกประกาศและนำไปใชอยางชัดเจนจากบางประเทศ เชน ประเทศฝรั่งเศส และญี่ปุน
หรือในบางไฮเปอรมารทชั้นนำของโลก อยาง Walmart และ Sainsbury’s ที่มีนโยบายนำเสนอสินคาที่มีคุณภาพ
และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมตอลูกคาอยางจริงจัง
บทที่ 1
สถานการณคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑอาหาร
Updates for Carbon Footprint of Foods
2
1.1 สถานการณฉลากคารบอนฟุตพริ้นทผลิตภัณฑ
ฉลากคารบอนฟุตพริ้นท ถือเปนตัวอยางที่ดีของการนำเอาผลกระทบดานสิ่งแวดลอมมาใชนำเสนอ
ผลิตภัณฑอาหารที่แสดงความรับผิดชอบตอคาการปลอยกาซเรือนกระจกอยางเปนรูปธรรม ซึ่งผลิตภัณฑที่สามารถ
แสดงคาบนฉลากได จะตองไดรับการคำนวณและทวนสอบความถูกตองจากผูเชี่ยวชาญ โดยที่การประเมินนั้น
ตองรวมคากาซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นตั้งแตตนทาง จนถึงมือผูรับซื้อ หรือผูบริโภค ตัวเลขที่ปรากฏบนฉลากสะทอน
ปริมาณคารบอนฟุตพริ้นทที่เกิดขึ้นของผลิตภัณฑนั้น ๆ ซึ่งจะมีคามากนอยแตกตางกันไป ความนาสนใจจะเกิด
ขึ้นเมื่อผลิตภัณฑที่มีฟงกชันการใชงานเหมือนกัน แตคนละตราสินคา อาจหลีกเลี่ยงไมพนกับการถูกเปรียบเทียบ
ระหวางกันถึงจำนวนการปลอยกาซเรือนกระจก สิ่งที่ดี คือ จะเกิดการแขงขันเปนผูนำในตลาดสีเขียวตอไป ปจจุบัน
ในประเทศชั้นนำไดผลักดันกลยุทธการแสดงคาบนฉลากคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑ เพื่อเปนการใหขอมูลและ
สื่อสารไปยังผูบริโภคกลุมใหมที่ใสใจเรื่องสิ่งแวดลอมเปนพิเศษที่นับวันกลุมลูกคากลุมนี้จะขยายจำนวนเพิ่มมาก
ขึ้นอยางรวดเร็ว ทั้งนี้อาจเนื่องจากปญหาโลกรอน ปญหาสิ่งแวดลอม และปญหาสุขภาพมนุษย ไดทวีความรุนแรง
และเห็นผลกระทบอยางชัดเจนนั่นเอง เชน โรคใหม ๆ ซึ่งเกิดมากับปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ ปญหา
น้ำทวม ปญหาหมอกควัน และปญหาภัยพิบัติจากธรรมชาติ เปนตน
ตัวอยางที่นาสนใจในการแขงขันของตลาดสีเขียวมีใหเห็นไดในทุกมุมของโลกในปจจุบันนี้ อาทิเชน กลุมคาปลีก
ในประเทศสหราชอาณาจักร ไดมีการกำหนดนโยบายทางดานคารบอนฟุตพริ้นทเอาไวชัดเจน ซึ่งอุตสาหกรรม
ในหวงโซอุปทานยอมตองปรับตัว หากยังมีความตองการรักษาสวนแบงการตลาดกับกลุมคาปลีกนี้ไว เชน ผักและผลไม
ที่สงมายังซุปเปอรมารเก็ตในเครือ Sainsbury’s จะตองมีการแสดงคาระยะทางในการขนสง และคาคารบอนฟุตพริ้นท
ที่เกิดขึ้นจากการขนสง ยกตัวอยางเชน มะเขือเทศ มีการนำเขามาจากประเทศอารเจนตินา เปนระยะทาง กิโลเมตร
จะถูกคำนวณเปนคาคารบอนฟุตพริ้นทอยูที่กรัมคารบอนไดออกไซตเทียบเทา ซึ่งคาเหลานี้จะถูกแสดงในใบเสร็จ
นั่นหมายความวา หลังจากลูกคารวมคาใชจายในใบเสร็จแลว ลูกคาจะทราบปริมาณคารบอนฟุตพริ้นทไปดวยนั่นเอง
อยางไรก็ตามในความเปนจริงคาคารบอนฟุตพริ้นทไมไดคิดประเมินแตเฉพาะในการขนสงเทานั้น แตจะรวมไปตั้งแต
ขั้นตอนการไดมาซึ่งวัตถุดิบ (การเพาะปลูก) การผลิตในโรงงาน การจัดจำหนาย การบริโภค และการนำไปกำจัด
ดังนั้นหากมองในบริบทของประเทศไทยมีเปาหมายจะเปนครัวของโลก ที่จะตองสงและจำหนายผัก ผลไม
อาหารไปยังประเทศตาง ๆ ทั่วโลก หากมีความตองการใหอุตสาหกรรมในหวงโซอุปทานวิเคราะหคาคารบอนฟุตพริ้นท
หรือใหมีการจัดการลดคาคารบอนฟุตพริ้นทกอนนำเขาประเทศนั้น ๆ ยอมเปนเรื่องที่อันตรายตอการสูญเสียมูลคา
ทางการตลาดหากไมไดมีการเตรียมความพรอมเอาไว เพราะกลุมคาปลีกเหลานั้นอาจหันไปพึ่งพาการนำเขาจากประเทศ
ที่มีความชัดเจนทางดานสิ่งแวดลอมมากกวาก็เปนไปได
3
รูปที่ 1.1บริษัทคาปลีกในอังกฤษที่มีนโยบายดานคารบอนฟุตพริ้นท
ที่มา: Carbon Trust, UK (2014)
4
2.1ีทปูร
สำหรับประเทศไทย องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (อบก.) ไดสนับสนุนใหเกิดกระบวนการ
ทนิรพตุฟนอบราคนางนินเำดรากยดโฑณัภติลผนบทนิรพตุฟนอบราคกาลฉาคงดสแรากะลแบอสนวทรากณวนำคราก
ของผลิตภัณฑ ตั้งแตป พ.ศ. 2552 เปนตนมา มีผลิตภัณฑที่ไดรับการอนุมัติใหใชเครื่องหมายคารบอนฟุตพริ้นท
ของผลิตภัณฑ แลวจำนวน 1,207 ผลิตภัณฑ จาก 282 บริษัท ซึ่งผลิตภัณฑที่ยังอยูในระหวางการอนุญาตใหใช
)7552.ค.ก82ีทนัวณลูมอข(ทัษิรบ961กาจฑณัภติลผ537ีมฑณัภติลผงอขทนิรพตุฟนอบราคยามหงอืรคเ
ตัวอยางฉลากคารบอนฟุตพริ้นทของประเทศตางๆ
ที่มา: www.keiti.re.kr (2014)
5
รูปที่ 1.3 ตัวอยางสินคาติดฉลากคารบอนฟุตพริ้นท
ในการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑ มีแนวทางการประเมินตามหลักการของประเทศไทย
หากแตในการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑของแตละบริษัทจะมีรายละเอียดที่แตกตางกัน แมแต
ผลิตภัณฑชนิดเดียวกัน แตผลิตในสถานที่ตางกัน การประเมินคารบอนฟุตพริ้นทจะมีรายละเอียดการเก็บขอมูล
ที่ไมเหมือนกัน
และเปนผลิตภัณฑภายใตการสนับสนุนของกระทรวงอุตสาหกรรมมากกวา 100 ผลิตภัณฑ และไดรับการตอบสนอง
อยางดีจากกลุมคาปลีกและหางสรรพสินคา เชน 7-11 และ TOPs Supermarket ซึ่งไดมีการโปรโมทและ
จัดจำหนายสินคาที่ติดและแสดงคาฉลากคารบอนฟุตพริ้นทอยางหลากหลาย เชน น้ำมันพืช กาแฟคั่ว บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป
และ นมสดพาสเจอรไรสเซอร เปนตน ตัวอยางแสดงดังรูปที่ 1.3
6
โดยในหนังสือเลมนี้ ไดมีการเพิ่มกรณีศึกษาการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทที่มีความละเอียดใน
การคำนวณมากยิ่งขึ้น พรอมทั้งนำเสนอความเปนไปได และแนวทางในการลดกาซเรือนกระจกที่เกิดขึ้น โดยแบง
เปนระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว เพื่อใหเกิดกลไกการผลิตและการบริโภคอยางยั่งยืน สรางบรรทัดฐาน
การผลิตและการบริโภคที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมใหเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรมประเทศไทยในอนาคตอันใกล และ
สงเสริมการสรางประเทศไทยใหเปนครัวของโลกที่อาณาอารยประเทศมีความตองการอาหารจากประเทศไทย
นำพาเงินตราเขามาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในกลุมอุตสาหกรรมอาหารของประเทศตอไป
รูปที่ 1.3.1 ตัวอยางเว็บไซต http://www.nfi.or.th/carbonfootprint/
ดังนั้น เพื่อใหมีความเขาใจในรายละเอียดการประเมินคารบอนฟุตพริ้นท หนังสือ “การจัดการคารบอน
ฟุตพริ้นทสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร” จึงถูกจัดทำขึ้นตอจากคูมือพื้นฐานในหนังสือเลมแรก “แนวทางการประเมิน
รอยเทาฉลากบนผลิตภัณฑสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร” พรอมโปรแกรมการคำนวณคารบอนฟุตพริ้นทเบื้องตน ซึ่ง
สามารถดาวนโหลดไดที่ http://www.nfi.or.th/carbonfootprint/
7
บทที่ 2
หลักการคำนวณคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑอาหาร
Methodology for Determining the Carbon Footprint of Food Product
สำหรับบทนี้จะเปนการทบทวนขั้นตอนการประเมินคารบอนฟุตพริ้นททั้ง 6 ขั้นตอน
จากเนื้อหาในหนังสือเลมแรก “แนวทางการประเมินรอยเทาฉลากบนผลิตภัณฑสำหรับ
อุตสาหกรรมอาหาร” โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้
2.1 การกำหนดวัตถุประสงค
การกำหนดวัตถุประสงคถือเปนเข็มทิศในการกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ยกตัวอยางเชน หากกำหนด
วัตถุประสงค “เพื่อขอขึ้นทะเบียนฉลากคารบอนฟุตพริ้นท” นั้น หมายถึง การดำเนินงานจะเปนไปตามแนวทาง
การประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑสำหรับประเทศไทย ในทางตรงกันขามหากมีการกำหนดวัตถุประสงค
เพื่อหาแนวทางการลดการปลอยกาซเรือนกระจกของผลิตภัณฑ โดยไมขอรับรองการขึ้นทะเบียนฉลากคารบอน
ฟุตพริ้นท จะนำไปสูการดำเนินงาน และการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทโดยขึ้นอยูกับผูประเมินที่จะกำหนดขอบเขต
ในการประเมินบนพื้นฐานของหลักการการประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ ซึ่งอาจจะมีรายละเอียดที่แตกตางกัน
เชน การกำหนดหนวยหนาที่การทำงานหากดำเนินการเพื่อขอรับรองการขึ้นทะเบียนฉลากคารบอนฟุตพริ้นท
จะกำหนดตอหนวยผลิตภัณฑที่วางจำหนาย (Sold Unit) ในขณะที่การประเมินเพื่อหาแนวทางการลดการปลอย
กาซเรือนกระจกภายในบริษัท อาจจะกำหนดหนวยหนาที่การทำงานตอ 1 หนวย เปนตน
สำหรับกรณีศึกษาที่จะกลาวในบทตอ ๆ ไป ประกอบดวย ผลิตภัณฑน้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ แปงมันสำปะหลัง
และกาแฟ โดยกำหนดวัตถุประสงคเพื่อขอรับรองการขึ้นทะเบียนฉลากคารบอนฟุตพริ้นท ดังนั้นการประเมินจะ
เปนไปตามแนวทางการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑสำหรับประเทศไทย รวมไปถึงขอกำหนดเฉพาะ
ของผลิตภัณฑนั้น ซึ่งจะกลาวรายละเอียดไวในบทตอไป
8
2.2 การคัดเลือกผลิตภัณฑ
“ควรเลือกผลิตภัณฑตัวไหนทำกอน” เปนคำถามยอดนิยมสำหรับผูเริ่มประเมินคารบอนฟุตพริ้นท ซึ่งใน
การคัดเลือกผลิตภัณฑขึ้นอยูกับบริษัท หรือผูประเมินวามีความสนใจที่จะประเมินผลิตภัณฑตัวไหนกอนเปน
อันดับแรก ดวยเหตุผลที่แตกตางกันไป
“ควรทำทีละผลิตภัณฑหรือทำทั้งหมด” โดยสวนใหญในการผลิตของบริษัทตอสายการผลิต หรือทั้งโรงงาน
สามารถผลิตผลิตภัณฑไดหลายตัว ดังนั้นขอมูลที่เก็บมาอาจเปนขอมูลตอการผลิตทั้งหมด จะตองมีการปนสวน
ใหแตละผลิตภัณฑ ซึ่งการเก็บขอมูล 1 รอบสามารถประเมินคารบอนฟุตพริ้นทไดทุกผลิตภัณฑพรอมกัน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ
ความพรอมของบริษัทหรือผูประเมิน โดยอาจเลือกทำทีละตัว หรือครั้งเดียวทุกผลิตภัณฑ หากพิจารณาในเรื่องของ
คาใชจายเปนหลัก การจัดทำทีเดียวพรอมกันจะมีคาใชจายนอยกวาการจัดทำทีละ 1 ผลิตภัณฑ
เมื่อคัดเลือกผลิตภัณฑที่จะทำการประเมินแลว ผูประเมินจะตองกำหนดหนวยหนาที่การทำงานซึ่งตาม
แนวทางการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑ กำหนดใหหนวยหนาที่การทำงานในการคำนวณคารบอน
ฟุตพริ้นทเปนหนวยผลิตภัณฑตามขนาดบรรจุที่วางจำหนาย (Sold Unit) โดยจะระบุเปนหนวยน้ำหนักหรือปริมาตร
ในเชิงปริมาณ ระบุคำอธิบายผลิตภัณฑ ชื่อทางการคาหรือรหัสสินคาที่ผูบริโภคสามารถทราบขอมูลเฉพาะราย
ผลิตภัณฑ ระบุชื่อสินคา ขอมูลทางเทคนิคที่เกี่ยวของ เชน กระบวนการผลิต เทคโนโลยีที่ใชในการผลิต น้ำหนักสุทธิ
ของผลิตภัณฑ น้ำหนักเนื้อ น้ำหนักแหง น้ำหนักเปยก รวมถึงระบุชนิดภาชนะบรรจุ วัสดุประกอบผลิตภัณฑ (Auxiliaries)
เชน กระถาง ถุง ดิน ถุงซอส ชอนพลาสติก สอมพลาสติก ตะเกียบ และฉลาก เปนตน (ขอกำหนดเฉพาะสำหรับ
การประเมินคารบอนฟุตพริ้นทผลิตภัณฑกลุมผักและผลไม, 2557) ยกตัวอยางเชน กาแฟคั่วเมล็ดเอสเปรสโซ บรรจุ
ถุงอลูมิเนียมฟรอยด ขนาด 250 กรัม หรือน้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ ตรา MK บรรจุกระสอบ ขนาด 50 กิโลกรัม เปนตน
2.3 การกำหนดขอบเขตการประเมิน
การกำหนดขอบเขตในการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑ ตองกำหนดใหสอดคลองกับชนิด
ของผลิตภัณฑ ซึ่งสามารถกำหนดได 2 รูปแบบ คือ
9
- Business-to-Consumer (B2C) พิจารณาขอบเขตการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทครอบคลุมตลอด
วัฏจักรชีวิตตั้งแต การไดมาซึ่งวัตถุดิบ การผลิต การกระจายสินคา การใชงาน และการจัดการเศษซาก
กลาวงาย ๆ คือ พิจารณาตั้งแตผลิตภัณฑเกิดจนตาย
- Business-to-Business (B2B) พิจารณาขอบเขตการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทครอบคลุมตลอด
วัฏจักรชีวิตตั้งแต การไดมาซึ่งวัตถุดิบ และการผลิต โดยขอบเขตสิ้นสุดที่หนาประตูทางออกของ
โรงงานเทานั้น
ในหนังสือเลมแรกไดกลาวไววา ผลิตภัณฑที่เปนแบบ B2C คือ ผลิตภัณฑที่มีการสงถึงมือผูบริโภคสุดทาย
สวนแบบ B2B จะเปนผลิตภัณฑอยูในลักษณะรับจางผลิต (แนวทางการประเมินรอยเทาฉลากบนผลิตภัณฑสำหรับ
อุตสาหกรรมอาหาร, 2556) ดังนั้นจะพบวาความแตกตางระหวาง B2C และ B2B คือ ขอบเขตการประเมิน และ
การใชเครื่องหมายคารบอนฟุตพริ้นท โดยปกติทั้ง B2C และ B2B สามารถแสดงเครื่องหมายในรูปแบบตาง ๆ เชน
แสดงบนเว็บไซต นามบัตร ไวนิล ปายโฆษณา เปนตน ยกเวนกรณีเดียว คือ ผลิตภัณฑที่เปนแบบ B2C สามารถ
นำเครื่องหมายฉลากคารบอนฟุตพริ้นทติดบนผลิตภัณฑได แต B2B ไมสามารถติดฉลากคารบอนฟุตพริ้นทบน
ผลิตภัณฑได
2.4 การสรางแผนผังวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ
แผนผังวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑเปรียบเสมือนแผนที่ในการเดินทาง กลาวคือ แสดงขอบเขตในการ
ประเมิน การเก็บขอมูลครอบคลุมขั้นตอนใดบาง มีขอมูลกิจกรรมอะไรที่เกี่ยวของ กระบวนการผลิตมีกี่ขั้นตอน
เกิดการขนสง ณ จุดใด ซึ่งทำใหผูประเมินสามารถเห็นภาพโดยรวมไดอยางชัดเจน โดยสวนใหญการประเมิน
คารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑอาหาร สามารถเขียนเปนแผนผังวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑอาหารไดทั้งแบบ
Business-to-Consumer (B2C) และ Business-to- Business (B2B) แสดงดังรูปที่ 2.1
จากรูปแสดงขอบเขตในการประเมินทั้งแบบ B2C และ B2B เริ่มจากการไดมาซึ่งวัตถุดิบ โดยผลิตภัณฑ
อาหารที่เกี่ยวของกับผลผลิตทางการเกษตร จะตองมีการเก็บขอมูลในสวนของกระบวนการเพาะปลูกดวย ซึ่งใน
บางผลิตภัณฑกระบวนการเพาะปลูกถือเปนแหลงปลอยกาซเรือนกระจกที่สำคัญ
10
โดยทั่วไปในระดับโรงงานอุตสาหกรรมมีการจัดการในกระบวนการเพาะปลูก 2 แบบ คือ Contact Farming
และรับซื้อจากเกษตรกรโดยทั่วไปซึ่งไมมีสัญญาการผูกพัน ซึ่งรายละเอียดการเก็บขอมูลอาจมีความแตกตางไป
จากการเก็บขอมูลในกระบวนการผลิตโดยจะกลาวรายละเอียดในหัวขอถัดไป
ถัดจากขั้นตอนการไดมาซึ่งวัตถุดิบจะเปนสวนของกระบวนการผลิตในโรงงาน ซึ่งในสวนนี้พิจารณา
ครอบคลุมตั้งแตการขนสงวัตถุดิบเขาสูโรงงาน ผานกระบวนการผลิตในแตละขั้นตอนจนเปนผลิตภัณฑที่สามารถ
สงไปจำหนายได โดยหากเปนขอบเขตแบบ B2B จะพิจารณาถึงแคประตูทางออกของโรงงานเทานั้น สวน B2C
จะพิจารณาตอไปยังขั้นตอนของการกระจายสินคา การใชงานและการจัดการเศษซากตอไป
ในแผนผังวัฏจักรชีวิตจะตองมีการแสดงสัญลักษณ เพื่อระบุวากิจกรรมการผลิตใดเปนทางตรงและ
ทางออม โดยกิจกรรมการผลิตทางตรง คือ กิจกรรมที่สามารถเขาถึงขอมูลได จะแสดงสัญลักษณเปนเสนทึบ
ในทางกลับกันกิจกรรมการผลิตทางออม กลาวคือ เปนกิจกรรมที่บริษัทไมสามารถเขาถึงขอมูลได หรือเรียกวา
ขอมูลทุติยภูมิ จะแสดงสัญลักษณเปนเสนประดังรูปที่ 2.1
รูปที่2.1แผนผังวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑอาหารกลุมผักและผลไมแบบBusiness-to-Consumer(B2C)และBusiness-to-Business(B2B)
11
12
2.5 การเก็บรวบรวมขอมูล
ขั้นตอนนี้ถือเปนหัวใจสำคัญของการประเมินคารบอนฟุตพริ้นท ความยาก ความงาย เร็วหรือชาในการ
ดำเนินงานขึ้นอยูกับการเก็บรวบรวมขอมูล หากบริษัทมีการจัดเก็บขอมูลที่ดี นั้นหมายความวาบริษัทมีฐานขอมูล
ที่ดี ซึ่งฐานขอมูลนี้นอกจากใชในการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทแลวยังสามารถนำไปใชประโยชนในทางอื่น ๆ ได
อาทิเชน การคำนวณตนทุนเพื่อหาแนวทางการลดตนทุน การปรับปรุงกระบวนการผลิต และการจัดทำฉลากทาง
สิ่งแวดลอมอื่น ๆ เปนตน
ในการจัดเก็บขอมูลจะครอบคลุมตามขอบเขตการประเมิน จากหนังสือเลมแรกกลาวไววาการเก็บขอมูล
เริ่มตนที่ขั้นตอนการผลิต โดยจะเก็บขอมูลในกระบวนการผลิตของโรงงาน การไดมาซึ่งวัตถุดิบ การกระจายสินคา
การใชงาน และการจัดการเศษซาก ตามลำดับ ซึ่งขอมูลที่จัดเก็บจะมีทั้งขอมูลปฐมภูมิ คือ ขอมูลที่เกิดจากการใชจริง
และขอมูลทุติยภูมิ คือ ขอมูลที่ไดจากการอางอิงกับแหลงอางอิงที่นาเชื่อถือได
สำหรับโรงงานผลิตการเก็บขอมูลแบงออกเปน 3 สวน คือ ขอมูลกระบวนการผลิต ขอมูลการขนสง
และขอมูลระบบสนับสนุนการผลิต เชน การผลิตน้ำ การผลิตน้ำออน การผลิตไอน้ำ และการบำบัดน้ำเสีย เปนตน
ซึ่งในแตละสวนแบงเปนขอมูลกิจกรรมการผลิต โดยเก็บขอมูลยอนหลัง 12 เดือน ทั้งนี้มีบางผลิตภัณฑที่อาจจะตอง
มีการเปลี่ยนแปลงชวงระยะเวลาของการเก็บขอมูลซึ่งเปนไปตามขอกำหนดเฉพาะของผลิตภัณฑนั้น และคาสัมประสิทธิ์
การปลอยกาซเรือนกระจก (Emission Factor: EF) ดังรายละเอียดตอไปนี้
2.5.1 ขอมูลกิจกรรมการผลิต
ขอมูลกิจกรรมการผลิต ไดแก ปริมาณสารขาเขา แบงเปนวัตถุดิบ และทรัพยากรชวยในการผลิต สวน
สารขาออก แบงเปนผลิตภัณฑ ผลิตภัณฑรวม และของเสีย รวมไปถึงสมมติฐานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ซึ่งในหนังสือ
เลมแรกไดมีการอธิบายวิธีการเก็บขอมูลพรอมยกตัวอยางประกอบไวอยางละเอียดแลวเชนกัน
สำหรับวัตถุดิบหลักสวนใหญจะตองมีการเก็บขอมูลการไดมาซึ่งวัตถุดิบเพื่อนำมาหาคาการปลอยกาซเรือนกระจก
ยกตัวอยางเชน ผลิตภัณฑน้ำตาลทรายซึ่งวัตถุดิบหลัก คือ ออย จะตองมีการเก็บขอมูลกระบวนการเพาะปลูกออย
หรือผลิตภัณฑนมจะตองมีการเก็บขอมูลกระบวนการเลี้ยงโคนม เปนตน หนังสือเลมนี้ในแตละกรณีศึกษาจะมี
วัตถุดิบหลักเปนผลผลิตทางการเกษตรซึ่งตองเก็บขอมูลกระบวนการเพาะปลูก โดยวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล
อาจแตกตางจากการเก็บขอมูลในกระบวนการผลิต ซึ่งรายละเอียดมีดังตอไปนี้
13
กิจกรรมที่กอใหเกิดการปลอยกาซเรือนกระจกในกระบวนการเพาะปลูก อาทิเชน การเผาไหมของ
เชื้อเพลิงในเครื่องจักร กาซมีเทนจากการใชมูลสัตว หรือกาซไนตรัสออกไซดจากการใชปุย เปนตน
ซึ่งคำถามยอดนิยมในขั้นตอนนี้ คือ “กระบวนการเพาะปลูกเก็บขอมูลอะไรบาง?”
สำหรับขั้นตอนการเพาะปลูกโดยหลัก ๆ มี 4 ขั้นตอนดังนี้ การเตรียมดิน การปลูก การบำรุงรักษา และ
การเก็บเกี่ยว ซึ่งขอมูลที่ใชในการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทประกอบดวยขอมูลทุก ๆ กิจกรรมที่เกิดขึ้นในกระบวนการ
เพาะปลูก ไดแก พลังงาน น้ำ สารเคมี ปุยทุกชนิด ไมวาจะเปน ปุยเคมี ปุยคอก ปุยหมัก สารปองกันและกำจัดศัตรูพืช
หรือโรคพืช สารกำจัดวัชพืช เปนตน โดยแผนผังกระบวนการเพาะปลูกแสดงรายละเอียดไดดังรูปที่ 2.2
รูปที่ 2.2 แผนผังแสดงปริมาณสารขาเขาและสารขาออกของกระบวนการเพาะปลูก
การเก็บขอมูลกระบวนการเพาะปลูกผลผลิตทางการเกษตร
14
ในการเก็บขอมูลกระบวนการเพาะปลูกจะเก็บขอมูลปริมาณสารขาเขาและสารขาออกตอไร ซึ่งจากรูป
ที่ 2.2 สามารถอธิบายรายละเอียดในแตละขั้นตอนไดดังตอไปนี้
ในขั้นตอนการเตรียมดิน ขอมูลที่เก็บรวบรวม เชน น้ำมันเชื้อเพลิง ปุย สารเคมีที่ใช เปนตน ในการเก็บ
ขอมูลแตละรายการจะตองทราบชนิด และปริมาณที่ใชตอไร ยกตัวอยางเชน น้ำมันเชื้อเพลิง จะเก็บขอมูลชนิด
ของน้ำมันเชื้อเพลิง เนื่องจากน้ำมันเชื้อเพลิงแตละชนิดมีคาการปลอยกาซเรือนกระจกตางกัน และปริมาณการใช
กี่ลิตรตอไร ซึ่งจะพิจารณารวมกันทั้งหมดไมวาจะไถดะ ไถแปร หรือไถพรวน โดยในทางปฏิบัติเกษตรกรนอยราย
ที่จะทราบปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิงที่ใชในขั้นตอนการไถเพื่อเตรียมดิน ดังนั้นผูประเมินอาจจะตองเก็บขอมูลเพิ่มเติม
กลาวคือ ประเภทของรถไถ ซึ่งสามารถนำประเภทของรถไปหาขอมูลจากแหลงอางอิงตาง ๆ เชน กรมวิชาการ
เกษตร วารถประเภทนั้นในการไถตอไรมีอัตราการใชน้ำมันเชื้อเพลิงกี่ลิตร เปนตน
ดังนั้นผูประเมินตองตระหนักเสมอวาบางครั้งขอมูลที่เก็บไดอาจไมไดอยูในรูปของตัวเลขเสมอไป แตการ
ไดมาซึ่งตัวเลขอาจจะตองเก็บขอมูลสภาพแวดลอม เพื่อนำขอมูลเหลานั้นมาอางอิงเพื่อหาขอมูลในเชิงปริมาณ
สำหรับประเมินคารบอนฟุตพริ้นทได โดยอางอิงจากแหลงขอมูลที่เชื่อถือได
การเตรียมดิน
การปลูก
การบำรุงรักษา
ในขั้นตอนการปลูกจะมีการเก็บรวบรวมขอมูล ยกตัวอยางเชน เมล็ดพันธุ วัตถุดิบหรือวัสดุที่ใชในการ
หอหุมหรือปกคลุมในการปลูก น้ำมันเชื้อเพลิง ปุยชนิดตาง ๆ และสารเคมี เปนตน ซึ่งในการสอบถามขอมูล
ยกตัวอยางเชน เกษตรกรใชเมล็ดพันธุในการปลูกกี่กิโลกรัมตอไร ใชแรงงานคนหรือใชเครื่องจักรในการปลูก
หากใชเครื่องจักรในการปลูกจะตองมีการเก็บขอมูลปริมาณน้ำมันที่ใชของเครื่องจักรตอไร แตหากใชแรงงานคน
จะไมถูกนำมาคิดคารบอนฟุตพริ้นท ในการปลูกตองมีการใสปุยหรือสารเคมีหรือไม ถามีใชปริมาณเทาไหรตอไร
และตองมีการรดน้ำหรือไม ซึ่งหากมีการรดน้ำอาจจะเก็บขอมูลปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิงในเครื่องสูบน้ำ เปนตน
ในขั้นตอนนี้สวนใหญจะสอบถามขอมูล เชน ปุย น้ำมันเชื้อเพลิง สารเคมีปราบวัชพืช สารเคมีควบคุม
แมลงหรือโรคพืช ซึ่งในการสอบถามเราตองทราบประเภทของปุยหรือสารเคมีที่ใช ปริมาณที่ใชตอไร เชน ปุยเคมี
สูตรอะไร ใชกี่กิโลกรัมตอไร หากในการปลูกมีการใสปุยมากกวา 1 รอบ ก็จะตองเก็บขอมูลปริมาณการใชรวม
ทั้งหมด ในบางครั้งการพนสารเคมีปราบวัชพืชอาจจะมีการใชเครื่องจักรซึ่งผูประเมินก็จะตองมีการเก็บน้ำมันเชื้อเพลิง
ที่ใชเชนกัน
15
ระยะเวลาอาจมีความแตกตางจากการเก็บขอมูลของกระบวนการผลิต คือ 12 เดือนยอนหลัง โดยในบทนี้
จะอธิบายระยะเวลาในการเก็บขอมูลของกลุมผักและผลไม เพื่อใหสอดคลองกับกรณีศึกษาในบทตอไป จากขอกำหนด
เฉพาะสำหรับการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทผลิตภัณฑกลุมผักและผลไมไดมีการกำหนดระยะเวลาในการเก็บขอมูล
แบงออกเปน 3 กรณีดังตอไปนี้
ใหเก็บขอมูลการปลูกพืชผักฤดูเดียวระยะเวลา 3 รอบการปลูก ยกเวน กรณีที่เริ่มตนการปลูกพืชผักฤดู
เดียวในพื้นที่ใหมหรือพืชชนิดใหม ใหพิจารณาเปนระยะเวลา 1 ป เปนอยางนอย โดยเปนขอมูลในปลาสุดที่
สามารถรวบรวมขอมูลได
การเก็บเกี่ยวมี 2 ประเภท คือ ใชเครื่องจักร หรือใชแรงงานคน ซึ่งถาเปนแบบแรกจะเก็บขอมูลปริมาณ
การใชน้ำมันเชื้อเพลิง แตถาใชแรงงานคนคาการปลอยกาซเรือนกระจกมีคาเทากับศูนย ซึ่งในขั้นตอนนี้สารขาออก
