SlideShare a Scribd company logo
รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กัน
รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กัน โดยเมื่อนารูปเรขาคณิตสองมิติ
มาวางซ้อนกันจานวนมาก ๆ จะเกิดเป็นรูปเรขาคณิตสามมิติ
รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กัน โดยเมื่อคลี่รูปเรขาคณิต
สามมิติออก จะได้ภาพของรูปเรขาคณิตสองมิติ
ความสัมพันธ์ของรูปเรขาคณิตสองมิติกับรูปเรขาคณิตสามมิติ สามารถแสดงได้โดยนาระนาบ
รูปเรขาคณิตสองมิติมาตัดขวางรูปเรขาคณิตสามมิติ ในแนวต่าง ๆกัน
ภาพที่ได้จะมีลักษณะต่างกันไปตามแนวตัดของระนาบ
เมื่อใช้ระนาบตัดกรวยกลมโดยให้ระนาบกับฐานจะทาให้เกิดเป็นภาพสองมิติรูปวงกลม ดังนี้
ถ้าใช้มุมมองที่แตกต่างกันภาพสองมิติที่มองเห็นจะแตกต่างกัน เช่น
เมื่อมองด้านบน ระนาบตัดขวางจะเป็นภาพสองมิติ รูปวงกลม
เมื่อมองระนาบตัดขวางที่ระดับสายตา จะเห็นระนาบตัดขวางเป็นส่วนของเส้นตรง
ระนาบ
ภาพสองมิติที่เกิด
จากการตัดขวางด้วยระนาบ
ใบความรู้ เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิติ
และรูปเรขาคณิตสามมิติ
รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กัน ซึ่งการมองรูปเรขาคณิตสามมิติหลาย
ๆมุมมอง เช่นด้านบน ด้านหน้าด้านข้างจะมีลักษณะเป็นรูปเรขาคณิตสองมิติที่อาจแตกต่างกัน
ในแต่ละมุมมอง
ตัวอย่างรูปเรขาคณิตสามมิติและการมองรูปในแต่ละมุมมอง ดังนี้
การนารูปเรขาคณิตสองมิติหมุนรอบแกนใดแกนหนึ่ง
การนารูปเรขาคณิตสองมิติหมุนรอบแกนใดแกนหนึ่ง จะเกิดรูปเรขาคณิตสามมิติ
ซึ่งมีลักษณะเปลี่ยนไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรูปเรขาคณิตสองมิติที่ใช้หมุน และแนวแกนที่ใช้หมุน
นารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าหมุนรอบแกนสมมาตร ก, ข และ BC ภาพที่เกิดขึ้น จะเป็นภาพแบบใด
1) มองด้านหน้า
มองด้านข้างซีกขวา
มองด้านบน
ภาพสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า
ภาพสองมิติที่ได้จากการมองด้านข้างซีกขวา
ภาพสองมิติที่ได้จากการมองด้านบน
ใช้แกนสมมาตร ก เป็นแกนหมุน
จะได้รูปเรขาคณิตสามมิติเป็น
ทรงกระบอกตั้ง
ใช้แกนสมมาตร ข เป็นแกนหมุน
จะได้รูปเรขาคณิตสามมิติเป็น
ทรงกระบอกนอน
ถ้าใช้BC เป็นแกนหมุนจะได้
รูปเรขาคณิตสามมิติทรงกระบอก
ใหญ่ขึ้น

More Related Content

What's hot

แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็มแบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็มAena_Ka
 
คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์Aon Narinchoti
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
Somporn Amornwech
 
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธบทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธChattichai
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
sawed kodnara
 
แบบทดสอบสูตรคูณP3 6
แบบทดสอบสูตรคูณP3 6แบบทดสอบสูตรคูณP3 6
แบบทดสอบสูตรคูณP3 6
Khunnawang Khunnawang
 
การบวกเลข ป.1
การบวกเลข ป.1การบวกเลข ป.1
การบวกเลข ป.1
ทับทิม เจริญตา
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุด
kanjana2536
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
Aon Narinchoti
 
ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติmou38
 
การอ้างเหตุผล
การอ้างเหตุผลการอ้างเหตุผล
การอ้างเหตุผลพัน พัน
 
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นAon Narinchoti
 
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
Apirak Potpipit
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนNok Yupa
 
แบบสอบถามค่าใช้จ่ายประจำวันของนักเรียนชั้น
แบบสอบถามค่าใช้จ่ายประจำวันของนักเรียนชั้น แบบสอบถามค่าใช้จ่ายประจำวันของนักเรียนชั้น
แบบสอบถามค่าใช้จ่ายประจำวันของนักเรียนชั้น สำเร็จ นางสีคุณ
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
ทับทิม เจริญตา
 

What's hot (20)

แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็มแบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
 
คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
 
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธบทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
แบบทดสอบสูตรคูณP3 6
แบบทดสอบสูตรคูณP3 6แบบทดสอบสูตรคูณP3 6
แบบทดสอบสูตรคูณP3 6
 
การบวกเลข ป.1
การบวกเลข ป.1การบวกเลข ป.1
การบวกเลข ป.1
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุด
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
 
ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติ
 
การอ้างเหตุผล
การอ้างเหตุผลการอ้างเหตุผล
การอ้างเหตุผล
 
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
 
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
 
คู่อันดับ
คู่อันดับคู่อันดับ
คู่อันดับ
 
แบบสอบถามค่าใช้จ่ายประจำวันของนักเรียนชั้น
แบบสอบถามค่าใช้จ่ายประจำวันของนักเรียนชั้น แบบสอบถามค่าใช้จ่ายประจำวันของนักเรียนชั้น
แบบสอบถามค่าใช้จ่ายประจำวันของนักเรียนชั้น
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 

More from kanjana2536

ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
kanjana2536
 
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
kanjana2536
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
kanjana2536
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
kanjana2536
 
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่มใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
kanjana2536
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
ใบงานที่ 1  เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้นใบงานที่ 1  เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
ใบงานที่ 1 เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
kanjana2536
 
ใบงานที่ 13 เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
ใบงานที่ 13  เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆใบงานที่ 13  เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
ใบงานที่ 13 เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
kanjana2536
 
ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12
kanjana2536
 
ใบงานที่ 11 การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
ใบงานที่ 11  การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90ใบงานที่ 11  การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
ใบงานที่ 11 การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
kanjana2536
 
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนานใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
kanjana2536
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9
kanjana2536
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
kanjana2536
 
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
kanjana2536
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง การแบ่งครึ่งมุม
ใบงานที่ 6  เรื่อง  การแบ่งครึ่งมุมใบงานที่ 6  เรื่อง  การแบ่งครึ่งมุม
ใบงานที่ 6 เรื่อง การแบ่งครึ่งมุม
kanjana2536
 
ใบงาน5เรื่อง การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
ใบงาน5เรื่อง  การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้ใบงาน5เรื่อง  การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
ใบงาน5เรื่อง การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
kanjana2536
 
ใบ'งาน4
ใบ'งาน4ใบ'งาน4
ใบ'งาน4
kanjana2536
 
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุมใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
kanjana2536
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุด
kanjana2536
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลังใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
kanjana2536
 
ใบงานที่22 เรื่อง นำไปใช้ในชีวิต
ใบงานที่22 เรื่อง นำไปใช้ในชีวิตใบงานที่22 เรื่อง นำไปใช้ในชีวิต
ใบงานที่22 เรื่อง นำไปใช้ในชีวิต
kanjana2536
 

More from kanjana2536 (20)

ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
 
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
 
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่มใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
ใบงานที่ 1  เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้นใบงานที่ 1  เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
ใบงานที่ 1 เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
 
ใบงานที่ 13 เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
ใบงานที่ 13  เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆใบงานที่ 13  เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
ใบงานที่ 13 เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
 
ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12
 
ใบงานที่ 11 การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
ใบงานที่ 11  การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90ใบงานที่ 11  การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
ใบงานที่ 11 การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
 