ที่ได คือ ผลผลิตตอไร และอาจจะมีเศษซาก เชน ใบออย เปนตน ซึ่งจะตองมีการเก็บขอมูลวาเศษซากเหลานี้
นำไปทำอะไรตอ เชน ไถฝงกลบเปนปุยคาการปลอยกาซเรือนกระจกเปนศูนย หรือเผาทิ้งก็จะตองมีการคำนวณ
การเผาไหมเศษซากในการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทดวย
โดยสรุปวิธีการการเก็บขอมูลกระบวนการเพาะปลูก มักเก็บขอมูลดวยแบบสอบถามปลายปดโดยใชวิธี
การสัมภาษณเกษตรกรเปนรายบุคคล ขอมูลที่ไดจากการสำรวจ คือ ปริมาณสารขาเขาและสารขาออก ตั้งแต
การเตรียมดิน การปลูก การบำรุงรักษา และการเก็บเกี่ยว ซึ่งขอมูลที่ไดจากการรวบรวม ไดแก การใชเชื้อเพลิง
ชนิดพันธุพืช ชวงเวลาที่ปลูก ปุย สารปองกันและกำจัดโรค สารปองกันและกำจัดศัตรูพืช สารกำจัดวัชพืช น้ำ ของเสีย
และการจัดการของเสียที่เกิดขึ้น ผลผลิตที่ได และการขนสงเพื่อนำไปจำหนาย โดยขอมูลดิบจะถูกนำมาหาคาเฉลี่ย
แบบถวงน้ำหนัก เพื่อใหเปนขอมูลบัญชีรายการตอไรสำหรับนำไปใชในการคำนวณคารบอนฟุตพริ้นทตอไป
ระยะเวลาในการเก็บขอมูลสำหรับผลิตผลทางการเกษตร
การเก็บเกี่ยว
กรณีพืชผักฤดูเดียว (Annual crop)
16
เก็บขอมูลการปลูกพืชผักสองฤดูเปนระยะเวลา 3 รอบการปลูก ยกเวน กรณีที่เริ่มตนการปลูกพืชผักฤดู
เดียวในพื้นที่ใหมหรือพืชชนิดใหม ใหพิจารณาเปนระยะเวลา 1 ป เปนอยางนอย โดยใชขอมูลในปลาสุดที่สามารถ
รวบรวมขอมูลได
จากขอกำหนดเฉพาะสำหรับการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทผลิตภัณฑกลุมผักและผลไม ในกรณีที่บริษัท
สามารถเขาถึงขอมูลได มีหลักการในการสุมตัวอยางของการเก็บขอมูล 3 กรณี ดังตอไปนี้
• รวบรวมขอมูลจากแปลงผักหรือสวนผลไมที่ผลผลิตครอบคลุมอยางนอยรอยละ 50 ของวัตถุดิบที่ใช
ในการผลิตประจำป
• หากไมสามารถทำตามขอ 1 ได ใหใชกฎรากที่สองในการสุมตัวอยาง โดยแบงพื้นที่ทางเกษตรได 2 กรณีดังนี้
กรณีที่ 1 วิธีปฏิบัติทางการเกษตรเหมือนกันในทุกพื้นที่ ใหสุมตัวอยางโดยใชกฎรากที่สองจากจำนวน
ฟารมทั้งหมด เชน บริษัทมีฟารมในการเพาะปลูก 30 แหง ใหสุม 6 แหง ซึ่งหากมีเศษจากการคำนวณรากที่สอง
ใหปดขึ้น เปนตน
กรณีที่ 2 วิธีปฏิบัติทางการเกษตรแตกตางกันในแตละพื้นที่ ใหจำแนกกลุมของฟารมกอน แลวสุมตัวอยาง
โดยใชกฎรากที่สองจากจำนวนฟารมทั้งหมดในแตละประเภท เชน บริษัทสามารถจำแนกวิธีปฏิบัติของฟารมได
3 กลุม โดยกลุมแรกมีฟารม 9 แหง กลุมสองมี 25 แหง และกลุมสามมี 36 แหง ดังนั้นการสุมตัวอยางในแตละกลุม
เก็บขอมูลการปลูกพืชผักยืนตนหรือผลไม ระยะเวลาตลอดอายุขัย ตั้งแตการเตรียมเมล็ดพันธุ การดูแล
รักษาจนกระทั่งสามารถออกดอกออกผล ระยะเวลาใหผลผลิตต่ำ ระยะเวลาใหผลผลิตสูงจนกระทั่งไมมีการออก
ดอกออกผล ในกรณีที่ไมสามารถรวบรวมขอมูลยอนหลังหรือยังไมหมดอายุขัย ใหกำหนดสมมติฐานเกี่ยวกับวิธีการ
ปฏิบัติและดูแลรักษาที่สอดคลองหรือใกลเคียงกับสถานการณจริงมากที่สุด โดยอางอิงกับรายงานทางวิชาการ
ของหนวยงานรัฐที่เกี่ยวของ
แตในกรณีที่บริษัทตองการรวบรวมขอมูลระยะเวลานอยกวา 1 ป จะตองมีการชี้แจงเหตุผลและความจำเปน
รวมทั้งอธิบายความเปนตัวแทนที่ดีของขอมูลดวย
การสุมตัวอยาง
กรณีพืชผักสองฤดู (Biennial crop)
กรณีพืชผักยืนตน (Perennial crops)
17
เทากับ 3, 5 และ 6 แหง ตามลำดับ แตในกรณีที่บริษัทไมสามารถเขาถึงขอมูลไดจะตองมีการระบุแหลงที่มาของ
วัตถุดิบ และอางอิงขอมูลการเพาะปลูกจากแหลงอางอิงทุติยภูมิ ซึ่งรายละเอียดผูประเมินสามารถศึกษาเพิ่มเติม
ไดจากขอกำหนดเฉพาะสำหรับการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทผลิตภัณฑกลุมผักและผลไมโดยดาวนโหลดไดจาก
หนาเว็บไซตขององคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) หรือ www.tgo.or.th
2.5.2 ขอมูลสัมประสิทธิ์การปลอยกาซเรือนกระจก (Emission Factor: EF)
การประเมินคารบอนฟุตพริ้นทคา EF อาจไดจากการเก็บขอมูลและคำนวณ หรืออางอิงจากแหลงทุติยภูมิ
ซึ่งในหนังสือเลมแรกไดกลาวถึงวิธีการเลือกใชคา EF และแหลงอางอิงตาง ๆ ไวแลว โดยคา EF ที่จะตองเก็บรวบรวม
เชน คา EF ของการผลิตวัตถุดิบทุกชนิดที่เปนสารขาเขาของกระบวนการผลิต คา EF ของสารขาออกที่เกิดจาก
กระบวนการผลิต คา EF ของการขนสงวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ และคา EF ของการจัดการเศษซากที่เกิดขึ้นใน
กระบวนการผลิตหรือหลังการใชงานผลิตภัณฑ เปนตน
2.6 การคำนวณคารบอนฟุตพริ้นท
ขั้นตอนสุดทายของการประเมินคารบอนฟุตพริ้นท คือ การคำนวณคารบอนฟุตพริ้นทซึ่งสามารถคำนวณ
ไดจากสมการดังตอไปนี้
ปริมาณกาซเรือนกระจก = ขอมูลกิจกรรม × คาสัมประสิทธิ์การปลอยกาซเรือนกระจก
ขอมูลที่ไดจะถูกนำมาทำสมดุลมวลสารและสมดุลพลังงานขอมูลรายปใหเปนขอมูลตอหนวยหนาที่การทำงาน
ขอมูลบางประเภทอาจตองมีการปนสวน เนื่องจากมีการใชรวมกันในการผลิตผลิตภัณฑหลายชนิด ตามแนวทาง
การประเมินคารบอนฟุตพริ้นทระบุใหใชวิธีการปนสวนตามน้ำหนัก (Mass Allocation) แตอาจมีบางผลิตภัณฑที่มี
การปนสวนตามมูลคาทางเศรษฐศาสตร (Economic Allocation) ซึ่งขึ้นกับขอกำหนดเฉพาะของผลิตภัณฑนั้น
โดยรายละเอียดหลักการตาง ๆ ไดอธิบายไวในหนังสือเลมแรกแลวเชนกัน ซึ่งในขั้นตอนนี้ขอควรระวัง คือ การเลือกใช
คา EF ตองมีหนวยเดียวกันกับขอมูลกิจกรรมดวย
18
สำหรับวัตถุดิบหลักหรือระบบสนับสนุน ในทางปฏิบัติจะมีการคำนวณคาการปลอยกาซเรือนกระจกตอ
หนวยหนาที่การทำงาน 1 หนวย เชน 1 กิโลกรัม 1 ตัน หรือ 1 ลูกบาศกเมตร เปนตน เพื่อสะดวกตอการนำคา
มาใชในการคำนวณ
ขอควรทราบเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใชปุย คือ ปุยเคมีใหพิจารณาการปลอยกาซเรือนกระจกในขั้นตอนการผลิต
และการใชงาน สำหรับปุยคอกใหพิจารณาการปลอยกาซเรือนกระจกเปนศูนยเพราะเปนการนำของเสียกลับมา
ใชประโยชน สวนปุยหมักใหพิจารณาการปลอยจากการผลิตวัตถุดิบและการผลิตปุยหมัก กรณีที่ใชเศษผักและผลไม
เปนวัตถุดิบมีคาการปลอยกาซเรือนกระจกเปนศูนย เนื่องจากนำของเสียกลับมาใชประโยชน
รายละเอียดการคำนวณคารบอนฟุตพริ้นทจะแสดงในเอกสารที่เรียกวา Verification sheet เปนเอกสาร
แสดงการคำนวณในรูปของไฟล Excel ซึ่งไดอธิบายไวในหนังสือเลมแรกแลวเชนกัน สำหรับ Verification sheet
เปน 1 ใน 3 เอกสารที่ใชประกอบการทวนสอบคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑ จากผลการคำนวณใน Verification
sheet จะแสดงใหเห็นวาขั้นตอนใดในวัฏจักรชีวิตเกิดการปลอยกาซเรือนกระจกมากที่สุด และสามารถพิจารณาคา
การปลอยกาซเรือนกระจกในระดับกิจกรรมได โดยกิจกรรมใดที่เปนกิจกรรมสำคัญที่ทำใหเกิดการปลอยกาซเรือนกระจก
มากที่สุด ซึ่งจากผลนำไปสูแนวทางและแผนการลดคาการปลอยกาซเรือนกระจกและตนทุนไดอยางเปนรูปธรรม
ดังคำกลาวที่วา
ทานเชื่อหรือไมวา “ลดการปลอยกาซเรือนกระจกเทากับการลดตนทุนการผลิต” ในหนังสือเลมนี้จะ
อธิบายถึงความจริงของคำกลาวนี้ผานกรณีศึกษาการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของอุตสาหกรรมน้ำตาล แปงมัน
และกาแฟ ซึ่งการที่บริษัทจะสามารถลดการปลอยกาซเรือนกระจก เพื่อลดตนทุนและเปนกระบวนการผลิตที่
เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมไดนั้น จะตองมีการวางแผนการดำเนินงานอยางเปนระบบ ซึ่งในแตละกรณีศึกษาจะ
อธิบายแนวทางการปฏิบัติแบงออกเปน 3 ระยะ คือ ระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว รายละเอียดแสดงดัง
ตารางตอไปนี้
การลดการปลอยกาซเรือนกระจก = การลดตนทุนการผลิต
19
ตารางที่ 2.1 แนวทางการดำเนินงานที่ไดจากการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทเพื่อนำไปสูการลดตนทุน
และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
การประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของทุกผลิตภัณฑจะอางอิงตามหลักการในการประเมินทั้ง 6 ขั้นตอน
ดังที่ไดกลาวมาแลวเบื้องตน แตอาจมีความแตกตางกันในรายละเอียดของวิธีการดำเนินงาน เทคนิคในการคำนวณ
หรือสมมติฐานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ยกตัวอยางเชน ในการเก็บขอมูลถึงแมจะเปนผลิตภัณฑเดียวกัน แตบริษัทผูผลิต
แตกตางกัน การไดมาซึ่งขอมูลอาจใชวิธีการหรือเทคนิคที่แตกตางกัน ซึ่งทุกบริษัทจะมีลักษณะจำเพาะของบริษัท
ดังนั้นผูประเมินเองอาจจะตองมีการปรับเปลี่ยนวิธีการดำเนินงานใหมีความเหมาะสมกับสถานการณ และในการประเมิน
ทุกผลิตภัณฑ กลาวไดวาสามารถเพิ่มทักษะและประสบการณในการประเมินได โดยเฉพาะอยางยิ่งขั้นตอนการเก็บขอมูล
เปนการเพิ่มทักษะในการประสานงานซึ่งความยากหรืองายขึ้นอยูกับบุคคล และวัฒนธรรมขององคการที่แตกตางกันไป
รูปแบบแนวทาง รายละเอียด
ระยะสั้น สามารถเริ่มดำเนินการไดทันที
ไมตองใชเงินลงทุนหรือลงทุนนอย
การดำเนินงานไมสงผลกระทบตอการทำงาน
ใชบุคลากรภายในบริษัทเอง
ใชความรูดานเทคนิคที่มีอยูแลว อาจเปนเพียงการปรับรูปแบบในการปฏิบัติงาน
ระยะกลาง มีการวางแผนกอนเริ่มดำเนินการ
ใชเงินลงทุนบาง มีระยะคืนทุนภายใน 2 ป
การดำเนินงานอาจสงผลกระทบตอการทำงานบาง
ใชบุคลากรภายในพอสมควร หรืออาจจะตองมีการใชบุคลากรจากภายนอก
ตองมีการศึกษาความรูทางดานเทคนิคเพิ่มเติม
ระยะยาว มีการวางแผนอยางรัดกุมกอนเริ่มดำเนินการ
ใชเงินลงทุนมาก มีระยะคืนทุนเกิน 5 ป
การดำเนินงานมีผลตอการทำงานมาก
ใชบุคลากรภายในและภายนอก
ตองมีการศึกษาความรูทางดานเทคนิค และอาจจะตองมีการประเมิน
ความเปนไปไดของโครงการเพิ่มเติม
o
o
o
o
o
o
o
o
o
o
o
o
o
o
o
20
การประเมินคารบอนฟุตพริ้นทจะแสดงใหเห็นวาขั้นตอนใดในวัฏจักรชีวิตมีคาการปลอยกาซเรือนกระจก
มากที่สุด หากพิจารณาในรายละเอียดจะพบประเด็นสำคัญที่ทำใหเกิดการปลอยกาซเรือนกระจกเรียงลำดับจาก
มากไปนอยได ซึ่งประเด็นเหลานี้จะนำไปสูแนวทางการปรับปรุงกระบวนการผลิตใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
สามารถลดการปลอยกาซเรือนกระจกและลดตนทุนการผลิตได ดังนั้นประโยชนของการประเมินคารบอนฟุตพริ้นท
อาจสรุปไดวา
ดังนั้น การที่บริษัทไดฉลากคารบอนฟุตพริ้นทมา จึงอาจมิใชประเด็นสำคัญ กลาวคือฉลากเปนผลพลอยได
ที่บริษัทควรมีไวเพื่อเพิ่มโอกาสทางการคาขายผลิตภัณฑ แตประโยชนแฝงที่นอกเหนือจากประเด็นเรื่องสิ่งแวดลอม
และสามารถนำไปประยุกตใชใหเกิดประโยชนสูงสุดได ก็คือฐานขอมูล แบบฟอรมการเก็บขอมูล หรือผลการคำนวณ
ที่ไดจากการประเมินคารบอนฟุตพริ้นท จะทำใหสามารถหาแนวทางการปรับปรุงกระบวนการผลิตที่เปนมิตร
ตอสิ่งแวดลอม และลดตนทุนการผลิต ทั้งนี้เพื่อใหบริษัทมุงสูการเปนผูผลิตที่ตระหนักถึงมิติ 3E โดย E แรก คือ
Economic E ที่สอง คือ Energy และ E ที่สาม คือ Environmental ไดอยางเปนรูปธรรมนำไปสูการผลิต
ไดอยางยั่งยืน
“รูตัวเอง เจาะลึกถึงประเด็น เอาไปปรับปรุง ลดตนทุนได และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม”
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร

More Related Content

What's hot

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
pornpimonnuy
 
230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf
230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf
230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf
Chuta Tharachai
 
Основні чинники змін етнічної структури України наприкінці ХХ ст. (на приклад...
Основні чинники змін етнічної структури України наприкінці ХХ ст. (на приклад...Основні чинники змін етнічної структури України наприкінці ХХ ст. (на приклад...
Основні чинники змін етнічної структури України наприкінці ХХ ст. (на приклад...
DonbassFullAccess
 
คิดแบบหมวก 6 ใบ six thinking hat
คิดแบบหมวก 6 ใบ six thinking hatคิดแบบหมวก 6 ใบ six thinking hat
คิดแบบหมวก 6 ใบ six thinking hat
Padvee Academy
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น ชุด ของฟรี ไม่มีขาย จำนวน 407 ข้อ
แนวข้อสอบท้องถิ่น ชุด ของฟรี ไม่มีขาย จำนวน 407 ข้อแนวข้อสอบท้องถิ่น ชุด ของฟรี ไม่มีขาย จำนวน 407 ข้อ
แนวข้อสอบท้องถิ่น ชุด ของฟรี ไม่มีขาย จำนวน 407 ข้อ
ประพันธ์ เวารัมย์
 
แบบทดสอบจำแนกประเภทข้อมูล
แบบทดสอบจำแนกประเภทข้อมูลแบบทดสอบจำแนกประเภทข้อมูล
แบบทดสอบจำแนกประเภทข้อมูลJit Khasana
 
เฉลย Gat
เฉลย Gatเฉลย Gat
เฉลย Gattaew_th
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัย
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
sukanya petin
 
บท3เซลล์
บท3เซลล์บท3เซลล์
บท3เซลล์
Wichai Likitponrak
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
Saipanya school
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
Preeyapat Lengrabam
 
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรมChapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรมRonnarit Junsiri
 
Siiim
SiiimSiiim
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
Pat Jitta
 

What's hot (20)

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
 
230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf
230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf
230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf
 
Основні чинники змін етнічної структури України наприкінці ХХ ст. (на приклад...
Основні чинники змін етнічної структури України наприкінці ХХ ст. (на приклад...Основні чинники змін етнічної структури України наприкінці ХХ ст. (на приклад...
Основні чинники змін етнічної структури України наприкінці ХХ ст. (на приклад...
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
คิดแบบหมวก 6 ใบ six thinking hat
คิดแบบหมวก 6 ใบ six thinking hatคิดแบบหมวก 6 ใบ six thinking hat
คิดแบบหมวก 6 ใบ six thinking hat
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น ชุด ของฟรี ไม่มีขาย จำนวน 407 ข้อ
แนวข้อสอบท้องถิ่น ชุด ของฟรี ไม่มีขาย จำนวน 407 ข้อแนวข้อสอบท้องถิ่น ชุด ของฟรี ไม่มีขาย จำนวน 407 ข้อ
แนวข้อสอบท้องถิ่น ชุด ของฟรี ไม่มีขาย จำนวน 407 ข้อ
 
แบบทดสอบจำแนกประเภทข้อมูล
แบบทดสอบจำแนกประเภทข้อมูลแบบทดสอบจำแนกประเภทข้อมูล
แบบทดสอบจำแนกประเภทข้อมูล
 
เฉลย Gat
เฉลย Gatเฉลย Gat
เฉลย Gat
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัย
 
แบบทดสอบก่อน – หลัง เรียน
แบบทดสอบก่อน – หลัง  เรียนแบบทดสอบก่อน – หลัง  เรียน
แบบทดสอบก่อน – หลัง เรียน
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
บท3เซลล์
บท3เซลล์บท3เซลล์
บท3เซลล์
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรมChapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
 
ระบบจำนวนจริง
ระบบจำนวนจริงระบบจำนวนจริง
ระบบจำนวนจริง
 

Similar to การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร

รายงาน EHIA
รายงาน EHIAรายงาน EHIA
รายงาน EHIA
Kitsada Duangchang
 
รายงาน Ehia new
รายงาน Ehia new รายงาน Ehia new
รายงาน Ehia new
Naname001
 
บัญชีสรุปโครงการ
บัญชีสรุปโครงการบัญชีสรุปโครงการ
บัญชีสรุปโครงการ
เทศบาลตำบลท่าวังตาล
 
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพดงานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพดKanitha Panya
 
Cyanide introduction by Jutharat
Cyanide introduction by JutharatCyanide introduction by Jutharat
Cyanide introduction by Jutharat
Jesika Lee
 
PCM IS การแยกขยะรีไซเคิล
PCM IS การแยกขยะรีไซเคิลPCM IS การแยกขยะรีไซเคิล
PCM IS การแยกขยะรีไซเคิล
wiriyapcm
 
PCM IS การแยกขยะรีไซเคิล
PCM IS การแยกขยะรีไซเคิลPCM IS การแยกขยะรีไซเคิล
PCM IS การแยกขยะรีไซเคิล
wiriyapcm
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
พัน พัน
 
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม
Tuang Thidarat Apinya
 

Similar to การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร (9)

รายงาน EHIA
รายงาน EHIAรายงาน EHIA
รายงาน EHIA
 
รายงาน Ehia new
รายงาน Ehia new รายงาน Ehia new
รายงาน Ehia new
 
บัญชีสรุปโครงการ
บัญชีสรุปโครงการบัญชีสรุปโครงการ
บัญชีสรุปโครงการ
 
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพดงานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
 
Cyanide introduction by Jutharat
Cyanide introduction by JutharatCyanide introduction by Jutharat
Cyanide introduction by Jutharat
 
PCM IS การแยกขยะรีไซเคิล
PCM IS การแยกขยะรีไซเคิลPCM IS การแยกขยะรีไซเคิล
PCM IS การแยกขยะรีไซเคิล
 
PCM IS การแยกขยะรีไซเคิล
PCM IS การแยกขยะรีไซเคิลPCM IS การแยกขยะรีไซเคิล
PCM IS การแยกขยะรีไซเคิล
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
 
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม
 

More from Vorawut Wongumpornpinit

แนวทางการให้บริการการแพทย์แผนไทยแบบบูรณาการ.pdf
แนวทางการให้บริการการแพทย์แผนไทยแบบบูรณาการ.pdfแนวทางการให้บริการการแพทย์แผนไทยแบบบูรณาการ.pdf
แนวทางการให้บริการการแพทย์แผนไทยแบบบูรณาการ.pdf
Vorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือแนวทางเวชปฏิบัติ(Clinical Practice Guideline).pdf
คู่มือแนวทางเวชปฏิบัติ(Clinical Practice Guideline).pdfคู่มือแนวทางเวชปฏิบัติ(Clinical Practice Guideline).pdf
คู่มือแนวทางเวชปฏิบัติ(Clinical Practice Guideline).pdf
Vorawut Wongumpornpinit
 
อาหารเป็นยา สู่วิถีรักษ์สุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
อาหารเป็นยา สู่วิถีรักษ์สุขภาพ กระทรวงสาธารณสุขอาหารเป็นยา สู่วิถีรักษ์สุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
อาหารเป็นยา สู่วิถีรักษ์สุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
Vorawut Wongumpornpinit
 
รายการตํารับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564.pdf
รายการตํารับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564.pdfรายการตํารับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564.pdf
รายการตํารับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564.pdf
Vorawut Wongumpornpinit
 
คู่มืออาหารตามวัยสำหรับทารกและเด็กเล็ก.pdf
คู่มืออาหารตามวัยสำหรับทารกและเด็กเล็ก.pdfคู่มืออาหารตามวัยสำหรับทารกและเด็กเล็ก.pdf
คู่มืออาหารตามวัยสำหรับทารกและเด็กเล็ก.pdf
Vorawut Wongumpornpinit
 
สุขภาพคนไทย 2567 Thaihealth-report-2567.pdf
สุขภาพคนไทย 2567 Thaihealth-report-2567.pdfสุขภาพคนไทย 2567 Thaihealth-report-2567.pdf
สุขภาพคนไทย 2567 Thaihealth-report-2567.pdf
Vorawut Wongumpornpinit
 
บทความอาหารและโภชนาการ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี (2556).pdf
บทความอาหารและโภชนาการ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี (2556).pdfบทความอาหารและโภชนาการ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี (2556).pdf
บทความอาหารและโภชนาการ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี (2556).pdf
Vorawut Wongumpornpinit
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเวชกรรมไทย คัมภีร์มุจฉาปักขันทิกา.pdf
เอกสารประกอบการสอนวิชาเวชกรรมไทย คัมภีร์มุจฉาปักขันทิกา.pdfเอกสารประกอบการสอนวิชาเวชกรรมไทย คัมภีร์มุจฉาปักขันทิกา.pdf
เอกสารประกอบการสอนวิชาเวชกรรมไทย คัมภีร์มุจฉาปักขันทิกา.pdf
Vorawut Wongumpornpinit
 
ตำราพระโอสถพระนารายณ์ ลิขสิทธิ์โดยกรมศิลปากร
ตำราพระโอสถพระนารายณ์ ลิขสิทธิ์โดยกรมศิลปากรตำราพระโอสถพระนารายณ์ ลิขสิทธิ์โดยกรมศิลปากร
ตำราพระโอสถพระนารายณ์ ลิขสิทธิ์โดยกรมศิลปากร
Vorawut Wongumpornpinit
 
Grammar Rules _ Speak Good English Movement.pdf
Grammar Rules _ Speak Good English Movement.pdfGrammar Rules _ Speak Good English Movement.pdf
Grammar Rules _ Speak Good English Movement.pdf
Vorawut Wongumpornpinit
 
บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ.2566.pdf
บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ.2566.pdfบัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ.2566.pdf
บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ.2566.pdf
Vorawut Wongumpornpinit
 
Psilocybin mushroom handbook.pdf
Psilocybin mushroom handbook.pdfPsilocybin mushroom handbook.pdf
Psilocybin mushroom handbook.pdf
Vorawut Wongumpornpinit
 
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdf
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdfโภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdf
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdf
Vorawut Wongumpornpinit
 
ประกาศกรมฯ เรื่อง มาตรฐานการปลูกและการเก็บเกี่ยวที่ดีของพืชกัญชา (Thailand gu...
ประกาศกรมฯ เรื่อง มาตรฐานการปลูกและการเก็บเกี่ยวที่ดีของพืชกัญชา (Thailand gu...ประกาศกรมฯ เรื่อง มาตรฐานการปลูกและการเก็บเกี่ยวที่ดีของพืชกัญชา (Thailand gu...
ประกาศกรมฯ เรื่อง มาตรฐานการปลูกและการเก็บเกี่ยวที่ดีของพืชกัญชา (Thailand gu...
Vorawut Wongumpornpinit
 
แผนปฏิบัติการด้านสมุนไพรแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2566-2570.pdf
แผนปฏิบัติการด้านสมุนไพรแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2566-2570.pdfแผนปฏิบัติการด้านสมุนไพรแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2566-2570.pdf
แผนปฏิบัติการด้านสมุนไพรแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2566-2570.pdf
Vorawut Wongumpornpinit
 
รายงานสุขภาพคนไทย-2566.pdf
รายงานสุขภาพคนไทย-2566.pdfรายงานสุขภาพคนไทย-2566.pdf
รายงานสุขภาพคนไทย-2566.pdf
Vorawut Wongumpornpinit
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย ฉบับสมบูรณ์.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย ฉบับสมบูรณ์.pdfตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย ฉบับสมบูรณ์.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย ฉบับสมบูรณ์.pdf
Vorawut Wongumpornpinit
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdfตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdf
Vorawut Wongumpornpinit
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdfตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
Vorawut Wongumpornpinit
 
IUNS Country Policy Analysis Nutrition Impact of Agricul.pdf
IUNS Country Policy Analysis Nutrition Impact of Agricul.pdfIUNS Country Policy Analysis Nutrition Impact of Agricul.pdf
IUNS Country Policy Analysis Nutrition Impact of Agricul.pdf
Vorawut Wongumpornpinit
 

More from Vorawut Wongumpornpinit (20)

แนวทางการให้บริการการแพทย์แผนไทยแบบบูรณาการ.pdf
แนวทางการให้บริการการแพทย์แผนไทยแบบบูรณาการ.pdfแนวทางการให้บริการการแพทย์แผนไทยแบบบูรณาการ.pdf
แนวทางการให้บริการการแพทย์แผนไทยแบบบูรณาการ.pdf
 
คู่มือแนวทางเวชปฏิบัติ(Clinical Practice Guideline).pdf
คู่มือแนวทางเวชปฏิบัติ(Clinical Practice Guideline).pdfคู่มือแนวทางเวชปฏิบัติ(Clinical Practice Guideline).pdf
คู่มือแนวทางเวชปฏิบัติ(Clinical Practice Guideline).pdf
 
อาหารเป็นยา สู่วิถีรักษ์สุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
อาหารเป็นยา สู่วิถีรักษ์สุขภาพ กระทรวงสาธารณสุขอาหารเป็นยา สู่วิถีรักษ์สุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
อาหารเป็นยา สู่วิถีรักษ์สุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
 
รายการตํารับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564.pdf
รายการตํารับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564.pdfรายการตํารับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564.pdf
รายการตํารับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564.pdf
 
คู่มืออาหารตามวัยสำหรับทารกและเด็กเล็ก.pdf
คู่มืออาหารตามวัยสำหรับทารกและเด็กเล็ก.pdfคู่มืออาหารตามวัยสำหรับทารกและเด็กเล็ก.pdf
คู่มืออาหารตามวัยสำหรับทารกและเด็กเล็ก.pdf
 
สุขภาพคนไทย 2567 Thaihealth-report-2567.pdf
สุขภาพคนไทย 2567 Thaihealth-report-2567.pdfสุขภาพคนไทย 2567 Thaihealth-report-2567.pdf
สุขภาพคนไทย 2567 Thaihealth-report-2567.pdf
 
บทความอาหารและโภชนาการ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี (2556).pdf
บทความอาหารและโภชนาการ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี (2556).pdfบทความอาหารและโภชนาการ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี (2556).pdf
บทความอาหารและโภชนาการ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี (2556).pdf
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเวชกรรมไทย คัมภีร์มุจฉาปักขันทิกา.pdf
เอกสารประกอบการสอนวิชาเวชกรรมไทย คัมภีร์มุจฉาปักขันทิกา.pdfเอกสารประกอบการสอนวิชาเวชกรรมไทย คัมภีร์มุจฉาปักขันทิกา.pdf
เอกสารประกอบการสอนวิชาเวชกรรมไทย คัมภีร์มุจฉาปักขันทิกา.pdf
 
ตำราพระโอสถพระนารายณ์ ลิขสิทธิ์โดยกรมศิลปากร
ตำราพระโอสถพระนารายณ์ ลิขสิทธิ์โดยกรมศิลปากรตำราพระโอสถพระนารายณ์ ลิขสิทธิ์โดยกรมศิลปากร
ตำราพระโอสถพระนารายณ์ ลิขสิทธิ์โดยกรมศิลปากร
 
Grammar Rules _ Speak Good English Movement.pdf
Grammar Rules _ Speak Good English Movement.pdfGrammar Rules _ Speak Good English Movement.pdf
Grammar Rules _ Speak Good English Movement.pdf
 
บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ.2566.pdf
บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ.2566.pdfบัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ.2566.pdf
บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ.2566.pdf
 
Psilocybin mushroom handbook.pdf
Psilocybin mushroom handbook.pdfPsilocybin mushroom handbook.pdf
Psilocybin mushroom handbook.pdf
 
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdf
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdfโภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdf
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdf
 
ประกาศกรมฯ เรื่อง มาตรฐานการปลูกและการเก็บเกี่ยวที่ดีของพืชกัญชา (Thailand gu...
ประกาศกรมฯ เรื่อง มาตรฐานการปลูกและการเก็บเกี่ยวที่ดีของพืชกัญชา (Thailand gu...ประกาศกรมฯ เรื่อง มาตรฐานการปลูกและการเก็บเกี่ยวที่ดีของพืชกัญชา (Thailand gu...
ประกาศกรมฯ เรื่อง มาตรฐานการปลูกและการเก็บเกี่ยวที่ดีของพืชกัญชา (Thailand gu...
 
แผนปฏิบัติการด้านสมุนไพรแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2566-2570.pdf
แผนปฏิบัติการด้านสมุนไพรแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2566-2570.pdfแผนปฏิบัติการด้านสมุนไพรแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2566-2570.pdf
แผนปฏิบัติการด้านสมุนไพรแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2566-2570.pdf
 
รายงานสุขภาพคนไทย-2566.pdf
รายงานสุขภาพคนไทย-2566.pdfรายงานสุขภาพคนไทย-2566.pdf
รายงานสุขภาพคนไทย-2566.pdf
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย ฉบับสมบูรณ์.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย ฉบับสมบูรณ์.pdfตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย ฉบับสมบูรณ์.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย ฉบับสมบูรณ์.pdf
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdfตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdf
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdfตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
 
IUNS Country Policy Analysis Nutrition Impact of Agricul.pdf
IUNS Country Policy Analysis Nutrition Impact of Agricul.pdfIUNS Country Policy Analysis Nutrition Impact of Agricul.pdf
IUNS Country Policy Analysis Nutrition Impact of Agricul.pdf
 

การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร

  • 1.
  • 2. นยีขเูผ 1. ลุกะตตัภมัสฐษรศเ.รด.ศร 2. ญุบงอกาดุยชตัร.รด 3. งอทมุทะรปยัทุอณุค กองบรรณาธิการที่ปรึกษา 1. รช็พเ.รด รตุบนิช 2. ญุบจใาภวุยณุค รากิธาณรรบงอก 1. าดลฤณุค ปลิศณรรว 2. ดิ์กัศิธทฤรภาภุสณุค 3. ยันิขกัทนฒัวริศณุค พมิพดัจูผ ราหาอนับาถส มรรกหาสตุองวรทะรก 2008 รทนิรมอณุรอยอซ 36 รทนิรมอณุรอนนถ นัางยี่ขบงวขแ ดัลพงาบตขเ รคนาหมพทเงุรก 10700 ทพัศรทโ 0-2886-8088 โทรสาร 0-2883-5856 ำทดัจดใลคคุบหใิมมาห าซำา รษกัอณษกัลยาลน็ปเตาญุนอรากบัรดไมไยดโรพแยผเอืรหงลปแดัด จากสำา มรรกหาสตุองวรทะรกมรรกหาสตุอจิกฐษรศเนางกัน  พิมพครั้งที่ 1 กันยายน 2557 จำนวน 300 เลม
  • 3. ตำแหนงปจจุบัน: - หัวหนาหนวยวิจัยเพื่อการจัดการพลังงานและเศรษฐนิเวศ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม - อาจารยภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม - ที่ปรึกษาและผูทวนสอบ ในทำเนียบรายชื่อที่ไดรับการขึ้นทะเบียนตามแนวทางการประเมินคารบอน ฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑของประเทศไทยขององคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) ประวัติผูแตง รศ.ดร.เศรษฐ สัมภัตตะกุล สถานที่ติดตอ: ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 239 ถ. หวยแกว ต. สุเทพ อ. เมือง จ. เชียงใหม 50200 โทรศัพท 053-942086 E-mail: sate@eng.cmu.ac.th สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ: การประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ (Life Cycle Assessment) คารบอนฟุตพริ้นท (Carbon Footprint) วอเตอรฟุตพริ้นท (Water Footprint) การออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (Eco-design) เทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology) การวางแผนและการจัดการพลังงาน (Energy Planning and Energy Management)
  • 4. ตำแหนงปจจุบัน: - รองหัวหนาหนวยวิจัยเพื่อการจัดการพลังงานและเศรษฐนิเวศ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม - ที่ปรึกษาและผูทวนสอบ ในทำเนียบรายชื่อที่ไดรับการขึ้นทะเบียน ตามแนวทางการประเมินคารบอน ฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑของประเทศไทยขององคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) ประวัติผูแตง ดร.รัตชยุดา กองบุญ สถานที่ติดตอ: หนวยวิจัยเพื่อการจัดการพลังงานและเศรษฐนิเวศ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม เลขที่ 239 ถ. หวยแกว ต. สุเทพ อ. เมือง จ. เชียงใหม 50200 โทรศัพท 094-4541516 E-mail: R.kongboon@gmail.com สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ: การประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ (Life Cycle Assessment) คารบอนฟุตพริ้นท (Carbon Footprint) วอเตอรฟุตพริ้นท (Water Footprint)
  • 5. ตำแหนงปจจุบัน: รองผูอำนวยการฝาย ฝายบริหารโครงการและพัฒนากลยุทธ ศูนยพัฒนาและสนับสนุนอุตสาหกรรมอาหาร สถาบันอาหาร ประวัติผูแตง คุณอุทัย ประทุมทอง สถานที่ติดตอ: สถาบันอาหาร 2008 ซอยอรุณอมรินทร 36 ถนนอรุณอมรินทร แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพฯ 10700 โทรศัพท 02-8868088 E-mail: Uthai@nfi.or.th
  • 6. คำนำ สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมอาหารนับเปนอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญตอเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากเปนอุตสาหกรรม สงออกที่สำคัญ สามารถสรางรายไดมูลคามหาศาลใหกับประเทศไทยในแตละป นอกจากนี้ยังเปนอุตสาหกรรมที่สงเสริม อาชีพทางดานเกษตรกรรม โดยกอใหเกิดการจางงานและสรางรายไดใหกับเกษตรกร อยางไรก็ตามในปจจุบัน การคาโลกนับวันจะมีการเปดเสรีมากขึ้น สงผลใหการสงออกผลิตภัณฑอาหารของไทยประสบกับอุปสรรคตาง ๆ เชน ผูบริโภคในประเทศคูคาสำคัญใหความใสใจตอสิ่งแวดลอม ทำใหประเด็นการปลอยกาซเรือนกระจกถูกหยิบยกขึ้นมา เปนปจจัยในการเลือกซื้อ และคาดวาจะเปนผลกระทบที่ทำใหเกิดขอกีดกันทางการคาในชวงระยะเวลาอันใกลนี้ จากอุปสรรคทางการคาในตลาดโลกดังกลาว จำเปนอยางยิ่งที่ผูประกอบการในอุตสาหกรรมอาหารของไทย จะตองมีการเตรียมความพรอมเพื่อความอยูรอดของธุรกิจและรองรับการแขงขันที่เพิ่มขึ้นทามกลางความเปลี่ยนแปลง ของเศรษฐกิจโลก ซึ่งแนวทางที่จะเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันใหผูประกอบการไทยได คือ การเพิ่มประสิทธิภาพ ดานการผลิต ตลอดจนปรับปรุงกระบวนการผลิตอาหารใหลดการปลอยกาซเรือนกระจก เพื่อใหผูบริโภคในประเทศ คูคายอมรับวาผลิตภัณฑอาหารที่มาจากประเทศไทย ผานกระบวนการผลิตที่ใสใจตอการรักษาสิ่งแวดลอม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ไดตระหนักถึงความสำคัญในการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันใหกับ ผูประกอบการอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งมีกวา 8,000 โรงงาน จึงจัดทำโครงการยกระดับการแขงขันอุตสาหกรรมอาหาร ไทยดวยการลดตนทุนและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (GoodPracticesonProductivityandContinuousImproving to Carbon Label) อยางตอเนื่องตั้งแตปงบประมาณ 2556 โดยไดวาจางสถาบันอาหารดำเนินการใหคำปรึกษา แนะนำเชิงเทคนิคแกผูประกอบการผลิตภัณฑอาหาร รวมถึงการยกระดับองคความรูของบุคลากรในอุตสาหกรรม ตลอดจนสนับสนุนใหผูประกอบการไดรับการขึ้นทะเบียนฉลากคารบอน ทั้งนี้ เพื่อใหผูประกอบการอุตสาหกรรม อาหารของไทย สามารถลดตนทุนการผลิต ตลอดจนลดปญหาสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะลดการปลอยกาซเรือนกระจก จากกระบวนการผลิต ซึ่งนอกจากจะเปนการเพิ่มผลิตภาพดานการผลิต พัฒนาและยกระดับมาตรฐานการผลิต ผลิตภัณฑอาหารในประเทศแลว ยังทำใหอุตสาหกรรมอาหารของไทยสามารถเตรียมพรอมรับการเปลี่ยนแปลงของ สถานการณเศรษฐกิจและขอกีดกันทางการคาจากตลาดโลก รวมทั้งแสดงใหเห็นถึงการมีสวนรวมของประเทศไทย ในการลดการปลอยกาซเรือนกระจกสูสิ่งแวดลอม และลดภาวะโลกรอนอยางเปนรูปธรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กันยายน 2557
  • 7. คำนำ สถาบันอาหาร หนังสือเลมนี้เปนการเขียนตอเนื่องจากหนังสือเลมแรก “แนวทางการประเมินรอยเทาฉลากบนผลิตภัณฑ สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร” โดยคณะผูเขียนไดเพิ่มตัวอยางการประเมินคารบอนฟุตพริ้นท พรอมสอดแทรกเทคนิค การเก็บขอมูล และการคำนวณที่มีรายละเอียดเพิ่มมากขึ้น โดยมีเปาหมายเพื่อใหบุคลากรในกลุมอุตสาหกรรมอาหาร รวมทั้งผูที่สนใจไดรับความรู สามารถเขาใจในหลักการ และนำคารบอนฟุตพริ้นทไปประยุกตใชไดอยางเหมาะสม หนังสือเลมนี้ไดรับการสนับสนุนดวยดีจากสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่งผูจัดทำ ไดรับการสนับสนุนงบประมาณรวมทั้งคำแนะนำที่ดีจากการดำเนินงาน “โครงการยกระดับการแขงขันอุตสาหกรรม อาหารไทยดวยการลดตนทุนและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (Good Practices on Productivity and Continuous Improving to Carbon Label)” มาตั้งแตป 2556 จนถึงปจจุบัน จากประสบการณที่ไดรับในการดำเนินงานโครงการ ทำใหโรงงานในกลุมอุตสาหกรรมอาหารมีแนวทางลดกาซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิต และไดรับ การขึ้นทะเบียนคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑ รวมถึงยังสามารถผลิตที่ปรึกษาและผูทวนสอบคารบอนฟุตพริ้นท ตลอดจนสามารถนำประสบการณที่ไดไปใชในการจัดฝกอบรมใหแกผูที่สนใจไมวาจะเปนหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษามาแลวหลายรุน สถาบันอาหารหวังเปนอยางยิ่งวาหนังสือเลมนี้จะมีประโยชนตอผูที่สนใจ ทางผูจัดทำขอขอบคุณ ทุกทานที่มีสวนรวมสนับสนุนและจัดทำหนังสือเลมนี้จนสำเร็จลุลวงมาไดดวยดี หากมีความผิดพลาดประการใด ทางผูจัดทำยินดีรับคำเสนอแนะและวิจารณ เพื่อเปนแนวทางในการปรับปรุงแกไขเพื่อใหเกิดประโยชนอยางสูงสุด ในวงกวางตอไป คณะผูเขียน สถาบันอาหาร กันยายน 2557
  • 8. สารบัญ คำนำ สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม คำนำ สถาบันอาหาร ประวัติผูแตง บทที่ 1 สถานการณคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑอาหาร 1 Updates for Carbon Footprint of Foods 1.1 สถานการณฉลากคารบอนฟุตพริ้นทผลิตภัณฑ 2 บทที่ 2 หลักการคำนวณคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑอาหาร 7 Methodology for Determining the Carbon Footprint of Food Product 2.1 การกำหนดวัตถุประสงค 7 2.2 การคัดเลือกผลิตภัณฑ 8 2.3 การกำหนดขอบเขตการประเมิน 8 2.4 การสรางแผนผังวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ 9 2.5 การเก็บรวบรวมขอมูล 12 2.6 การคำนวณคารบอนฟุตพริ้นท 17 บทที่ 3 การประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของอุตสาหกรรมน้ำตาล 21 Carbon Footprint of the Sugar Industry 3.1 ขอมูลทั่วไป 21 3.2 แผนผังวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑน้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ 22 3.3 การเก็บขอมูลบัญชีรายการ 24 3.4 การคำนวณคารบอนฟุตพริ้นท 28 3.5 แนวทางการปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อลดตนทุนและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม 44 หนา
  • 9. บทที่ 4 การประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของอุตสาหกรรมแปงมันสำปะหลัง 51 Carbon Footprint of the Tapioca Starch Industry 4.1 ขอมูลทั่วไป 51 4.2 แผนผังวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑแปงมันสำปะหลัง 52 4.3 การเก็บขอมูลบัญชีรายการ 53 4.4 การคำนวณคารบอนฟุตพริ้นท 58 4.5 แนวทางการปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อลดตนทุนและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม 71 บทที่ 5 การประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของอุตสาหกรรมกาแฟ 74 Carbon Footprint of the Coffee Industry 5.1 ขอมูลทั่วไป 74 5.2 แผนผังวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑเมล็ดกาแฟคั่วอราบิกา 75 5.3 การเก็บรวบรวมขอมูล 77 5.4 การคำนวณคารบอนฟุตพริ้นท 83 5.5 แนวทางการปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อลดตนทุนและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม 97 เอกสารอางอิง 100