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนานใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง การแบ่งครึ่งมุม
ใบงานที่ 6  เรื่อง  การแบ่งครึ่งมุมใบงานที่ 6  เรื่อง  การแบ่งครึ่งมุม
ใบงานที่ 6 เรื่อง การแบ่งครึ่งมุม
 
ใบงาน5เรื่อง การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
ใบงาน5เรื่อง  การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้ใบงาน5เรื่อง  การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
ใบงาน5เรื่อง การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
 
ใบ'งาน4
ใบ'งาน4ใบ'งาน4
ใบ'งาน4
 
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุมใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุด
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลังใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
 
ใบงานที่22 เรื่อง นำไปใช้ในชีวิต
ใบงานที่22 เรื่อง นำไปใช้ในชีวิตใบงานที่22 เรื่อง นำไปใช้ในชีวิต
ใบงานที่22 เรื่อง นำไปใช้ในชีวิต
 

รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กัน

  • 1. รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กัน รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กัน โดยเมื่อนารูปเรขาคณิตสองมิติ มาวางซ้อนกันจานวนมาก ๆ จะเกิดเป็นรูปเรขาคณิตสามมิติ รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กัน โดยเมื่อคลี่รูปเรขาคณิต สามมิติออก จะได้ภาพของรูปเรขาคณิตสองมิติ ความสัมพันธ์ของรูปเรขาคณิตสองมิติกับรูปเรขาคณิตสามมิติ สามารถแสดงได้โดยนาระนาบ รูปเรขาคณิตสองมิติมาตัดขวางรูปเรขาคณิตสามมิติ ในแนวต่าง ๆกัน ภาพที่ได้จะมีลักษณะต่างกันไปตามแนวตัดของระนาบ เมื่อใช้ระนาบตัดกรวยกลมโดยให้ระนาบกับฐานจะทาให้เกิดเป็นภาพสองมิติรูปวงกลม ดังนี้ ถ้าใช้มุมมองที่แตกต่างกันภาพสองมิติที่มองเห็นจะแตกต่างกัน เช่น เมื่อมองด้านบน ระนาบตัดขวางจะเป็นภาพสองมิติ รูปวงกลม เมื่อมองระนาบตัดขวางที่ระดับสายตา จะเห็นระนาบตัดขวางเป็นส่วนของเส้นตรง ระนาบ ภาพสองมิติที่เกิด จากการตัดขวางด้วยระนาบ ใบความรู้ เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิติ และรูปเรขาคณิตสามมิติ
  • 2. รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กัน ซึ่งการมองรูปเรขาคณิตสามมิติหลาย ๆมุมมอง เช่นด้านบน ด้านหน้าด้านข้างจะมีลักษณะเป็นรูปเรขาคณิตสองมิติที่อาจแตกต่างกัน ในแต่ละมุมมอง ตัวอย่างรูปเรขาคณิตสามมิติและการมองรูปในแต่ละมุมมอง ดังนี้ การนารูปเรขาคณิตสองมิติหมุนรอบแกนใดแกนหนึ่ง การนารูปเรขาคณิตสองมิติหมุนรอบแกนใดแกนหนึ่ง จะเกิดรูปเรขาคณิตสามมิติ ซึ่งมีลักษณะเปลี่ยนไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรูปเรขาคณิตสองมิติที่ใช้หมุน และแนวแกนที่ใช้หมุน นารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าหมุนรอบแกนสมมาตร ก, ข และ BC ภาพที่เกิดขึ้น จะเป็นภาพแบบใด 1) มองด้านหน้า มองด้านข้างซีกขวา มองด้านบน ภาพสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า ภาพสองมิติที่ได้จากการมองด้านข้างซีกขวา ภาพสองมิติที่ได้จากการมองด้านบน ใช้แกนสมมาตร ก เป็นแกนหมุน จะได้รูปเรขาคณิตสามมิติเป็น ทรงกระบอกตั้ง ใช้แกนสมมาตร ข เป็นแกนหมุน จะได้รูปเรขาคณิตสามมิติเป็น ทรงกระบอกนอน ถ้าใช้BC เป็นแกนหมุนจะได้ รูปเรขาคณิตสามมิติทรงกระบอก ใหญ่ขึ้น