  • 10. 1 กวาครึ่งทศวรรษที่กระทรวงอุตสาหกรรม เล็งเห็นถึงความสำคัญในการสงเสริมใหผูประกอบการและ อุตสาหกรรมอาหารในประเทศไทยมีความพรอมสำหรับกระแสตลาดสีเขียว หรือตลาดสินคาอาหารที่เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอมที่กำลังเปนที่นิยมและขยายตัวอยางแพรหลายทั่วโลก หากแตจะมองยอนไปยังจุดเริ่มตน การพิจารณา ผลกระทบทางสิ่งแวดลอมตลอดวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ (Product Life Cycle Assessment: LCA) นั้น ไดเริ่มตน ขึ้นจากการพิจารณาบรรจุภัณฑเพื่อลดการใชทรัพยากรของบริษัทโคคาโคลา ตั้งแตชวงป พ.ศ. 2533 หลังจากนั้น กระแสการเรียกรองผลิตภัณฑสีเขียวไดวิวัฒนาการ และขยายวงกวางออกไปทุกสวนของภาคอุตสาหกรรม และ เปนที่คาดการณเอาไวแลววา ภาคอุตสาหกรรมอาหารซึ่งเปนสวนที่มีการแขงขันทางการตลาดสูงมาก ยอมจะถูก หยิบยกประเด็นเรื่องผลกระทบทางสิ่งแวดลอมนี้มาใชไมมากก็นอย อาทิเชน ประเด็นทางตรง คือ เพื่อลดผลกระทบ จากการใชทรัพยากร และลดผลกระทบทางสิ่งแวดลอมดานตาง ๆ และประเด็นทางออม คือ การกีดกันทางการคา ที่ไมใชภาษี (Non-Tariff Barrier: NTB) อยางไรก็ตามอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดใหญในอุตสาหกรรมอาหาร มีความคุนเคยกับระบบควบคุมคุณภาพการผลิตโดยผานการปฏิบัติในมาตรฐานอุตสาหกรรม (InternationalOrganization Standards: ISO) เชน ISO9000, ISO14000, ISO18000, ISO22000, HACCP และ GMP มาเปนอยางดี ดังนั้น การยอมรับและกาวไปสูมาตรฐานทางดานสิ่งแวดลอมตัวใหม ๆ เชน ISO14025 (ฉลากสิ่งแวดลอม), ISO14067 (Carbon Footprint of Products), ISO14064 (Carbon Footprint for Organization) และ ISO14046 (Water Footprint of Product) ยอมทำไดคอนขางงายกวากลุมอุตสาหกรรมอาหารที่มีขนาดเล็กหรือวิสาหกิจชุมชน ทั้งนี้ มาตรฐานอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมอาหารตาง ๆ นั้น ไมไดมีผลบังคับใชโดยตรง หากแตถูกใชเปน เครื่องคัดกรองการเลือกผูกมิตรสัญญาซื้อขายระหวางบริษัทที่สอดคลองกับนโยบายการจัดซื้อจัดจางที่เปนมิตร ตอสิ่งแวดลอม (Green Purchasing and Green Procurement) นั่นหมายความวา หากผลิตภัณฑอาหารใดไม มีมาตรฐานอุตสาหกรรม หรือไมมีฉลากสิ่งแวดลอม อาจจะถูกจัดอยูในกลุมที่ถูกปฏิเสธการซื้อขายไดในตลาด สีเขียวของโลก กรณีเชนนี้ไดถูกประกาศและนำไปใชอยางชัดเจนจากบางประเทศ เชน ประเทศฝรั่งเศส และญี่ปุน หรือในบางไฮเปอรมารทชั้นนำของโลก อยาง Walmart และ Sainsbury’s ที่มีนโยบายนำเสนอสินคาที่มีคุณภาพ และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมตอลูกคาอยางจริงจัง บทที่ 1 สถานการณคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑอาหาร Updates for Carbon Footprint of Foods
  • 11. 2 1.1 สถานการณฉลากคารบอนฟุตพริ้นทผลิตภัณฑ ฉลากคารบอนฟุตพริ้นท ถือเปนตัวอยางที่ดีของการนำเอาผลกระทบดานสิ่งแวดลอมมาใชนำเสนอ ผลิตภัณฑอาหารที่แสดงความรับผิดชอบตอคาการปลอยกาซเรือนกระจกอยางเปนรูปธรรม ซึ่งผลิตภัณฑที่สามารถ แสดงคาบนฉลากได จะตองไดรับการคำนวณและทวนสอบความถูกตองจากผูเชี่ยวชาญ โดยที่การประเมินนั้น ตองรวมคากาซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นตั้งแตตนทาง จนถึงมือผูรับซื้อ หรือผูบริโภค ตัวเลขที่ปรากฏบนฉลากสะทอน ปริมาณคารบอนฟุตพริ้นทที่เกิดขึ้นของผลิตภัณฑนั้น ๆ ซึ่งจะมีคามากนอยแตกตางกันไป ความนาสนใจจะเกิด ขึ้นเมื่อผลิตภัณฑที่มีฟงกชันการใชงานเหมือนกัน แตคนละตราสินคา อาจหลีกเลี่ยงไมพนกับการถูกเปรียบเทียบ ระหวางกันถึงจำนวนการปลอยกาซเรือนกระจก สิ่งที่ดี คือ จะเกิดการแขงขันเปนผูนำในตลาดสีเขียวตอไป ปจจุบัน ในประเทศชั้นนำไดผลักดันกลยุทธการแสดงคาบนฉลากคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑ เพื่อเปนการใหขอมูลและ สื่อสารไปยังผูบริโภคกลุมใหมที่ใสใจเรื่องสิ่งแวดลอมเปนพิเศษที่นับวันกลุมลูกคากลุมนี้จะขยายจำนวนเพิ่มมาก ขึ้นอยางรวดเร็ว ทั้งนี้อาจเนื่องจากปญหาโลกรอน ปญหาสิ่งแวดลอม และปญหาสุขภาพมนุษย ไดทวีความรุนแรง และเห็นผลกระทบอยางชัดเจนนั่นเอง เชน โรคใหม ๆ ซึ่งเกิดมากับปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ ปญหา น้ำทวม ปญหาหมอกควัน และปญหาภัยพิบัติจากธรรมชาติ เปนตน ตัวอยางที่นาสนใจในการแขงขันของตลาดสีเขียวมีใหเห็นไดในทุกมุมของโลกในปจจุบันนี้ อาทิเชน กลุมคาปลีก ในประเทศสหราชอาณาจักร ไดมีการกำหนดนโยบายทางดานคารบอนฟุตพริ้นทเอาไวชัดเจน ซึ่งอุตสาหกรรม ในหวงโซอุปทานยอมตองปรับตัว หากยังมีความตองการรักษาสวนแบงการตลาดกับกลุมคาปลีกนี้ไว เชน ผักและผลไม ที่สงมายังซุปเปอรมารเก็ตในเครือ Sainsbury’s จะตองมีการแสดงคาระยะทางในการขนสง และคาคารบอนฟุตพริ้นท ที่เกิดขึ้นจากการขนสง ยกตัวอยางเชน มะเขือเทศ มีการนำเขามาจากประเทศอารเจนตินา เปนระยะทาง กิโลเมตร จะถูกคำนวณเปนคาคารบอนฟุตพริ้นทอยูที่กรัมคารบอนไดออกไซตเทียบเทา ซึ่งคาเหลานี้จะถูกแสดงในใบเสร็จ นั่นหมายความวา หลังจากลูกคารวมคาใชจายในใบเสร็จแลว ลูกคาจะทราบปริมาณคารบอนฟุตพริ้นทไปดวยนั่นเอง อยางไรก็ตามในความเปนจริงคาคารบอนฟุตพริ้นทไมไดคิดประเมินแตเฉพาะในการขนสงเทานั้น แตจะรวมไปตั้งแต ขั้นตอนการไดมาซึ่งวัตถุดิบ (การเพาะปลูก) การผลิตในโรงงาน การจัดจำหนาย การบริโภค และการนำไปกำจัด ดังนั้นหากมองในบริบทของประเทศไทยมีเปาหมายจะเปนครัวของโลก ที่จะตองสงและจำหนายผัก ผลไม อาหารไปยังประเทศตาง ๆ ทั่วโลก หากมีความตองการใหอุตสาหกรรมในหวงโซอุปทานวิเคราะหคาคารบอนฟุตพริ้นท หรือใหมีการจัดการลดคาคารบอนฟุตพริ้นทกอนนำเขาประเทศนั้น ๆ ยอมเปนเรื่องที่อันตรายตอการสูญเสียมูลคา ทางการตลาดหากไมไดมีการเตรียมความพรอมเอาไว เพราะกลุมคาปลีกเหลานั้นอาจหันไปพึ่งพาการนำเขาจากประเทศ ที่มีความชัดเจนทางดานสิ่งแวดลอมมากกวาก็เปนไปได
  • 13. 4 2.1ีทปูร สำหรับประเทศไทย องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (อบก.) ไดสนับสนุนใหเกิดกระบวนการ ทนิรพตุฟนอบราคนางนินเำดรากยดโฑณัภติลผนบทนิรพตุฟนอบราคกาลฉาคงดสแรากะลแบอสนวทรากณวนำคราก ของผลิตภัณฑ ตั้งแตป พ.ศ. 2552 เปนตนมา มีผลิตภัณฑที่ไดรับการอนุมัติใหใชเครื่องหมายคารบอนฟุตพริ้นท ของผลิตภัณฑ แลวจำนวน 1,207 ผลิตภัณฑ จาก 282 บริษัท ซึ่งผลิตภัณฑที่ยังอยูในระหวางการอนุญาตใหใช )7552.ค.ก82ีทนัวณลูมอข(ทัษิรบ961กาจฑณัภติลผ537ีมฑณัภติลผงอขทนิรพตุฟนอบราคยามหงอืรคเ ตัวอยางฉลากคารบอนฟุตพริ้นทของประเทศตางๆ ที่มา: www.keiti.re.kr (2014)
  • 14. 5 รูปที่ 1.3 ตัวอยางสินคาติดฉลากคารบอนฟุตพริ้นท ในการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑ มีแนวทางการประเมินตามหลักการของประเทศไทย หากแตในการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑของแตละบริษัทจะมีรายละเอียดที่แตกตางกัน แมแต ผลิตภัณฑชนิดเดียวกัน แตผลิตในสถานที่ตางกัน การประเมินคารบอนฟุตพริ้นทจะมีรายละเอียดการเก็บขอมูล ที่ไมเหมือนกัน และเปนผลิตภัณฑภายใตการสนับสนุนของกระทรวงอุตสาหกรรมมากกวา 100 ผลิตภัณฑ และไดรับการตอบสนอง อยางดีจากกลุมคาปลีกและหางสรรพสินคา เชน 7-11 และ TOPs Supermarket ซึ่งไดมีการโปรโมทและ จัดจำหนายสินคาที่ติดและแสดงคาฉลากคารบอนฟุตพริ้นทอยางหลากหลาย เชน น้ำมันพืช กาแฟคั่ว บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป และ นมสดพาสเจอรไรสเซอร เปนตน ตัวอยางแสดงดังรูปที่ 1.3
  • 15. 6 โดยในหนังสือเลมนี้ ไดมีการเพิ่มกรณีศึกษาการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทที่มีความละเอียดใน การคำนวณมากยิ่งขึ้น พรอมทั้งนำเสนอความเปนไปได และแนวทางในการลดกาซเรือนกระจกที่เกิดขึ้น โดยแบง เปนระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว เพื่อใหเกิดกลไกการผลิตและการบริโภคอยางยั่งยืน สรางบรรทัดฐาน การผลิตและการบริโภคที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมใหเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรมประเทศไทยในอนาคตอันใกล และ สงเสริมการสรางประเทศไทยใหเปนครัวของโลกที่อาณาอารยประเทศมีความตองการอาหารจากประเทศไทย นำพาเงินตราเขามาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในกลุมอุตสาหกรรมอาหารของประเทศตอไป รูปที่ 1.3.1 ตัวอยางเว็บไซต http://www.nfi.or.th/carbonfootprint/ ดังนั้น เพื่อใหมีความเขาใจในรายละเอียดการประเมินคารบอนฟุตพริ้นท หนังสือ “การจัดการคารบอน ฟุตพริ้นทสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร” จึงถูกจัดทำขึ้นตอจากคูมือพื้นฐานในหนังสือเลมแรก “แนวทางการประเมิน รอยเทาฉลากบนผลิตภัณฑสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร” พรอมโปรแกรมการคำนวณคารบอนฟุตพริ้นทเบื้องตน ซึ่ง สามารถดาวนโหลดไดที่ http://www.nfi.or.th/carbonfootprint/
  • 16. 7 บทที่ 2 หลักการคำนวณคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑอาหาร Methodology for Determining the Carbon Footprint of Food Product สำหรับบทนี้จะเปนการทบทวนขั้นตอนการประเมินคารบอนฟุตพริ้นททั้ง 6 ขั้นตอน จากเนื้อหาในหนังสือเลมแรก “แนวทางการประเมินรอยเทาฉลากบนผลิตภัณฑสำหรับ อุตสาหกรรมอาหาร” โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ 2.1 การกำหนดวัตถุประสงค การกำหนดวัตถุประสงคถือเปนเข็มทิศในการกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ยกตัวอยางเชน หากกำหนด วัตถุประสงค “เพื่อขอขึ้นทะเบียนฉลากคารบอนฟุตพริ้นท” นั้น หมายถึง การดำเนินงานจะเปนไปตามแนวทาง การประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑสำหรับประเทศไทย ในทางตรงกันขามหากมีการกำหนดวัตถุประสงค เพื่อหาแนวทางการลดการปลอยกาซเรือนกระจกของผลิตภัณฑ โดยไมขอรับรองการขึ้นทะเบียนฉลากคารบอน ฟุตพริ้นท จะนำไปสูการดำเนินงาน และการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทโดยขึ้นอยูกับผูประเมินที่จะกำหนดขอบเขต ในการประเมินบนพื้นฐานของหลักการการประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ ซึ่งอาจจะมีรายละเอียดที่แตกตางกัน เชน การกำหนดหนวยหนาที่การทำงานหากดำเนินการเพื่อขอรับรองการขึ้นทะเบียนฉลากคารบอนฟุตพริ้นท จะกำหนดตอหนวยผลิตภัณฑที่วางจำหนาย (Sold Unit) ในขณะที่การประเมินเพื่อหาแนวทางการลดการปลอย กาซเรือนกระจกภายในบริษัท อาจจะกำหนดหนวยหนาที่การทำงานตอ 1 หนวย เปนตน สำหรับกรณีศึกษาที่จะกลาวในบทตอ ๆ ไป ประกอบดวย ผลิตภัณฑน้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ แปงมันสำปะหลัง และกาแฟ โดยกำหนดวัตถุประสงคเพื่อขอรับรองการขึ้นทะเบียนฉลากคารบอนฟุตพริ้นท ดังนั้นการประเมินจะ เปนไปตามแนวทางการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑสำหรับประเทศไทย รวมไปถึงขอกำหนดเฉพาะ ของผลิตภัณฑนั้น ซึ่งจะกลาวรายละเอียดไวในบทตอไป
  • 17. 8 2.2 การคัดเลือกผลิตภัณฑ “ควรเลือกผลิตภัณฑตัวไหนทำกอน” เปนคำถามยอดนิยมสำหรับผูเริ่มประเมินคารบอนฟุตพริ้นท ซึ่งใน การคัดเลือกผลิตภัณฑขึ้นอยูกับบริษัท หรือผูประเมินวามีความสนใจที่จะประเมินผลิตภัณฑตัวไหนกอนเปน อันดับแรก ดวยเหตุผลที่แตกตางกันไป “ควรทำทีละผลิตภัณฑหรือทำทั้งหมด” โดยสวนใหญในการผลิตของบริษัทตอสายการผลิต หรือทั้งโรงงาน สามารถผลิตผลิตภัณฑไดหลายตัว ดังนั้นขอมูลที่เก็บมาอาจเปนขอมูลตอการผลิตทั้งหมด จะตองมีการปนสวน ใหแตละผลิตภัณฑ ซึ่งการเก็บขอมูล 1 รอบสามารถประเมินคารบอนฟุตพริ้นทไดทุกผลิตภัณฑพรอมกัน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ ความพรอมของบริษัทหรือผูประเมิน โดยอาจเลือกทำทีละตัว หรือครั้งเดียวทุกผลิตภัณฑ หากพิจารณาในเรื่องของ คาใชจายเปนหลัก การจัดทำทีเดียวพรอมกันจะมีคาใชจายนอยกวาการจัดทำทีละ 1 ผลิตภัณฑ เมื่อคัดเลือกผลิตภัณฑที่จะทำการประเมินแลว ผูประเมินจะตองกำหนดหนวยหนาที่การทำงานซึ่งตาม แนวทางการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑ กำหนดใหหนวยหนาที่การทำงานในการคำนวณคารบอน ฟุตพริ้นทเปนหนวยผลิตภัณฑตามขนาดบรรจุที่วางจำหนาย (Sold Unit) โดยจะระบุเปนหนวยน้ำหนักหรือปริมาตร ในเชิงปริมาณ ระบุคำอธิบายผลิตภัณฑ ชื่อทางการคาหรือรหัสสินคาที่ผูบริโภคสามารถทราบขอมูลเฉพาะราย ผลิตภัณฑ ระบุชื่อสินคา ขอมูลทางเทคนิคที่เกี่ยวของ เชน กระบวนการผลิต เทคโนโลยีที่ใชในการผลิต น้ำหนักสุทธิ ของผลิตภัณฑ น้ำหนักเนื้อ น้ำหนักแหง น้ำหนักเปยก รวมถึงระบุชนิดภาชนะบรรจุ วัสดุประกอบผลิตภัณฑ (Auxiliaries) เชน กระถาง ถุง ดิน ถุงซอส ชอนพลาสติก สอมพลาสติก ตะเกียบ และฉลาก เปนตน (ขอกำหนดเฉพาะสำหรับ การประเมินคารบอนฟุตพริ้นทผลิตภัณฑกลุมผักและผลไม, 2557) ยกตัวอยางเชน กาแฟคั่วเมล็ดเอสเปรสโซ บรรจุ ถุงอลูมิเนียมฟรอยด ขนาด 250 กรัม หรือน้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ ตรา MK บรรจุกระสอบ ขนาด 50 กิโลกรัม เปนตน 2.3 การกำหนดขอบเขตการประเมิน การกำหนดขอบเขตในการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑ ตองกำหนดใหสอดคลองกับชนิด ของผลิตภัณฑ ซึ่งสามารถกำหนดได 2 รูปแบบ คือ
  • 18. 9 - Business-to-Consumer (B2C) พิจารณาขอบเขตการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทครอบคลุมตลอด วัฏจักรชีวิตตั้งแต การไดมาซึ่งวัตถุดิบ การผลิต การกระจายสินคา การใชงาน และการจัดการเศษซาก กลาวงาย ๆ คือ พิจารณาตั้งแตผลิตภัณฑเกิดจนตาย - Business-to-Business (B2B) พิจารณาขอบเขตการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทครอบคลุมตลอด วัฏจักรชีวิตตั้งแต การไดมาซึ่งวัตถุดิบ และการผลิต โดยขอบเขตสิ้นสุดที่หนาประตูทางออกของ โรงงานเทานั้น ในหนังสือเลมแรกไดกลาวไววา ผลิตภัณฑที่เปนแบบ B2C คือ ผลิตภัณฑที่มีการสงถึงมือผูบริโภคสุดทาย สวนแบบ B2B จะเปนผลิตภัณฑอยูในลักษณะรับจางผลิต (แนวทางการประเมินรอยเทาฉลากบนผลิตภัณฑสำหรับ อุตสาหกรรมอาหาร, 2556) ดังนั้นจะพบวาความแตกตางระหวาง B2C และ B2B คือ ขอบเขตการประเมิน และ การใชเครื่องหมายคารบอนฟุตพริ้นท โดยปกติทั้ง B2C และ B2B สามารถแสดงเครื่องหมายในรูปแบบตาง ๆ เชน แสดงบนเว็บไซต นามบัตร ไวนิล ปายโฆษณา เปนตน ยกเวนกรณีเดียว คือ ผลิตภัณฑที่เปนแบบ B2C สามารถ นำเครื่องหมายฉลากคารบอนฟุตพริ้นทติดบนผลิตภัณฑได แต B2B ไมสามารถติดฉลากคารบอนฟุตพริ้นทบน ผลิตภัณฑได 2.4 การสรางแผนผังวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ แผนผังวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑเปรียบเสมือนแผนที่ในการเดินทาง กลาวคือ แสดงขอบเขตในการ ประเมิน การเก็บขอมูลครอบคลุมขั้นตอนใดบาง มีขอมูลกิจกรรมอะไรที่เกี่ยวของ กระบวนการผลิตมีกี่ขั้นตอน เกิดการขนสง ณ จุดใด ซึ่งทำใหผูประเมินสามารถเห็นภาพโดยรวมไดอยางชัดเจน โดยสวนใหญการประเมิน คารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑอาหาร สามารถเขียนเปนแผนผังวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑอาหารไดทั้งแบบ Business-to-Consumer (B2C) และ Business-to- Business (B2B) แสดงดังรูปที่ 2.1 จากรูปแสดงขอบเขตในการประเมินทั้งแบบ B2C และ B2B เริ่มจากการไดมาซึ่งวัตถุดิบ โดยผลิตภัณฑ อาหารที่เกี่ยวของกับผลผลิตทางการเกษตร จะตองมีการเก็บขอมูลในสวนของกระบวนการเพาะปลูกดวย ซึ่งใน บางผลิตภัณฑกระบวนการเพาะปลูกถือเปนแหลงปลอยกาซเรือนกระจกที่สำคัญ
  • 19. 10 โดยทั่วไปในระดับโรงงานอุตสาหกรรมมีการจัดการในกระบวนการเพาะปลูก 2 แบบ คือ Contact Farming และรับซื้อจากเกษตรกรโดยทั่วไปซึ่งไมมีสัญญาการผูกพัน ซึ่งรายละเอียดการเก็บขอมูลอาจมีความแตกตางไป จากการเก็บขอมูลในกระบวนการผลิตโดยจะกลาวรายละเอียดในหัวขอถัดไป ถัดจากขั้นตอนการไดมาซึ่งวัตถุดิบจะเปนสวนของกระบวนการผลิตในโรงงาน ซึ่งในสวนนี้พิจารณา ครอบคลุมตั้งแตการขนสงวัตถุดิบเขาสูโรงงาน ผานกระบวนการผลิตในแตละขั้นตอนจนเปนผลิตภัณฑที่สามารถ สงไปจำหนายได โดยหากเปนขอบเขตแบบ B2B จะพิจารณาถึงแคประตูทางออกของโรงงานเทานั้น สวน B2C จะพิจารณาตอไปยังขั้นตอนของการกระจายสินคา การใชงานและการจัดการเศษซากตอไป ในแผนผังวัฏจักรชีวิตจะตองมีการแสดงสัญลักษณ เพื่อระบุวากิจกรรมการผลิตใดเปนทางตรงและ ทางออม โดยกิจกรรมการผลิตทางตรง คือ กิจกรรมที่สามารถเขาถึงขอมูลได จะแสดงสัญลักษณเปนเสนทึบ ในทางกลับกันกิจกรรมการผลิตทางออม กลาวคือ เปนกิจกรรมที่บริษัทไมสามารถเขาถึงขอมูลได หรือเรียกวา ขอมูลทุติยภูมิ จะแสดงสัญลักษณเปนเสนประดังรูปที่ 2.1
  • 21. 12 2.5 การเก็บรวบรวมขอมูล ขั้นตอนนี้ถือเปนหัวใจสำคัญของการประเมินคารบอนฟุตพริ้นท ความยาก ความงาย เร็วหรือชาในการ ดำเนินงานขึ้นอยูกับการเก็บรวบรวมขอมูล หากบริษัทมีการจัดเก็บขอมูลที่ดี นั้นหมายความวาบริษัทมีฐานขอมูล ที่ดี ซึ่งฐานขอมูลนี้นอกจากใชในการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทแลวยังสามารถนำไปใชประโยชนในทางอื่น ๆ ได อาทิเชน การคำนวณตนทุนเพื่อหาแนวทางการลดตนทุน การปรับปรุงกระบวนการผลิต และการจัดทำฉลากทาง สิ่งแวดลอมอื่น ๆ เปนตน ในการจัดเก็บขอมูลจะครอบคลุมตามขอบเขตการประเมิน จากหนังสือเลมแรกกลาวไววาการเก็บขอมูล เริ่มตนที่ขั้นตอนการผลิต โดยจะเก็บขอมูลในกระบวนการผลิตของโรงงาน การไดมาซึ่งวัตถุดิบ การกระจายสินคา การใชงาน และการจัดการเศษซาก ตามลำดับ ซึ่งขอมูลที่จัดเก็บจะมีทั้งขอมูลปฐมภูมิ คือ ขอมูลที่เกิดจากการใชจริง และขอมูลทุติยภูมิ คือ ขอมูลที่ไดจากการอางอิงกับแหลงอางอิงที่นาเชื่อถือได สำหรับโรงงานผลิตการเก็บขอมูลแบงออกเปน 3 สวน คือ ขอมูลกระบวนการผลิต ขอมูลการขนสง และขอมูลระบบสนับสนุนการผลิต เชน การผลิตน้ำ การผลิตน้ำออน การผลิตไอน้ำ และการบำบัดน้ำเสีย เปนตน ซึ่งในแตละสวนแบงเปนขอมูลกิจกรรมการผลิต โดยเก็บขอมูลยอนหลัง 12 เดือน ทั้งนี้มีบางผลิตภัณฑที่อาจจะตอง มีการเปลี่ยนแปลงชวงระยะเวลาของการเก็บขอมูลซึ่งเปนไปตามขอกำหนดเฉพาะของผลิตภัณฑนั้น และคาสัมประสิทธิ์ การปลอยกาซเรือนกระจก (Emission Factor: EF) ดังรายละเอียดตอไปนี้ 2.5.1 ขอมูลกิจกรรมการผลิต ขอมูลกิจกรรมการผลิต ไดแก ปริมาณสารขาเขา แบงเปนวัตถุดิบ และทรัพยากรชวยในการผลิต สวน สารขาออก แบงเปนผลิตภัณฑ ผลิตภัณฑรวม และของเสีย รวมไปถึงสมมติฐานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ซึ่งในหนังสือ เลมแรกไดมีการอธิบายวิธีการเก็บขอมูลพรอมยกตัวอยางประกอบไวอยางละเอียดแลวเชนกัน สำหรับวัตถุดิบหลักสวนใหญจะตองมีการเก็บขอมูลการไดมาซึ่งวัตถุดิบเพื่อนำมาหาคาการปลอยกาซเรือนกระจก ยกตัวอยางเชน ผลิตภัณฑน้ำตาลทรายซึ่งวัตถุดิบหลัก คือ ออย จะตองมีการเก็บขอมูลกระบวนการเพาะปลูกออย หรือผลิตภัณฑนมจะตองมีการเก็บขอมูลกระบวนการเลี้ยงโคนม เปนตน หนังสือเลมนี้ในแตละกรณีศึกษาจะมี วัตถุดิบหลักเปนผลผลิตทางการเกษตรซึ่งตองเก็บขอมูลกระบวนการเพาะปลูก โดยวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล อาจแตกตางจากการเก็บขอมูลในกระบวนการผลิต ซึ่งรายละเอียดมีดังตอไปนี้
  • 22. 13 กิจกรรมที่กอใหเกิดการปลอยกาซเรือนกระจกในกระบวนการเพาะปลูก อาทิเชน การเผาไหมของ เชื้อเพลิงในเครื่องจักร กาซมีเทนจากการใชมูลสัตว หรือกาซไนตรัสออกไซดจากการใชปุย เปนตน ซึ่งคำถามยอดนิยมในขั้นตอนนี้ คือ “กระบวนการเพาะปลูกเก็บขอมูลอะไรบาง?” สำหรับขั้นตอนการเพาะปลูกโดยหลัก ๆ มี 4 ขั้นตอนดังนี้ การเตรียมดิน การปลูก การบำรุงรักษา และ การเก็บเกี่ยว ซึ่งขอมูลที่ใชในการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทประกอบดวยขอมูลทุก ๆ กิจกรรมที่เกิดขึ้นในกระบวนการ เพาะปลูก ไดแก พลังงาน น้ำ สารเคมี ปุยทุกชนิด ไมวาจะเปน ปุยเคมี ปุยคอก ปุยหมัก สารปองกันและกำจัดศัตรูพืช หรือโรคพืช สารกำจัดวัชพืช เปนตน โดยแผนผังกระบวนการเพาะปลูกแสดงรายละเอียดไดดังรูปที่ 2.2 รูปที่ 2.2 แผนผังแสดงปริมาณสารขาเขาและสารขาออกของกระบวนการเพาะปลูก การเก็บขอมูลกระบวนการเพาะปลูกผลผลิตทางการเกษตร
  • 23. 14 ในการเก็บขอมูลกระบวนการเพาะปลูกจะเก็บขอมูลปริมาณสารขาเขาและสารขาออกตอไร ซึ่งจากรูป ที่ 2.2 สามารถอธิบายรายละเอียดในแตละขั้นตอนไดดังตอไปนี้ ในขั้นตอนการเตรียมดิน ขอมูลที่เก็บรวบรวม เชน น้ำมันเชื้อเพลิง ปุย สารเคมีที่ใช เปนตน ในการเก็บ ขอมูลแตละรายการจะตองทราบชนิด และปริมาณที่ใชตอไร ยกตัวอยางเชน น้ำมันเชื้อเพลิง จะเก็บขอมูลชนิด ของน้ำมันเชื้อเพลิง เนื่องจากน้ำมันเชื้อเพลิงแตละชนิดมีคาการปลอยกาซเรือนกระจกตางกัน และปริมาณการใช กี่ลิตรตอไร ซึ่งจะพิจารณารวมกันทั้งหมดไมวาจะไถดะ ไถแปร หรือไถพรวน โดยในทางปฏิบัติเกษตรกรนอยราย ที่จะทราบปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิงที่ใชในขั้นตอนการไถเพื่อเตรียมดิน ดังนั้นผูประเมินอาจจะตองเก็บขอมูลเพิ่มเติม กลาวคือ ประเภทของรถไถ ซึ่งสามารถนำประเภทของรถไปหาขอมูลจากแหลงอางอิงตาง ๆ เชน กรมวิชาการ เกษตร วารถประเภทนั้นในการไถตอไรมีอัตราการใชน้ำมันเชื้อเพลิงกี่ลิตร เปนตน ดังนั้นผูประเมินตองตระหนักเสมอวาบางครั้งขอมูลที่เก็บไดอาจไมไดอยูในรูปของตัวเลขเสมอไป แตการ ไดมาซึ่งตัวเลขอาจจะตองเก็บขอมูลสภาพแวดลอม เพื่อนำขอมูลเหลานั้นมาอางอิงเพื่อหาขอมูลในเชิงปริมาณ สำหรับประเมินคารบอนฟุตพริ้นทได โดยอางอิงจากแหลงขอมูลที่เชื่อถือได การเตรียมดิน การปลูก การบำรุงรักษา ในขั้นตอนการปลูกจะมีการเก็บรวบรวมขอมูล ยกตัวอยางเชน เมล็ดพันธุ วัตถุดิบหรือวัสดุที่ใชในการ หอหุมหรือปกคลุมในการปลูก น้ำมันเชื้อเพลิง ปุยชนิดตาง ๆ และสารเคมี เปนตน ซึ่งในการสอบถามขอมูล ยกตัวอยางเชน เกษตรกรใชเมล็ดพันธุในการปลูกกี่กิโลกรัมตอไร ใชแรงงานคนหรือใชเครื่องจักรในการปลูก หากใชเครื่องจักรในการปลูกจะตองมีการเก็บขอมูลปริมาณน้ำมันที่ใชของเครื่องจักรตอไร แตหากใชแรงงานคน จะไมถูกนำมาคิดคารบอนฟุตพริ้นท ในการปลูกตองมีการใสปุยหรือสารเคมีหรือไม ถามีใชปริมาณเทาไหรตอไร และตองมีการรดน้ำหรือไม ซึ่งหากมีการรดน้ำอาจจะเก็บขอมูลปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิงในเครื่องสูบน้ำ เปนตน ในขั้นตอนนี้สวนใหญจะสอบถามขอมูล เชน ปุย น้ำมันเชื้อเพลิง สารเคมีปราบวัชพืช สารเคมีควบคุม แมลงหรือโรคพืช ซึ่งในการสอบถามเราตองทราบประเภทของปุยหรือสารเคมีที่ใช ปริมาณที่ใชตอไร เชน ปุยเคมี สูตรอะไร ใชกี่กิโลกรัมตอไร หากในการปลูกมีการใสปุยมากกวา 1 รอบ ก็จะตองเก็บขอมูลปริมาณการใชรวม ทั้งหมด ในบางครั้งการพนสารเคมีปราบวัชพืชอาจจะมีการใชเครื่องจักรซึ่งผูประเมินก็จะตองมีการเก็บน้ำมันเชื้อเพลิง ที่ใชเชนกัน
  • 24. 15 ระยะเวลาอาจมีความแตกตางจากการเก็บขอมูลของกระบวนการผลิต คือ 12 เดือนยอนหลัง โดยในบทนี้ จะอธิบายระยะเวลาในการเก็บขอมูลของกลุมผักและผลไม เพื่อใหสอดคลองกับกรณีศึกษาในบทตอไป จากขอกำหนด เฉพาะสำหรับการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทผลิตภัณฑกลุมผักและผลไมไดมีการกำหนดระยะเวลาในการเก็บขอมูล แบงออกเปน 3 กรณีดังตอไปนี้ ใหเก็บขอมูลการปลูกพืชผักฤดูเดียวระยะเวลา 3 รอบการปลูก ยกเวน กรณีที่เริ่มตนการปลูกพืชผักฤดู เดียวในพื้นที่ใหมหรือพืชชนิดใหม ใหพิจารณาเปนระยะเวลา 1 ป เปนอยางนอย โดยเปนขอมูลในปลาสุดที่ สามารถรวบรวมขอมูลได การเก็บเกี่ยวมี 2 ประเภท คือ ใชเครื่องจักร หรือใชแรงงานคน ซึ่งถาเปนแบบแรกจะเก็บขอมูลปริมาณ การใชน้ำมันเชื้อเพลิง แตถาใชแรงงานคนคาการปลอยกาซเรือนกระจกมีคาเทากับศูนย ซึ่งในขั้นตอนนี้สารขาออก ที่ได คือ ผลผลิตตอไร และอาจจะมีเศษซาก เชน ใบออย เปนตน ซึ่งจะตองมีการเก็บขอมูลวาเศษซากเหลานี้ นำไปทำอะไรตอ เชน ไถฝงกลบเปนปุยคาการปลอยกาซเรือนกระจกเปนศูนย หรือเผาทิ้งก็จะตองมีการคำนวณ การเผาไหมเศษซากในการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทดวย โดยสรุปวิธีการการเก็บขอมูลกระบวนการเพาะปลูก มักเก็บขอมูลดวยแบบสอบถามปลายปดโดยใชวิธี การสัมภาษณเกษตรกรเปนรายบุคคล ขอมูลที่ไดจากการสำรวจ คือ ปริมาณสารขาเขาและสารขาออก ตั้งแต การเตรียมดิน การปลูก การบำรุงรักษา และการเก็บเกี่ยว ซึ่งขอมูลที่ไดจากการรวบรวม ไดแก การใชเชื้อเพลิง ชนิดพันธุพืช ชวงเวลาที่ปลูก ปุย สารปองกันและกำจัดโรค สารปองกันและกำจัดศัตรูพืช สารกำจัดวัชพืช น้ำ ของเสีย และการจัดการของเสียที่เกิดขึ้น ผลผลิตที่ได และการขนสงเพื่อนำไปจำหนาย โดยขอมูลดิบจะถูกนำมาหาคาเฉลี่ย แบบถวงน้ำหนัก เพื่อใหเปนขอมูลบัญชีรายการตอไรสำหรับนำไปใชในการคำนวณคารบอนฟุตพริ้นทตอไป ระยะเวลาในการเก็บขอมูลสำหรับผลิตผลทางการเกษตร การเก็บเกี่ยว กรณีพืชผักฤดูเดียว (Annual crop)
  • 25. 16 เก็บขอมูลการปลูกพืชผักสองฤดูเปนระยะเวลา 3 รอบการปลูก ยกเวน กรณีที่เริ่มตนการปลูกพืชผักฤดู เดียวในพื้นที่ใหมหรือพืชชนิดใหม ใหพิจารณาเปนระยะเวลา 1 ป เปนอยางนอย โดยใชขอมูลในปลาสุดที่สามารถ รวบรวมขอมูลได จากขอกำหนดเฉพาะสำหรับการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทผลิตภัณฑกลุมผักและผลไม ในกรณีที่บริษัท สามารถเขาถึงขอมูลได มีหลักการในการสุมตัวอยางของการเก็บขอมูล 3 กรณี ดังตอไปนี้ • รวบรวมขอมูลจากแปลงผักหรือสวนผลไมที่ผลผลิตครอบคลุมอยางนอยรอยละ 50 ของวัตถุดิบที่ใช ในการผลิตประจำป • หากไมสามารถทำตามขอ 1 ได ใหใชกฎรากที่สองในการสุมตัวอยาง โดยแบงพื้นที่ทางเกษตรได 2 กรณีดังนี้ กรณีที่ 1 วิธีปฏิบัติทางการเกษตรเหมือนกันในทุกพื้นที่ ใหสุมตัวอยางโดยใชกฎรากที่สองจากจำนวน ฟารมทั้งหมด เชน บริษัทมีฟารมในการเพาะปลูก 30 แหง ใหสุม 6 แหง ซึ่งหากมีเศษจากการคำนวณรากที่สอง ใหปดขึ้น เปนตน กรณีที่ 2 วิธีปฏิบัติทางการเกษตรแตกตางกันในแตละพื้นที่ ใหจำแนกกลุมของฟารมกอน แลวสุมตัวอยาง โดยใชกฎรากที่สองจากจำนวนฟารมทั้งหมดในแตละประเภท เชน บริษัทสามารถจำแนกวิธีปฏิบัติของฟารมได 3 กลุม โดยกลุมแรกมีฟารม 9 แหง กลุมสองมี 25 แหง และกลุมสามมี 36 แหง ดังนั้นการสุมตัวอยางในแตละกลุม เก็บขอมูลการปลูกพืชผักยืนตนหรือผลไม ระยะเวลาตลอดอายุขัย ตั้งแตการเตรียมเมล็ดพันธุ การดูแล รักษาจนกระทั่งสามารถออกดอกออกผล ระยะเวลาใหผลผลิตต่ำ ระยะเวลาใหผลผลิตสูงจนกระทั่งไมมีการออก ดอกออกผล ในกรณีที่ไมสามารถรวบรวมขอมูลยอนหลังหรือยังไมหมดอายุขัย ใหกำหนดสมมติฐานเกี่ยวกับวิธีการ ปฏิบัติและดูแลรักษาที่สอดคลองหรือใกลเคียงกับสถานการณจริงมากที่สุด โดยอางอิงกับรายงานทางวิชาการ ของหนวยงานรัฐที่เกี่ยวของ แตในกรณีที่บริษัทตองการรวบรวมขอมูลระยะเวลานอยกวา 1 ป จะตองมีการชี้แจงเหตุผลและความจำเปน รวมทั้งอธิบายความเปนตัวแทนที่ดีของขอมูลดวย การสุมตัวอยาง กรณีพืชผักสองฤดู (Biennial crop) กรณีพืชผักยืนตน (Perennial crops)
  • 26. 17 เทากับ 3, 5 และ 6 แหง ตามลำดับ แตในกรณีที่บริษัทไมสามารถเขาถึงขอมูลไดจะตองมีการระบุแหลงที่มาของ วัตถุดิบ และอางอิงขอมูลการเพาะปลูกจากแหลงอางอิงทุติยภูมิ ซึ่งรายละเอียดผูประเมินสามารถศึกษาเพิ่มเติม ไดจากขอกำหนดเฉพาะสำหรับการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทผลิตภัณฑกลุมผักและผลไมโดยดาวนโหลดไดจาก หนาเว็บไซตขององคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) หรือ www.tgo.or.th 2.5.2 ขอมูลสัมประสิทธิ์การปลอยกาซเรือนกระจก (Emission Factor: EF) การประเมินคารบอนฟุตพริ้นทคา EF อาจไดจากการเก็บขอมูลและคำนวณ หรืออางอิงจากแหลงทุติยภูมิ ซึ่งในหนังสือเลมแรกไดกลาวถึงวิธีการเลือกใชคา EF และแหลงอางอิงตาง ๆ ไวแลว โดยคา EF ที่จะตองเก็บรวบรวม เชน คา EF ของการผลิตวัตถุดิบทุกชนิดที่เปนสารขาเขาของกระบวนการผลิต คา EF ของสารขาออกที่เกิดจาก กระบวนการผลิต คา EF ของการขนสงวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ และคา EF ของการจัดการเศษซากที่เกิดขึ้นใน กระบวนการผลิตหรือหลังการใชงานผลิตภัณฑ เปนตน 2.6 การคำนวณคารบอนฟุตพริ้นท ขั้นตอนสุดทายของการประเมินคารบอนฟุตพริ้นท คือ การคำนวณคารบอนฟุตพริ้นทซึ่งสามารถคำนวณ ไดจากสมการดังตอไปนี้ ปริมาณกาซเรือนกระจก = ขอมูลกิจกรรม × คาสัมประสิทธิ์การปลอยกาซเรือนกระจก ขอมูลที่ไดจะถูกนำมาทำสมดุลมวลสารและสมดุลพลังงานขอมูลรายปใหเปนขอมูลตอหนวยหนาที่การทำงาน ขอมูลบางประเภทอาจตองมีการปนสวน เนื่องจากมีการใชรวมกันในการผลิตผลิตภัณฑหลายชนิด ตามแนวทาง การประเมินคารบอนฟุตพริ้นทระบุใหใชวิธีการปนสวนตามน้ำหนัก (Mass Allocation) แตอาจมีบางผลิตภัณฑที่มี การปนสวนตามมูลคาทางเศรษฐศาสตร (Economic Allocation) ซึ่งขึ้นกับขอกำหนดเฉพาะของผลิตภัณฑนั้น โดยรายละเอียดหลักการตาง ๆ ไดอธิบายไวในหนังสือเลมแรกแลวเชนกัน ซึ่งในขั้นตอนนี้ขอควรระวัง คือ การเลือกใช คา EF ตองมีหนวยเดียวกันกับขอมูลกิจกรรมดวย
  • 27. 18 สำหรับวัตถุดิบหลักหรือระบบสนับสนุน ในทางปฏิบัติจะมีการคำนวณคาการปลอยกาซเรือนกระจกตอ หนวยหนาที่การทำงาน 1 หนวย เชน 1 กิโลกรัม 1 ตัน หรือ 1 ลูกบาศกเมตร เปนตน เพื่อสะดวกตอการนำคา มาใชในการคำนวณ ขอควรทราบเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใชปุย คือ ปุยเคมีใหพิจารณาการปลอยกาซเรือนกระจกในขั้นตอนการผลิต และการใชงาน สำหรับปุยคอกใหพิจารณาการปลอยกาซเรือนกระจกเปนศูนยเพราะเปนการนำของเสียกลับมา ใชประโยชน สวนปุยหมักใหพิจารณาการปลอยจากการผลิตวัตถุดิบและการผลิตปุยหมัก กรณีที่ใชเศษผักและผลไม เปนวัตถุดิบมีคาการปลอยกาซเรือนกระจกเปนศูนย เนื่องจากนำของเสียกลับมาใชประโยชน รายละเอียดการคำนวณคารบอนฟุตพริ้นทจะแสดงในเอกสารที่เรียกวา Verification sheet เปนเอกสาร แสดงการคำนวณในรูปของไฟล Excel ซึ่งไดอธิบายไวในหนังสือเลมแรกแลวเชนกัน สำหรับ Verification sheet เปน 1 ใน 3 เอกสารที่ใชประกอบการทวนสอบคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑ จากผลการคำนวณใน Verification sheet จะแสดงใหเห็นวาขั้นตอนใดในวัฏจักรชีวิตเกิดการปลอยกาซเรือนกระจกมากที่สุด และสามารถพิจารณาคา การปลอยกาซเรือนกระจกในระดับกิจกรรมได โดยกิจกรรมใดที่เปนกิจกรรมสำคัญที่ทำใหเกิดการปลอยกาซเรือนกระจก มากที่สุด ซึ่งจากผลนำไปสูแนวทางและแผนการลดคาการปลอยกาซเรือนกระจกและตนทุนไดอยางเปนรูปธรรม ดังคำกลาวที่วา ทานเชื่อหรือไมวา “ลดการปลอยกาซเรือนกระจกเทากับการลดตนทุนการผลิต” ในหนังสือเลมนี้จะ อธิบายถึงความจริงของคำกลาวนี้ผานกรณีศึกษาการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของอุตสาหกรรมน้ำตาล แปงมัน และกาแฟ ซึ่งการที่บริษัทจะสามารถลดการปลอยกาซเรือนกระจก เพื่อลดตนทุนและเปนกระบวนการผลิตที่ เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมไดนั้น จะตองมีการวางแผนการดำเนินงานอยางเปนระบบ ซึ่งในแตละกรณีศึกษาจะ อธิบายแนวทางการปฏิบัติแบงออกเปน 3 ระยะ คือ ระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว รายละเอียดแสดงดัง ตารางตอไปนี้ การลดการปลอยกาซเรือนกระจก = การลดตนทุนการผลิต
  • 28. 19 ตารางที่ 2.1 แนวทางการดำเนินงานที่ไดจากการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทเพื่อนำไปสูการลดตนทุน และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม การประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของทุกผลิตภัณฑจะอางอิงตามหลักการในการประเมินทั้ง 6 ขั้นตอน ดังที่ไดกลาวมาแลวเบื้องตน แตอาจมีความแตกตางกันในรายละเอียดของวิธีการดำเนินงาน เทคนิคในการคำนวณ หรือสมมติฐานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ยกตัวอยางเชน ในการเก็บขอมูลถึงแมจะเปนผลิตภัณฑเดียวกัน แตบริษัทผูผลิต แตกตางกัน การไดมาซึ่งขอมูลอาจใชวิธีการหรือเทคนิคที่แตกตางกัน ซึ่งทุกบริษัทจะมีลักษณะจำเพาะของบริษัท ดังนั้นผูประเมินเองอาจจะตองมีการปรับเปลี่ยนวิธีการดำเนินงานใหมีความเหมาะสมกับสถานการณ และในการประเมิน ทุกผลิตภัณฑ กลาวไดวาสามารถเพิ่มทักษะและประสบการณในการประเมินได โดยเฉพาะอยางยิ่งขั้นตอนการเก็บขอมูล เปนการเพิ่มทักษะในการประสานงานซึ่งความยากหรืองายขึ้นอยูกับบุคคล และวัฒนธรรมขององคการที่แตกตางกันไป รูปแบบแนวทาง รายละเอียด ระยะสั้น สามารถเริ่มดำเนินการไดทันที ไมตองใชเงินลงทุนหรือลงทุนนอย การดำเนินงานไมสงผลกระทบตอการทำงาน ใชบุคลากรภายในบริษัทเอง ใชความรูดานเทคนิคที่มีอยูแลว อาจเปนเพียงการปรับรูปแบบในการปฏิบัติงาน ระยะกลาง มีการวางแผนกอนเริ่มดำเนินการ ใชเงินลงทุนบาง มีระยะคืนทุนภายใน 2 ป การดำเนินงานอาจสงผลกระทบตอการทำงานบาง ใชบุคลากรภายในพอสมควร หรืออาจจะตองมีการใชบุคลากรจากภายนอก ตองมีการศึกษาความรูทางดานเทคนิคเพิ่มเติม ระยะยาว มีการวางแผนอยางรัดกุมกอนเริ่มดำเนินการ ใชเงินลงทุนมาก มีระยะคืนทุนเกิน 5 ป การดำเนินงานมีผลตอการทำงานมาก ใชบุคลากรภายในและภายนอก ตองมีการศึกษาความรูทางดานเทคนิค และอาจจะตองมีการประเมิน ความเปนไปไดของโครงการเพิ่มเติม o o o o o o o o o o o o o o o
  • 29. 20 การประเมินคารบอนฟุตพริ้นทจะแสดงใหเห็นวาขั้นตอนใดในวัฏจักรชีวิตมีคาการปลอยกาซเรือนกระจก มากที่สุด หากพิจารณาในรายละเอียดจะพบประเด็นสำคัญที่ทำใหเกิดการปลอยกาซเรือนกระจกเรียงลำดับจาก มากไปนอยได ซึ่งประเด็นเหลานี้จะนำไปสูแนวทางการปรับปรุงกระบวนการผลิตใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สามารถลดการปลอยกาซเรือนกระจกและลดตนทุนการผลิตได ดังนั้นประโยชนของการประเมินคารบอนฟุตพริ้นท อาจสรุปไดวา ดังนั้น การที่บริษัทไดฉลากคารบอนฟุตพริ้นทมา จึงอาจมิใชประเด็นสำคัญ กลาวคือฉลากเปนผลพลอยได ที่บริษัทควรมีไวเพื่อเพิ่มโอกาสทางการคาขายผลิตภัณฑ แตประโยชนแฝงที่นอกเหนือจากประเด็นเรื่องสิ่งแวดลอม และสามารถนำไปประยุกตใชใหเกิดประโยชนสูงสุดได ก็คือฐานขอมูล แบบฟอรมการเก็บขอมูล หรือผลการคำนวณ ที่ไดจากการประเมินคารบอนฟุตพริ้นท จะทำใหสามารถหาแนวทางการปรับปรุงกระบวนการผลิตที่เปนมิตร ตอสิ่งแวดลอม และลดตนทุนการผลิต ทั้งนี้เพื่อใหบริษัทมุงสูการเปนผูผลิตที่ตระหนักถึงมิติ 3E โดย E แรก คือ Economic E ที่สอง คือ Energy และ E ที่สาม คือ Environmental ไดอยางเปนรูปธรรมนำไปสูการผลิต ไดอยางยั่งยืน “รูตัวเอง เจาะลึกถึงประเด็น เอาไปปรับปรุง ลดตนทุนได และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม”