SlideShare a Scribd company logo
1 of 81
Download to read offline
3
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
ความเป็นมาในการจัดตั้งท้องถิ่นรูปแบบ
พิเศษนครแม่สอด
	 ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๗ ในการประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจร ที่อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก ได้
มีมติเห็นชอบแนวทางการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ในพื้นที่ ๓ อำ�เภอ ฝั่งตะวันตกของจังหวัดตาก ประกอบด้วย อำ�เภอ
แม่สอด อำ�เภอแม่ระมาด และอำ�เภอพบพระ เพื่อรองรับการขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจ การค้าชายแดนการลงทุนในภาค
อุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว และมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๓ เห็นชอบการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ
อำ�เภอแม่สอด เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในปี ๒๕๕๘ เป็นประตูสู่อันดามันตามเส้นทาง
ระเบียงเศรษฐกิจ East West Economic Corridor ต่อมาเมื่อวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๕๖ นายกรัฐมนตรีพร้อมคณะ ได้
เดินทางลงพื้นที่ตรวจราชการ อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตากได้ประกาศให้มีการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษแม่สอดเป็นแห่งแรก
ของประเทศไทย และให้นครแม่สอดเป็นหนึ่งในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ที่จะมีการเสนอผ่านคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษ และเมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๕๖ ในการประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจร จังหวัดอุตรดิตถ์
	 ที่ประชุมมีมติเห็นชอบร่างระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. ..... ซึ่งต่อมานายก
รัฐมนตรีได้ลงนามในระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖ และลงประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา เล่มที่ ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๘๗ ง ลงวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๖ เรียบร้อยแล้ว และได้มีการประชุมคณะกรรมการ
นโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๕๖ ณ ทำ�เนียบรัฐบาล เพื่อติดตาม
ความคืบหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษทวายและพื้นที่โครงการที่
เกี่ยวข้อง ระหว่างไทยและเมียนมาร์ ซึ่งได้กำ�หนดโครงการให้มีความ
สำ�คัญเร่งด่วนที่จะดำ�เนินการให้แล้วเสร็จในปี ๒๕๕๘ และจะเป็นประตู
เข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเฉพาะการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
พิเศษแม่สอด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษนคร
แม่สอด นครเกาะสมุย สุวรรณภูมิ และอื่นๆ ซึ่งประเทศชาติจะ
ได้รับประโยชน์อย่างมหาศาล หากมีการยกฐานะและพัฒนาท้องถิ่นใน
รูปแบบพิเศษให้สอดคล้องกับ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ เช่น นคร
แม่สอด จะเกิดการค้า การลงทุนทั้งระดับท้องถิ่น และภาพรวมของ
ประเทศมากขึ้น จะก่อให้เกิดรายได้ในมิติของการค้าการลงทุน การ
ท่องเที่ยว เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ เพิ่มคุณภาพชีวิตและโอกาส
ที่ดีให้ประชาชนในท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ มีการกระจายรายได้ไปสู่ประชาชนในทุกพื้นที่จากการจัดเก็บภาษีอากรพัฒนาท้องถิ่น
รูปแบบพิเศษสร้างประโยชน์ให้ประเทศชาติทำ�ให้เกิดการพัฒนาในมิติต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
ความเป็นมาในการจัดตั้งท้องถิ่นรูปแบบพิเศษนครแม่สอด
�������������������2.indd 3 17/12/2558 16:05:02
4
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
ความเป็นมาในการจัดตั้งท้องถิ่นรูปแบบพิเศษนครแม่สอด
		 ประกอบกับคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) พร้อมทั้งหน่วย
งานด้านเศรษฐกิจ การเงิน การธนาคารและการคลัง รวมทั้งภาคเอกชน ได้มี
แนวทางการบริหารงาน หรือโรดแมป (Road map) โดยมีนโยบาย ที่ต้องทำ�
ควบคู่ไปกับนโยบายเร่งด่วนในการส่งเสริมการค้าชายแดน ผ่านการจัดตั้งเขต
เศรษฐกิจพิเศษด้วยศักยภาพความพร้อมของแม่สอด และจากผลการศึกษาวิจัย
ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยราชภัฏ
กำ�แพงเพชรแม่สอดซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ ได้มีความเห็นสอดคล้องกัน เนื่องจาก
แม่สอดเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพและความพร้อมของเมืองสูงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ
การลงทุนภาคอุตสาหกรรม ภาคการเกษตร และการท่องเที่ยว โดยมีมูลค่าการ
ค้าชายแดนด่านพรมแดนแม่สอด – เมียวดี มากกว่าปีละ ๔๐,๐๐๐ ล้านบาท เป็น
ประตูสู่ยุโรปตามเส้นทาง EWECวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๕๖ และเป็นประธานการ
ประชุม คณะรัฐมนตรีสัญจร ที่จังหวัดอุตรดิตถ์ เมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๕๖
ที่ประชุมมีมติเห็นชอบร่างระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. ..... โดยให้มีการจัดตั้งเขต
พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษแม่สอดเป็นแห่งแรกของประเทศไทย และให้นครแม่สอดเป็นหนึ่งใน
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษที่จะมีการเสนอผ่านคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
พิเศษ ซึ่งนายกรัฐมนตรี ได้มอบหมายให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ติดตาม
โครงการพัฒนาพื้นที่อำ�เภอแม่สอดที่ต้องเร่งดำ�เนินการ เพื่อรองรับการจัดตั้งเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษแม่สอด ท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” และการนำ�เข้าสู่
ประชาคมอาเซียน (AEC) เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการดำ�เนินการให้เป็นไปตาม
ระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. ... เมื่อมีผลบังคับ
ใช้แล้วให้เป็นไปด้วยความถูกต้อง รวดเร็ว และเป็นรูปธรรม จึงเห็นควรที่จะเร่งดำ�เนินการ
ออกกฎหมาย ร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ. ... ให้มีผล
บังคับใช้โดยเร่งด่วน เนื่องจากเหตุผลและความจำ�เป็น ดังนี้
	 ๑. เป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๗๘(๓) บัญญัติให้รัฐ
ต้องดำ�เนินการตามแนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน โดยเฉพาะนโยบายด้าน
การกระจายอำ�นาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้สามารถพึ่งตนเองได้และตัดสินใจ
ในกิจการของท้องถิ่นเองได้ รวมทั้งพัฒนาจังหวัดที่มีความพร้อมให้เป็นองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่ ประกอบกับ มาตรา ๒๘๙ วรรคเก้า ซึ่งบัญญัติให้จัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษที่มี
โครงสร้างการบริหารที่แตกต่างจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วไปได้ภายใต้เงื่อนไขที่ว่าคณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้อง
ถิ่นต้องมาจากการเลือกตั้ง จึงสมควรสนับสนุนให้พื้นที่ในส่วนของเทศบาล นครแม่สอดและเทศบาลท่าสายลวด จังหวัดตาก ซึ่ง
มีศักยภาพในการเป็นประตูเศรษฐกิจที่จะเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน และสามารถพัฒนาให้เป็นฐานในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
การค้า และการลงทุนที่สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ ได้จัดตั้งขึ้นเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ เพื่อให้
สามารถจัดบริการสาธารณะที่มีคุณภาพแก่ประชาชนและรองรับการเจริญเติบโตของพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
	 ๒. รัฐบาลมีนโยบายจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษขึ้นเพื่อส่งเสริมการค้าและการลงทุนของประเทศ โดยใช้ประโยชน์
จากความเชื่อมโยงด้านคมนาคมขนส่งของภูมิภาคอาเซียนและข้อตกลงการค้าเสรีภายใต้กรอบอาเซียน และนโยบายสนับสนุนการ
ดำ�เนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีระบบที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และสามารถให้บริการสาธารณะตอบสนองความ
ต้องการของประชาชนได้ตามความคาดหวัง ประกอบกับ ายกรัฐมนตรี ประกาศอย่างชัดเจนว่าจะจัดตั้งเขตพิเศษ โดยให้นคร
แม่สอดเป็นแห่งแรกที่จะจัดตั้งเป็นเขตเศรษฐกิจแม่สอด อีกทั้งกระทรวงมหาดไทย พิจารณาแล้วเห็นว่า ร่างระเบียบสำ�นักนายก
รัฐมนตรี ว่าด้วยเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. ...
�������������������2.indd 4 17/12/2558 16:05:02
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
			 มีเนื้อหาในการส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีศักยภาพสามารถพัฒนาพื้นที่
ของตนขึ้นเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษที่มีระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน และภาพวดล้อม
ที่เหมาะสม และจำ�เป็นต่อการรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจอันเนื่องจากการค้าบริเวณพรมแดนและการค้าเสรีภายใต้กรอบ
อาเซียนได้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการการพัฒนายั่งยืนและหลัก
การมีส่วนร่วมของประชาชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม จึงเห็นควรให้ความเห็นชอบใน
หลักการ ดังนั้น เพื่อให้การดำ�เนินการตามนโยบายดังกล่าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงมีความจำ�เป็นต้องมีกลไกลขับเคลื่อน
การส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีศักยภาพโดยเฉพาะการปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ“นครแม่สอด”
สามารถพัฒนาพื้นที่ขึ้นเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษที่มีระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน และ
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมจำ�เป็นต่อการรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ อันเนื่องมาจากการค้าบริเวณพรมแดนและการค้าเสรี
ได้กรอบอาเซียน
			 ๓. ระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. ...กำ�หนดบทนิยามคำ�ว่า
“เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ”หมายความว่า พื้นที่ทั้งหมดหรือบางส่วนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหนึ่งหรือหลายแห่งที่ได้รับ
สนับสนุนจากรัฐในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำ�เป็นต่อการค้าสินค้าหรือบริการ หรือการลงทุนเพื่อรองรับการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจอันเนื่องมาจากการค้าบริเวณพรมแดนและการค้าเสรีภายใต้กรอบอาเซียน รวมทั้ง
การพัฒนาระบบการให้บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จที่สอดคล้องกับระบบ ASEAN Single
Window สภาพพื้นที่ของเทศบาลนครแม่สอดในปัจจุบัน ไม่มีพื้นที่ติดต่อบริเวณพรมแดน
จึงจำ�เป็นต้องจัดตั้งนครแม่สอดขึ้นเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มีเขตพื้นที่ครอบคลุม
พื้นที่ของเทศบาลนครแม่สอดและเทศบาลตำ�บลท่าสายลวด ตามร่างพระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ. .
ความเป็นมาในการจัดตั้งท้องถิ่นรูปแบบพิเศษนครแม่สอด 5
�������������������2.indd 5 17/12/2558 16:05:03
6
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
ศักยภาพของนครแม่สอด
ศักยภาพของนครแม่สอด
มูลค่าการนำ�เข้า/
ส่งออกสินค้า
เส้นทางโลจิสติกส์
แรงงานเข้มข้น
ความพร้อม
ของพื้นที่
www.themegallery.com
EASTWESTECONOMICSCORRIDOR
จุดเด่นของพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษตาก
	 จังหวัดตาก มีพื้นที่ชายแดนติดประเทศเมียนมาร์ยาวประมาณ 540 กิโลเมตร โดยด่านการค้าหลักอยู่ระหว่างชายแดน
อำ�เภอแม่สอด และจังหวัดเมียวดี นับตั้งแต่เมียนมาเริ่มพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ในปี พ.ศ. 2554 ประเทศไทยจึงมีโอกาส
อย่างสูงในการเข้าไปเพื่อลงทุนหรือขยายธุรกิจการค้าระหว่างประเทศและการค้าชายแดนให้มากขึ้นหลายเท่าตัว
	 ด้วยศักยภาพและความพร้อมของจังหวัดตาก ทั้งด้านเศรษฐกิจ การลงทุนภาคอุตสาหกรรม ภาคการเกษตร และ
ภาคการท่องเที่ยว และได้รับการสนับสนุนจากทุกภาคส่วนในพื้นที่ร่วมกันผลักดันอย่างต่อเนื่อง โดยพื้นที่ชายแดนจังหวัดตาก
สามารถเชื่อมโยงกับเขตการค้าเมียวดี (Myawady Trade Zone) ของประเทศเมียนมา มีพื้นที่ตั้งอยู่ปลายแนวเชื่อมโยงทาง
เศรษฐกิจ (East-Weast Economic Corridor: EWEC ) เป็นจุดตัดระหว่างแนวทางการเชื่อมโยงเศรษฐกิจ  Nouth South Eco-
nomic Corridor ( NSEC ) มีโครงข่ายการคมนาคมทางบกที่สนับสนุนการขนส่งทั้งผู้โดยสารและสินค้า มีสนามบินพาณิยช์ เป็น
แหล่งผลิตทางการเกษตรและแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่มีความโดดเด่นเฉพาะตัว ตลอดจนประตูสู่อันดามัน
	 รวมทั้งกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาพื้นที่แม่สอด เช่น กรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคลุ่ม
แม่น้ำ�โขง กรอบความร่วมมือ อิระวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง และกรอบยุทธศาสตร์ BIMSTEC รวมถึงสามารถเชื่อมโยงกับเส้นทางการ
ค้าขายเป็นประตูสู่ยุโรปได้ ประกอบกับมีมูลค่าการค้าขายชายแดน ปีละกว่า 60,000 ล้านบาท และคาดว่าในปี 2558 ในการ
เข้าสู่ประชาคมอาเซียน จะเพิ่มมูลค่าการค้าขายชายแดนกว่า 100,000 ล้านบาท มีฐานการลงทุนเดิมในพื้นที่ เป็นอุตสาหกรรม
ที่ใช้แรงงานเข็มข้น เช่น อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม มีพื้นที่ชายแดนติดกับจังหวัดเมียวดีทำ�ให้สามารถใช้ประโยชน์จาก
แรงงานต่างด้าวที่เดินทางไปกลับได้ นอกจากนี้ยังมีกลุ่มนักธุรกิจ นักลงทุน ทั้งในและต่างประเทศ เช่น จีน มาเลเซีย เกาหลีใต้
เวียดนาม ต่างสนใจมาลงทุนในพื้นที่ ทั้งด้านการค้าขาย ด้านอุตสาหกรรม ด้านการท่องเที่ยว ด้านการค้าอัญมณี ด้านการเกษตร
กรรม
	 พื้นที่ชายแดนจังหวัดตากจึงมีศักยภาพและความพร้อมของพื้นที่จึงส่งผลให้จังหวัดตากเป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์ทั้งในเชิง
ความมั่นคง เศรษฐกิจแหล่งทรัพยากร และจุดเชื่อมโยงไปยังภูมิภาคอื่น มีศักยภาพสูงต่อการส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาไปสู่ความ
เป็นศูนย์กลางทางการค้าและเศรษฐกิจชายแดนฝั่งตะวันตกของประเทศไทย
�������������������2.indd 6 17/12/2558 16:05:08
7
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
ศักยภาพของนครแม่สอด
มูลค่าการนำ�เข้า/ส่งออกสินค้า
มูลค่าการนำ�เข้า ด่านศุลกากรแม่สอด
ปีงบประมาณ 2558
( 1 ตุลาคม 2557-31พฤษภาคม 2558 )
มูลค่านำ�เข้า 2,594.76 ล้านบาท
เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาในช่วงเดียวกัน ซึ่งมีมูลค่า 2,387.09 ล้านบาท
เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.70
มูลค่าการค้ารวม 45,275.5 ล้านบาท เพิ่มขึ้น ร้อยละ 17.18
มูลค่าการส่งออก ด่านศุลกากรแม่สอด
ปีงบประมาณ 2558
( 1 ตุลาคม 2557-31พฤษภาคม 2558 )
มูลค่านำ�เข้า 42,680.731 ล้านบาท
เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาในช่วงเดียวกัน ซึ่งมีมูลค่า 36,248.664 ล้านบาท
เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.74
�������������������2.indd 7 17/12/2558 16:05:09
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
ศักยภาพของนครแม่สอด
สถิติส่งออกสินค้าถ่ายลํา/ผ่านแดน
ด่านศุลกากรแม่สอด
ปีงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 - พฤษภาคม 2558)
ปริมาณ หน่วย นํ�าหนัก (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท)
รถยนต์ 18,734 คัน - 1,375.19
จักรยาน 283,441 คัน - 147.86
รถจักรยานยนต์ 7,397 คัน - 1,272,52
หมาก 342,136 กระสอบ 26,599.47 1,160.35
สถิติส่งออกสินค้าถ่ายลํา/ผ่านแดน
ด่านศุลกากรแม่สอด
ปีงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 - พฤษภาคม 2558)
สินค้าเก่าจากญี�ปุ่น นํ�าหนัก (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท)
เครื�องใช้ในครัวเรือน
เครื�องใช้ไฟฟ้ าเก่าใช้แล้ว, 3,754.08 155.736
เสื�อผ้าเก่าใช้แล้ว 432.398 13.851
ถังแก๊สเปล่าใช้แล้ว 232.292 5.565
อุปกรณ์ใช้ในโรงพยาบาลเก่าใช้แล้ว
(เตียง เก้าอี� ฯลฯ จํานวน 12,123 ชิ�น) 226.689 6.335
4,645.46 181.489
8
�������������������2.indd 8 17/12/2558 16:05:10
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
ศักยภาพของนครแม่สอด
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ประเด็น รายละเอียด / ข้อเสนอ
๑. ขอระงับการบังคับใช้ผังเมืองรวม
(ฉบับใหม่) ที่จะประกาศใช้ในพื้นที่เขต
พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ๑๔ ตาบล
มอบหมายให้จังหวัดตากมีหน้าที่ในการ
จัดทาผังเมืองในพื้นที่ เขตพัฒนาเศรษฐกิจ
พิเศษตาก ๑๔ ตาบล
๒. การใช้ประโยชน์ที่ดินในเขต
พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ในพื้นที่
สหกรณ์นิคมสปก., นสร., ป่ามติ ครม.,
สทก., ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ และอื่นๆ
ข้อเสนอ : เห็นควรพิจารณาใช้มาตรา ๔๔ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับ
ชั่วคราว) พ.ศ. ๒๕๕๗ บังคับใช้ ดังนี้
(1) จัดทาผังเมืองรวมเฉพาะเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก รวม 14
ตาบล
(2) ยกเลิกการบังคับใช้กฎหมายปฏิรูปที่ดินในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
ตาก
(3) ให้หัวหน้าคณะทางานขับเคลื่อนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ระดับ
ตาบลทั้ง 14 ตาบลเป็นคณะทางานสารวจรังวัดที่ดินเพื่อออกเอกสารสิทธิ์ (โฉนด) โดยมอบให้
จังหวัดเป็นเจ้าภาพดาเนินการ
ข้อเสนอ : เห็นควรพิจารณาใช้มาตรา ๔๔ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับ
ชั่วคราว) พ.ศ. ๒๕๕๗ ดังนี้
(๑) สหกรณ์นิคม - ยกเลิกประกาศป่าทับที่สหกรณ์นิคม
- เพิ่มวัตถุประสงค์ในการใช้ประโยชน์ที่ดิน
เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์นิคมซึ่งเป็นประชาชนในพื้นที่ได้มี
โอกาสนาที่ดินในการรวมกลุ่มกันให้นักลงทุนเช่า หรือให้
สมาชิกเข้าไปเป็นหุ้นส่วนกับการลงทุนในพื้นที่โดยวิธีอื่นๆ
ซึ่งจะทาให้คนในพื้นที่ได้รับโอกาสในการพัฒนาพื้นที่เขต
พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตากควบคู่กับนักลงทุนภายนอก
(๒) ป่ามติ ครม. - ยกเลิกประกาศป่ามติ ครม. /ที่ราชพัสดุ ชดเชยค่าเวนคืนที่ดินให้
ประชาชนที่ครอบครองพื้นที่ดังกล่าวอย่าง เป็นธรรม
- สทก. (สิทธิทากิน) ที่ป่าไม้สารวจแล้วให้เพิกถอนออกเอกสารสิทธิ์
ที่ดินทากินให้ประชาชนที่ครอบครองได้
- ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ ตาบลแม่กุ, ตาบลแม่ตาว
(1) ให้สามารถออกเอกสารสิทธิ์ที่ดินทากินให้ประชาชน
ครอบครองได้
9
�������������������2.indd 9 17/12/2558 16:05:10
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
ศักยภาพของนครแม่สอด
ประเด็น รายละเอียด / ข้อเสนอ
(2) จ่ายค่าเช่าพื้นที่ที่ประชาชนครอบครอง กรณีมีการก่อสร้าง
อุตสาหกรรม และสถานที่ราชการ อย่างเป็นธรรม
(3) ชดเชยค่าเวนคืนที่ดินให้ประชาชนที่ครอบครองพื้นที่ดังกล่าว
อย่างเป็นธรรม
(๓) ที่ดินประเภท สปก. นสร. และอื่นๆ ที่รัฐบาลเห็นว่าเหมาะสม
ให้สามารถออกเอกสารสิทธิ์ที่ดินทากินให้ประชาชนที่ครอบครองได้ และผลที่คาด
ว่าจะได้รับ มีดังต่อไปนี้
(3.1) รัฐจะได้รับค่าธรรมเนียมจากการออกเอกสารสิทธิ์จากเจ้าของที่ดินเดิมทั้งหมด
391,392 ไร่ฯ ละ 1,000 บาท
(3.2) จะมีรายได้ค่าธรรมเนียมในการซื้อ - ขาย โอน, จานอง และทาธุรกรรมต่างๆ
(3.3) ไม่มีผลกระทบต่อประชาชนที่ครอบครองที่ดินเดิม
(3.4) ตรงกับความต้องการของนักลงทุนที่มีความประสงค์จะซื้อที่ดินเพื่อการลงทุน
(3.5) ทาให้เกิดกระบวนการซื้อขายที่ดินและทาธุรกรรมต่างๆ อย่างถูกต้องตาม
กฎหมาย
(3.6) ทาให้การวางผังเมืองในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก เป็นไปตาม
ศักยภาพของพื้นที่
(3.7) ทาให้เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ประสบความสาเร็จตามนโยบายของ
คสช.
๓. การจัดเก็บค่าธรรมเนียม แรงงาน
ต่างด้าว ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก
“สหกรณ์แรงงานอาเซียน”
ตามดาริของ พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ในการ
ประชุมตรวจเยี่ยมพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก เมื่อวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ
ห้องประชุมอาคารเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ชั้น ๔ ได้มีดาริในประเด็นสนับสนุนให้
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สมควรได้รับส่วนแบ่งการจัดเก็บค่าธรรมเนียมแรงงานต่างด้าว ใน
เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษตาก เนื่องจากเกิดผลกระทบเกี่ยวกับภาระค่าใช้จ่ายของ อปท.ที่
ต้องใช้ เพื่อควบคุมและดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการกระทาของคนต่างด้าวที่อาศัยอยู่
ในเขต อปท. เช่น ค่ากาจัดขยะ การบาบัดน้าเสีย หรือการแก้ไขปัญหาชุมชนแออัด เป็นต้น
ข้อเสนอ : เห็นควรพิจารณาให้ อปท.ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ได้รับส่วนแบ่งการ
จัดเก็บค่าธรรมเนียมแรงงานต่างด้าวในพื้นที่ และร่วมเป็นคณะกรรมการด้านแรงงานในเขต
พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก
10
�������������������2.indd 10 17/12/2558 16:05:10
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
ศักยภาพของนครแม่สอด
ประเด็น รายละเอียด / ข้อเสนอ
๔. โครงการแม่ละเมา (โครงการ เพิ่ม
น้าให้อ่างเก็บน้าเขื่อนภูมิพล ระยะที่ 1)
โครงการเพิ่มน้าในอ่างเก็บน้าเขื่อนภูมิพล กฟผ.ได้ด้าเนินโครงการศึกษาตามมติ
คณะรัฐมนตรี เมื่อ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๓๕ เพื่อน้าไปใช้เป็นมาตรการแก้ไขปัญหาการขาด
แคลนน้าระยะยาว สามารถส่งน้าไปใช้เพื่อการอุปโภค บริโภค และพืนที่เกษตรกรรมท้าย
เขื่อนในฤดูแล้งได้ประมาณ ๒๐,๐๐๐ ไร่ ส้าหรับปริมาณน้าที่ผันมายังเขื่อนภูมิพลนันสามารถ
น้าไปใช้เพื่อการอุปโภคและบริโภค อุตสาหกรรมหรือเกษตรกรรมด้านท้ายน้าของเขื่อนภูมิพล
ได้ตามความเหมาะสมและสามารถน้ามาผลิตกระแสไฟฟ้าเป็นผลพลอยได้อีกด้วย
ข้อเสนอ : เพื่อเป็นทางเลือกในการแก้ไขปัญหาวิกฤตการณ์ขาดแคลนน้าใน
ระยะยาว เห็นควรพิจารณาผลักดันโครงการแม่ละเมา (โครงการเพิ่มน้าให้
อ่างเก็บน้าเขื่อนภูมิพล ระยะที่ ๑) ให้เกิดขึนอย่างเป็นรูปธรรมต่อไป
๕.โครงสร้างการบริหารเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษตาก ๑๔ ต้าบล
(ผู้ว่าราชการจังหวัด+ส่วนราชการ+
ภาคเอกชน+ท้องถิ่น)
ข้อเสนอ : เห็นควรพิจารณามอบอ้านาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือรูปแบบ
คณะกรรมการหรือหัวหน้าส่วนราชการ มีอ้านาจในการอนุมัติ อนุญาตการพิจารณาหรือการ
ปฏิบัติใดๆ ตามที่ก้าหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกา ทัง ๒๐ ฉบับ ได้แก่ กฎหมายว่าด้วยการ
ส่งเสริมการลงทุน ว่าด้วยการท้างานของคนต่างด้าว ,ว่าด้วยการประกอบธุรกิจน้าเที่ยวและ
มัคคุเทศก์ ,ว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ,ว่าด้วยผังเมือง ,ว่าด้วยโรงงาน ,
ว่าด้วยการจราจรทางบก ,ว่าด้วยการเวนคืนที่ดิน ,ว่าด้วยประมวลกฎหมายที่ดิน , ว่าด้วย
การบินพลเรือน ,ว่าด้วยด่านศุลกากร,ว่าด้วยกรมทางหลวง ,ว่าด้วยการทางพิเศษ .ว่าด้วยป่า
ไม้ ,ว่าด้วยการปฏิรูปที่ดิน (สปก.) ,ว่าด้วยการนิคมสหกรณ์การเกษตร ,ว่าด้วยนิคม
อุตสาหกรรม ,ว่าด้วยตรวจคนเข้าเมือง เป็นต้น
รายได้
- ภาษี, อากร, ที่จัดเก็บในพืนที่ โดยจัดแบ่งตามที่รัฐบาลก้าหนด
- แผนปฏิบัติการพัฒนา SEZ ตากในรูปแบบเป็นงบประมาณอุดหนุนจาก
รัฐบาล
- อื่นๆ ตามที่รัฐบาลก้าหนด
ก้ากับดูแล
- กนพ. โดยนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน
หมายเหตุ : แผนงานโครงการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ระดับต้าบล ทัง 14 ต้าบล ให้
คณะท้างานขับเคลื่อนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ระดับต้าบลแต่ละต้าบล น้าส่งผ่าน อ้าเภอ/จังหวัด ต่อไป
11
�������������������2.indd 11 17/12/2558 16:05:10
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
ศักยภาพของนครแม่สอด
แม่สอดเป็นศูนย์กลางของระบบโลจิสติกส์ที่เชื่อม
โยง ไปสู่ภูมิภาคต่างๆ
ด่านแม่สอดเป็นศักยภาพในการกระจายสินค้า
แปรรูปของไทยและนำ�เข้าวัตถุดิบอุตสาหกรรม
เพื่อแปรรูปสร้างมูลค่าเพิ่ม
เชี่อมโยงไปยังย่างกุ้งศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของ
เมียนมาร์ได้สะดวก
เป็นอุปทานแรงงานพม่า
ความต้องการสินค้าของเมียนมาร์มีแนวโน้มเพิ่ม
สูงขึ้น เปิดโอกาสให้ขยายตลาดสินค้าไทยเมียมาร์
เมียนมาร์เป็นช่องทางที่สำ�คัญในการกระจาย
สินค้าออกสู่ประเทศจีน อินเดีย และบังกลาเทศ
การปฏิรูปการเมืองทำ�ให้เมียนมาร์เปิดประเทศ
มากขึ้น เพิ่มโอกาสในการพัฒนาเศรษฐกิจร่วม
กันระหว่างไทย-เมียนมาร์
พื้นที่แม่สอดเป็นเขตป่าทำ�ให้พื้นที่ใช้ประโยชน์ได
อย่างจำ�กัด
เสถียรภาพทางการเมืองเมียนมาร์ไม่ลงตัว ทำ�ให้
การดำ�เนินนโยบายการพัฒนาในระดับพื้นที่ไม่
ชัดเจน
ระเบียบการค้าชายแดนไม่เอื้ออำ�นวยการค้า
ชายแดนในอนาคต
นโยบายการพัฒนาระบบโครงสร้างถนนของฝั่ง
เมียนมาร์ยังไม่เสร็จสมบูรณ์
ระบบโครงสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐานในแม่สอดมี	
จำ�กัด
แรงงานพม่าที่เป็นแรงงานหลักในอุตสาหกรรม
แม่สอดเป็นแรงงานไร้ทักษะ
อุตสาหกรรมในแม่สอดมีผลิตภาพแรงงานต่ำ�
ขาดเอกภาพในการบริหารจัดการปัญหาและขาด
การประสานความร่วมมือของหน่วยงานต่างๆ ใน
พื้นที่
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องรับภาระการจัดการ
ส่งธารณะมากกว่าปกติอันเนื่องมาจากจำ�นวน
แรงงานข้ามชาติที่เข้ามาทำ�งานในแม่สอด
โอกาส (Opportunities: O)
จุดแข็ง (Strengths: S) จุดอ่อน (Weaknesses: W)
ข้อจำ�กัด (Threats: T)
S2.
W1.
W2.
W3.
W4.
W5.
S1.
S3.
S4.
O1. T1.
T2.
T3.
T4.
O2.
O3.
การวิเคราะห์ SWOT ANALYSIS
12
�������������������2.indd 12 17/12/2558 16:05:10
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
ศักยภาพของนครแม่สอด 13
เส้นทางโลจิสติกส์
S1. เป็นศูนย์กลางของระบบโลจิสติกส์ที่เชื่อมโยงไปสู่ภูมิภาคต่างๆ
	 อำ�เภอแม่สอดตั้งอยู่เส้นทางที่สำ�คัญ 2 เส้นทาง ได้แก่ เส้นทาง
เชื่อมโยงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก หรือ เส้นทางระเบียงเศรษฐกิจแนว
ตะวันออก-ตะวันตก (East-Weast Economic Corridor: EWEC)
ที่เชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรอินเดียทางตะวันตกและมหาสมุทรแปซิฟิกทาง
ตะวันออกและ เส้นทางหลวงสายเอเชียสาย1 (Asian Highway: AH1)
ที่เป็นเส้นทางเชื่อมระหว่างทวีปเอเชียกับยุโรป
�������������������2.indd 13 17/12/2558 16:05:16
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
ศักยภาพของนครแม่สอด
รถไฟทางคู่
เส้นทาง นครสวรรค์-กำ�แพงเพชร-ตาก-แม่สอด
	 ร.ฟ.ท.เปิดแนวเส้นทางใหม่เชื่อมโยงโลจิสติกส์ขนส่งสินค้าและผู้โดยสารรับแผนการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด
ด้วยรถไฟทางคู่ เส้นทางนครสวรรค์–กำ�แพงเพชร–ตาก–แม่สอด ระยะทางกว่า 256 กิโลเมตร ปลายเดือนมิถุนายนเริ่ม
กระบวนการเปิดรับฟังความเห็นประชาชนในพื้นที่ แบ่ง 2 ช่วงดำ�เนินการยื่นขออีไอเอปี 59 นี้
แหล่งข่าวระดับสูงจากการรถไฟแห่งประเทศไทย(ร.ฟ.ท.) เปิดเผย “ฐานเศรษฐกิจ” ว่า จากการที่รัฐบาลดำ�เนินนโยบาย
เปิดเขตเศรษฐกิจพิเศษ โดยเฉพาะพื้นที่อำ�เภอสอด จังหวัดตาก ให้เกิดขึ้นก่อน เพื่อให้สอดรับแผนดังกล่าว ร.ฟ.ท.เตรียม
เพิ่มประสิทธิภาพการคมนาคมขนส่งและเชื่อมโยงพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ โดยว่าจ้างกลุ่มบริษัทที่ปรึกษาศึกษาความเหมาะสม
โครงการก่อสร้างทางรถไฟสายนครสวรรค์–กำ�แพงเพชร–ตาก–แม่สอด
	 “เนื่องจากจังหวัดตากและจังหวัด กำ�แพงเพชรยังไม่มีเส้นทางรถไฟผ่านซึ่งหากมีการพัฒนาโครงข่ายทางรถไฟใน
พื้นที่ดังกล่าวจะเกิดผลดีต่อการเดินทางและขนส่งสินค้าไปยังอำ�เภอแม่สอดหรือ บริเวณใกล้เคียงให้มีความสะดวกประหยัดและ
ปลอดภัยทั้งยังเป็นกำ�ลังสำ�คัญในการ ส่งเสริมการพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอดให้ประสบผลสำ�เร็จ”
	 สำ�หรับโครงการก่อสร้างทางรถไฟสายนครสวรรค์–กำ�แพงเพชร–ตาก–แม่สอด แบ่งเป็น 2 ช่วงคือช่วงแรกมีระยะ
ทาง 187.9 กิโลเมตรผ่านพื้นที่ 3 จังหวัด 10 อำ�เภอ มีจำ�นวน 24 สถานี จุดเริ่มต้นจากสถานีนครสวรรค์ ผ่าน
อำ�เภอเมืองนครสวรรค์ อำ�เภอ เก้าเลี้ยว อำ�เภอบรรพตพิสัย เข้าสู่จังหวัดกำ�แพงเพชร ผ่านอำ�เภอขาณุวรลักษบุรี อำ�เภอ
คลองขลุง อำ�เภอเมือง อำ�เภอพรานกระต่าย อำ�เภอโกสัมพีนคร เข้าสู่พื้นที่จังหวัดตาก ผ่านอำ�เภอวังเจ้า สิ้นสุดเส้นทางช่วง
ที่ 1 ที่อำ�เภอเมืองตาก และช่วงที่ 2 ระยะทาง 68.5 กิโลเมตร จำ�นวน 5 สถานี ผ่านพื้นที่ 1 จังหวัด 2 อำ�เภอ เริ่ม
ต้นจากจังหวัดตาก ผ่านอำ�เภอเมืองตากมุ่งหน้าไปทางทิศตะวันตก สิ้นสุดที่อำ�เภอแม่สอด ในส่วนรูปแบบแนวเส้นทางมีทั้งทาง
ระดับพื้นสะพานยกระดับสะพานขนาดเล็กอุโมงค์
	 แหล่งข่าวกล่าวต่อไปว่าคาดปี 2559 จะยื่นขอรับรองผลกระทบสิ่งแวดล้อม(อีไอเอ) ก่อนขออนุมัติสำ�รวจออกแบบที่
จะใช้งบปี 2559 หรืองบปี 2560 กว่า 100 ล้านบาทเข้าไปดำ�เนินการ คาดว่าจะใช้งบก่อสร้างประมาณ 9.5 หมื่น ล้าน
โดยประโยชน์ของโครงการจะเพิ่มทางเลือกใหม่ในการเดินทางและการขนส่ง สินค้าด้วยการเชื่อมต่อโครงข่ายทางรถไฟจาก
สถานีรถไฟนครสวรรค์ไปสู่จังหวัด กำ�แพงเพชรและจังหวัดตากซึ่งปัจจุบันยังไม่มีเส้นทางรถไฟผ่านนอกจากนั้นยัง เป็นการ
ส่งเสริมเศรษฐกิจการค้าการจ้างงานและการท่องเที่ยวทั้งยังช่วยกระจาย ความเจริญไปยังพื้นที่ที่แนวเส้นทางผ่านทำ�ให้
ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น อีกทั้งยังช่วยประหยัดพลังงานเชื้อเพลิงภาคการขนส่งของประเทศจึงเป็นการ ประหยัดค่าใช้
จ่ายในการขนส่งสินค้า
	 ทั้งนี้ร.ฟ.ท.ได้แนะนำ�โครงการและรับฟังความ
คิดเห็น/ข้อเสนอแนะจากผู้บริหารระดับจังหวัดไปเมื่อ
วันที่ 10-11 มีนาคม 2558 พร้อมกับจัดประชุม
กลุ่มย่อยระดับอำ�เภอไปเมื่อวันที่ 26-28 พฤษภาคม
2558 และกำ�หนดเปิดรับฟังความเห็นประชาชน
จำ�นวนอีก 3 ครั้งคือวันที่ 24 มิถุนายนนี้ที่จังหวัด
นครสวรรค์ วันที่ 25 มิถุนายนที่จังหวัดกำ�แพงเพชร
และวันที่ 26 มิถุนายนที่จังหวัดตาก ก่อนที่จะเร่งสรุป
ข้อมูลเสนอผู้บริหารร.ฟ.ท. กระทรวงคมนาคมและ
คณะรัฐมนตรี(ครม.)อนุมัติให้ดำ�เนินการ ตามลำ�ดับ
14
�������������������2.indd 14 17/12/2558 16:05:16
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
ศักยภาพของนครแม่สอด 15
โครงการ
ขุดเจาะอุโมงค์ถนนสายเอเชีย (นครแม่สอด-ตาก)
	 ดร.เทอดเกียรติ ชินสรนันท์ นายกเทศมนตรีนครแม่สอด เปิดเผย “ ฐานเศรษฐกิจ” ว่า ตนเองพร้อมคณะได้เดินทาง
เข้าพบผู้บริหารการทางพิเศษแห่งประเทศไทย(กทพ.) นำ�ข้อเสนอข้อมูลและเอกสาร เพื่อให้กทพ.พิจารณาส่งเจ้าหน้าที่ฝ่ายช่าง
วิศวกร มาสำ�รวจออกแบบโครงการก่อสร้างทางด่วน จากตากสู่เมืองพิเศษนครแม่สอด แบบตัดตรง มีสะพานบก ตัดผ่านภูเขา
เจาะอุโมงค์เป็นทางด่วนลอดภูเขา เพื่อให้เป็นเส้นทางด่วนแบบตัดตรง ซึ่งในส่วนของการทางพิเศษฯ พร้อมที่จะลงมาดำ�เนินการ
เมื่อภาครัฐและเอกชนในพื้นที่จังหวัดตากได้เสนอต่อรัฐบาล ซึ่งเส้นทางตาก-แม่สอดเดิม ทางโค้งคดเคี้ยวขึ้นลงเขา ระยะทาง 86
กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางมาก หากตัดเส้นทางตรงแบบทางด่วนพิเศษ จะลดระยะทางและเวลา รวมทั้งอุบัติเหตุบนเส้นทางลง
	 โครงการก่อสร้างเส้นทางด่วนพิเศษ จะดำ�เนินการควบคู่กับโครงการพัฒนาระบบเส้นทางคมนาคมอื่นๆ ทั้งเส้นทางรถไฟ
นครสวรรค์-กำ�แพงเพชรนครแม่สอด ถนน 4 เลน เส้นทางตากนครแม่สอด รวมทั้งการคมนาคมทางอากาศ การก่อสร้าง
สนามบินนครแม่สอด แห่งที่ 2
	 นายสมชัยฐ์ หทยะตันย์ติ ผู้ว่าราชการจังหวัดตาก เปิดเผยหลังเป็นประธานการประชุมคณะทำ�งานขับเคลื่อนนโยบาย
เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษแม่สอด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) รูปแบบพิเศษ “ นครแม่สอด” ด้านโครงสร้าง
พื้นฐาน ด่านศุลกากรและการพัฒนาเส้นทางคมนาคม รวมทั้งระบบโลจิสติกส์ เมื่อวันที่ 13 ตุลาคมที่ผ่านมา ว่าการประชุม
ครั้งนี้เพื่อหารือแนวทางการขุดเจาะอุโมงค์ ถนนสายตาก-แม่สอด เพื่อขับเคลื่อนนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษแม่สอดและ
เมืองพิเศษนครแม่สอด สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) บนระเบียงเส้นทางเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (EastWest
Economic Corridor: EWEC) โครงการก่อสร้างสนามบินนานาชาติแห่งที่ 2 โครงการเชื่อมเส้นทางรถไฟ สายนครสวรรค์-
กำ�แพงเพชร-สู่เมืองพิเศษนครแม่สอด การขุดอุโมงค์ลอดแม่น้ำ�เมย เชื่อมเมืองพิเศษนครแม่สอดกับจังหวัดเมียวดี ประเทศเมีย
นมาร์
	 โดยที่ประชุมเห็นด้วยกับการขุดเจาะอุโมงค์ แนวถนนสายตาก-แม่สอด รับ EWEC เพราะเป็นเรื่องที่ดีต่อระบบการ
ค้าและการขนส่ง โดยจะมีอุโมงค์ 4 แห่ง ตัดทะลุภูเขาระหว่างเส้นทาง เช่น ที่เขาดอยรวก ดอยคา ดอยมูเซอ ระยะทางอุโมงค์
ประมาณ 4.8-5 กิโลเมตร งบประมาณที่จะใช้ดำ�เนินการ 15,000 - 20,000 ล้านบาท ซึ่งจะลดระยะทางการเดินทางเหลือ
ไม่เกิน 70 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 50 นาที หรือไม่เกิน 1 ชั่วโมง นอกจากนี้ยังได้มีการเสนอสร้างเส้นทางด่วน
พิเศษ หรือมอเตอร์เวย์ของกทพ.ด้วย ซึ่งโครงการเมกะโปรเจ็กต์ สร้างเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและเมืองพิเศษนครแม่สอดนั้น
รัฐบาลพร้อมให้การสนับสนุนด้วยงบประมาณในการดำ�เนินการหลาย
หมื่นล้านบาท
	 ด้านนายอิสระ ว่องกุศลกิจ ประธานกรรมการหอการค้าไทย
และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า ตามที่คณะรักษาความ
สงบแห่งชาติ (คสช.) และรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายก
รัฐมนตรี มีนโยบายผลักดันให้อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก พัฒนาเป็น
เขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ตนมองว่า ใน
ปี 2558 ภาครัฐและภาคเอกชนมีความพร้อม โดยเฉพาะการทำ�เขต
เศรษฐกิจพิเศษแม่สอด ให้เป็นพื้นที่นำ�ร่องแห่งแรก จากโครงการใน
ระยะแรก 5 จังหวัด ทั้งนี้พบว่า แม่สอดมีการค้าชายแดนกับเมียนมาร์
และประเทศเกี่ยวเนื่อง ในปี 2556 สูงถึง 4.6 หมื่นล้านบาท และ ปี
2557 เพิ่มเป็น 5.5-6 หมื่นล้านบาท
�������������������2.indd 15 17/12/2558 16:05:16
สำ�หรับการเตรียมความพร้อม โดยเฉพาะโครงข่ายคมนาคม เป็นสิ่งจำ�เป็น ที่จะผลักดันเร่งด่วนคือถนนสายเมียวดี-กอ
กาเรก ที่อยู่ระหว่างก่อสร้าง หากแล้วเสร็จจะช่วยให้เพิ่มมูลค่าการค้าหลายเท่าตัวจากปัจจุบันที่สามารถ สร้างรายได้จากการค้า
สูงมากเป็นลำ�ดับต้นๆ ของประเทศ แม้เส้นทางเชื่อมโยงยังต้องสลับวันเว้นวัน และมีเส้นทางไม่สะดวกในการขนสินค้าไปยังท่าเรือที่
เมาะลำ�ไย เมาะละแหม่ง รวมทั้งการก่อสร้างถนน 4 ช่องจราจร เชื่อมโยงทั้งระบบ การขยายสนามบินแม่สอด ในปีงบประมาณ
2558 นอกจากนี้ยังจะผลักดันให้มีการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำ�เมยแห่งที่ 2 ที่กรมทางหลวงจัดสรรงบก่อสร้างไว้ปี 2559
อย่างไรก็ดีหากโครงข่ายจราจรรองรับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอดสมบูรณ์ ก็จะทำ�ให้การค้าชายแดนขยับขึ้นเป็นแสน
ล้านบาท ในช่วงเปิดประชา คมเศรษฐกิจอาเซียนหรือเออีซี ในปลายปี 2558 ที่จะถึงนี้แน่นอน		
	 ส่วนนายกิตติพันธ์ ปานจันทร์ ผู้อำ�นวยการ
สำ�นักงานทางหลวงตาก กรมทางหลวง กล่าวว่า
เมื่อรัฐบาลกำ�หนดให้อำ�เภอแม่สอด เป็นหนึ่งในแผน
พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ เนื่องจากความพร้อมและ
ศักยภาพด้านการค้าชายแดนกับประเทศเมียนมาร์ ที่
มีมูลค่าสูงที่สุดของประเทศ แต่เนื่องจากโครงข่าย
คมนาคมยังไม่สมบูรณ์ ดังนั้นเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจ
พิเศษ และเขตปกครองรูปแบบพิเศษที่จะเกิดขึ้น จึง
เร่งรัดโครงการให้แล้วเสร็จ ซึ่งถนนสายสำ�คัญที่เป็น
หัวใจสำ�คัญประกอบด้วย โครงการก่อสร้างถนนสาย
เมียวดี จากเมืองเมียวดีไปยังกอกาเรกระยะทาง 45
กิโลเมตร ขนาด 4 ช่องจราจร
	 ขณะนี้บริษัทสี่แสงการโยธา จำ�กัด (มหาชน) อยู่
ระหว่างก่อสร้าง คืบหน้าไปกว่า 80% คาดว่าจะแล้วเสร็จในเดือนเมษายน 2558 หากถนนสายนี้แล้วเสร็จ จะช่วยให้การขนส่ง
สินค้าจากอำ�เภอแม่สอด ประเทศไทย ที่ไปแวะพักบริเวณศูนย์วันสต็อปเซอร์วิส ของเขตเศรษฐกิจพิเศษเมียวดี สามารถขนส่งได้
ทุกวัน และช่วยให้การเดินทางสะดวกรวดเร็วขึ้น จากเดิมมีข้อจำ�กัดต้องใช้ขนส่งสินค้าวันเว้นวัน เพราะการเดินทางลำ�บากต้องขึ้น
เขาชัน และทางคดเคี้ยวเล็กคับแคบเสี่ยงต่ออันตราย ซึ่งปัจจุบันได้มีการตัดภูเขาตะนาวศรีเป็นทางราบเพื่อให้การเดินทางสะดวก
มาก ขึ้น
	 นอกจากนี้ยังมีแผนก่อสร้างโครง การสะพานมิตรภาพไทย-เมียนมาร์ แห่ง
	 ที่ 2 (สะพานข้ามแม่น้ำ�เมย2) งบประมาณก่อสร้าง 3,600 ล้านบาท งบเวนคืน 300 ล้านบาท โดยแนวสายทาง
80% จะอยู่ในเขตป่าตามมติคณะรัฐมนตรี ระยะทาง 21.4 กิโลเมตร ซึ่งจะอยู่ในฝั่งไทยถึงตำ�บลท่าสายลวด และตัวสะพานข้าม
แม่น้ำ�รวม 17.26 กิโลเมตร ส่วนอีก 4.14 กิโลเมตรจะอยู่ฝั่งเมียนมาร์ เมืองเมียวดี มีขนาด 4 ช่องจราจร จะเป็นทางยก
ระดับทั้งหมด โดยจะมีการเร่งรัดดำ�เนินการในปีงบ ประมาณ 2558 ใช้เวลาก่อสร้าง 3-5 ปี
	 โครงการก่อสร้างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 ขนาด 4 ช่องจราจร สายตาก-แม่สอด ตอนที่ 3 ระยะทาง 25
กิโลเมตร ขณะนี้ได้รับจัดสรรในงบประมาณปี 2558 และสายตาก-แม่สอด ตอนที่ 4 ระยะทาง 25 กิโลเมตร จะได้รับจัดสรร
งบประมาณกลางปี 2558 วงเงิน 1,400 ล้านบาท จะช่วยให้การเดินทางขนส่งสินค้าร่นระยะเวลาได้มาก โดยจะมีการขุดเจาะ
อุโมงค์ ถนนสายตาก-แม่สอด หรือถนนสายเอเซีย ระยะทาง 85 กิโลเมตร เพื่อสะดวกในการเดินทาง และเชื่อมต่อกับสะพานเมย
2 รวมถึงการก่อสร้างถนนสายตะวันออก-ตะวันตก หรือ อีสต์-เวสต์ อีโคโนมิก คอร์ริดอร์ เป็น 4 ช่องจราจร จากมุกดาหาร
มาที่แม่สอด ระยะทาง 770 กิโลเมตร ซึ่งขณะนี้ดำ�เนินการไปแล้ว 75% ให้แล้วเสร็จในปีงบ ประมาณ 2558
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
ศักยภาพของนครแม่สอด16
�������������������2.indd 16 17/12/2558 16:05:16
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
ศักยภาพของนครแม่สอด
โครงการปรับปรุงท่าอากาศยานแม่สอดแห่งที่ 1
17
�������������������2.indd 17 17/12/2558 16:05:17
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
ศักยภาพของนครแม่สอด
ขอบเขตงาน โครงการปรับปรุงขยายท่าอากาศยานแม่สอด
18
�������������������2.indd 18 17/12/2558 16:05:17
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
ศักยภาพของนครแม่สอด
นครแม่สอด...แหล่งแรงงานเข้มข้น
แรงงานเข้มข้น
W2. แรงงานพม่าที่เป็นแรงงานหลักในอุตสาหกรรมแม่สอดเป็นแรงงานไร้ทักษะ
	 แรงงานพม่าที่เข้ามาขายแรงงานในประเทศไทยมีจำ�นวนมาก โดยในช่วงปี 2555-2556 คนพม่าเดินทางเข้ามา
โดยใช้บัตรผ่านแดน (Boarder Pass) ประมาณ 500,000 คน และกว่าร้อยละ 90 มีจุดประสงคะเพื่อขายแรงงานใน
ประเทศไทย สำ�หรับแรงงานพม่าที่ผ่านการพิสูจน์สัญชาติ ที่ทำ�งานในอำ�เภอแม่สอดในปี 2556 มีถึง 17,910 คน ซึ่ง
มากที่สุดในทุกอำ�เภอในจังหวัดตาก แต่อย่างไรก็ตามข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึก หน่วยงานใต้สังกัดกระทรวง
แรงงานในพื้นที่อำ�เภอแม่สอดพบว่าแรงงานพม่าที่เข้ามาในประเทศไทยเป็นแรงงานไร้ฝีมือ (Non-Skill labor) และเข้ามา
เป็นแรงงานในอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้น (Labor lntensive) โดยส่วนมากแรงงานเหล่านี้ที่ทำ�งานในอำ�เภอแม่สอด
จะทำ�งานในอุตสาหกรรมเสื้อผ้าและเครื่องนุ่งห่มที่เป็นอุตสาหกรรมหลักในพื้นที่ ซึ่งแรงงานพม่ามีผลิตภาพแรงงานต่ำ�เมื่อ
เปรียบเทียบกับประเทศใน ASEAN ดังนั้นแรงงานในอำ�เภอแม่สอดส่วนมากเป็นแรงงานไร้ฝีมือ
19
�������������������2.indd 19 17/12/2558 16:05:18
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
ศักยภาพของนครแม่สอด
เป็นศูนย์กลางทางการค้าเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน
ความพร้อมของพื้นที่
02. เมียนมาร์เป็นช่องทางที่สำ�คัญในการกระจายสินค้าออกสู่ประเทศจีน อินเดีย
และบังกลาเทศ
	 เมียนมาร์ตั้งอยู่ท่ามกลางประเทศที่มีตลาดใหญ่เป็นลำ�ดับต้นๆ ของโลก ได้แก่ จีน อินเดีย และบังกลาเทศ (ดูราย
ละเอียดในแผนภาพที่ 5.3 ) โดยแต่ละประเทศนั้นมีจำ�นวนประชากรมากเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก โดยในปี 2556 จีน
อินเดีย และบังกลาเทศ มีจำ�นวนประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 1 อันดับที่ 2 และอันดับที่ 4 ของโลกตามลำ�ดับ6 (ln-
ternational Monetary Fund: IMF ข้อมูล ณ วันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2557) รวมทั้งเป็นประเทศที่มีอัตราการ
เพิ่มของประชากรสูง ดังนั้นจึงถือว่าเป็นจุดแข็งของเมียนมาร์ในการทำ�การค้ากับทั้ง 3 ประเทศ ดังกล่าว ซึ่งสอดคล้อง
กับผล SWOT Analysis ในงานศึกษาหลายชิ้น เช่น กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (2555) และมหาวิทยาลัย
หอการค้าไทย (2555) เป็นต้น
20
�������������������2.indd 20 17/12/2558 16:05:18
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
ศักยภาพของนครแม่สอด 21
�������������������2.indd 21 17/12/2558 16:05:18
22
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
ศักยภาพของนครแม่สอด
		พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี พอใจผลการ
ลงพื้นที่อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก เร่งผลักดันเขตเศรษฐกิจพิเศษภายในรัฐบาลนี้ แม่สอดถือว่า
มีศักยภาพสูง โดยต้องร่วมมือพัฒนากับเพื่อนบ้านสร้างการค้าที่ไร้พรมแดน เพิ่มมูลค่าการค้า
ชายแดนให้มากกว่า 1 แสนล้านบาท
พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี พอใจการลงพื้นที่ติดตาม
ความก้าวหน้าของการพัฒนาพื้นที่ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก เพราะมี
ความคืบหน้าในด้านต่างๆ พร้อมยืนยันว่าภายในปี 2559 หรือภายในรัฐบาล
นี้จะต้องให้เกิดผลเป็นรูปธรรม ทั้งนี้จะเร่งแก้ปัญหาที่มีทั้งหมดพร้อมทั้ง
พิจารณาเรื่องของสิทธิประโยชน์ด้านการลงทุนทั้งกับนักลงทุนในพื้นที่ และ
นักธุรกิจจากภายนอก เพื่อให้เกิดโครงการน�ำร่องให้มากที่สุด เพราะแม่สอด
ถือว่ามีศักยภาพสูง โดยต้องร่วมมือพัฒนากับ
เพื่อนบ้านสร้างการค้าที่ไร้พรมแดน เพิ่มมูลค่า
การค้าชายแดนให้มากกว่า 1 แสนล้านบาท สิ่ง
ส�ำคัญ คือ ต้องเตรียมความพร้อมสร้างความ
เข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ว่าจะได้รับประโยชน์
อย่างไร ด้านความร่วมมือระหว่างภาคเอกชน
กับทางจังหวัดในการขับเคลื่อนเขตเศรษฐกิจ
พิเศษนั้น นายกรัฐมนตรี พบกับผู้ว่าราชการ
จังหวัดเมียวดี และ ประธานหอการค้าเมียวดี
ที่มาให้การต้อนรับโดยนายกรัฐมนตรี ให้ค�ำมั่น
ว่า จะท�ำให้มูลค่าการค้าของทั้งสองประเทศ
เพิ่มขึ้นและ ให้ได้ผลประโยชน์ร่วมกัน
นายกฯหวังเขตศก.พิเศษตากเชื่อม ASEAN-EU
พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชานายกรัฐมนตรีเป็น
ประธานประชุมติดตามผลการด�ำเนินงาน เขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษตาก ระบุการที่เราจะสร้างบ้านแปลง
เมืองประเทศไทยกันใหม่ ทุกจังหวัด ทุกพื้นที่ต้อง
ท�ำยุทธศาสตร์ของประเทศไทยคือ มั่นคง มั่งคั่งและ
ยั่งยืน ตามหลักการวิสัยทัศน์ของตน และความมั่นคง
ต้องควบคู่ไปกับความมั่งคั่ง แล้วในวันหน้าจะยั่งยืน
หากท�ำจุดนี้ส�ำเร็จจะเป็นประตูไปสู่อันดามัน เชื่อมต่อ
เมียนมาไปอินเดีย ปากีสถาน อิหร่าน ตุรกี ยุโรป ซึ่ง
เป็นการเชื่อมต่ออาเซียนกับสหภาพยุโรป
เส้นทางสายเมียวดี - กอกะเร็กสามารถเดินทางต่อไปยังเมือง
ผาอัน เมืองหลวงของรัฐกะเหรี่ยง เมืองสะเทิมในรัฐมอญ และ
ไปถึงนครย่างกุ้งได้
รัฐบาลไทย ส่งมอบ เส้นทาง แม่สอด-เมียวดี-กอกาเร็ก พร้อม จัดพิธี
ปฐมฤกษ์สะพานมิตรภาพไทย-เมียนมา ข้ามแม่น�้ำเมย แห่งที่ 2 หลังจากมีการ
ลงนามความตกลงว่าด้วยการก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย-เมียนมา แห่งที่ 2
เส้นทางสายเมียวดี-กอกะเร็กเส้นตัดใหม่เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงสายเอเชีย
หมายเลข 1 หรือ AH-1 โตเกียว-อิสตันบุล ระยะทาง 20,921 กิโลเมตรเชื่อมเอเชีย
ตะวันออกถึงยุโรป ซึ่งรัฐบาลไทยรับผิดชอบก่อสร้างถนนในช่วงเชิงเขา ตะนาว
ศรี-กอกะเร็ก วงเงินค่าก่อสร้าง 1,320 ล้านบาททั้งนี้ นอกจากนี้รัฐบาลไทยยัง
ได้มีโครงการก่อสร้าง สะพานมิตรภาพไทย-เมียนมา ข้ามแม่น�้ำเมย(ตองยิน) แห่ง
ที่ 2 มีมูลค่าการก่อสร้างทั้งสิ้น 3,910 ล้านบาท การด�ำเนินการในโครงการดัง
กล่าว เพื่อเป็นการพัฒนาโครงข่ายทางหลวงรองรับการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ
ตะวันออก – ตะวันตก (East-West Economic Corridor) ที่จะเชื่อมโยงเส้น
ทางคมนาคม และขนส่งระหว่างประเทศไทยกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ใน
การรองรับปริมาณการเดินทาง และการขนส่งสินค้าที่เพิ่มมากขึ้น และสอดรับการ
พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ และท้องถิ่นรูปแบบพิเศษนครแม่สอด โครงการก่อสร้าง สะพานมิตรภาพ
ไทย-เมียนมา ข้ามแม่น�้ำเมยแห่งที่ 2
มีมูลค่าการก่อสร้างทั้งสิ้น 3,910 ล้านบาท
�������������������2.indd 22 17/12/2558 16:05:21
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน
เนื้องาน

More Related Content

What's hot

๑. ระเบียบว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้าง...
๑. ระเบียบว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้าง...๑. ระเบียบว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้าง...
๑. ระเบียบว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้าง...นายจักราวุธ คำทวี
 
พระราชบัญญัติองค์การมหาชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙
พระราชบัญญัติองค์การมหาชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙พระราชบัญญัติองค์การมหาชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙
พระราชบัญญัติองค์การมหาชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙Boonlert Aroonpiboon
 
พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556
พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556
พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556patinpromwanna
 
ราชบัณฑิตยสถานไม่มีอีกแล้ว เปลี่ยนเป็นราชบัณฑิตยสภาตามพระราชบัญญัติราชบัณฑิตย...
ราชบัณฑิตยสถานไม่มีอีกแล้ว เปลี่ยนเป็นราชบัณฑิตยสภาตามพระราชบัญญัติราชบัณฑิตย...ราชบัณฑิตยสถานไม่มีอีกแล้ว เปลี่ยนเป็นราชบัณฑิตยสภาตามพระราชบัญญัติราชบัณฑิตย...
ราชบัณฑิตยสถานไม่มีอีกแล้ว เปลี่ยนเป็นราชบัณฑิตยสภาตามพระราชบัญญัติราชบัณฑิตย...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
การประชาสัมพันธ์ส่วนบุคคล
การประชาสัมพันธ์ส่วนบุคคลการประชาสัมพันธ์ส่วนบุคคล
การประชาสัมพันธ์ส่วนบุคคลWiroj Suknongbueng
 

What's hot (7)

๑. ระเบียบว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้าง...
๑. ระเบียบว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้าง...๑. ระเบียบว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้าง...
๑. ระเบียบว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้าง...
 
แผนอัตรากำลัง 3 ปี ท่าวังตาล(2558 2560)
แผนอัตรากำลัง 3 ปี ท่าวังตาล(2558 2560)แผนอัตรากำลัง 3 ปี ท่าวังตาล(2558 2560)
แผนอัตรากำลัง 3 ปี ท่าวังตาล(2558 2560)
 
พระราชบัญญัติองค์การมหาชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙
พระราชบัญญัติองค์การมหาชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙พระราชบัญญัติองค์การมหาชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙
พระราชบัญญัติองค์การมหาชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙
 
T 0164
T 0164T 0164
T 0164
 
พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556
พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556
พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556
 
ราชบัณฑิตยสถานไม่มีอีกแล้ว เปลี่ยนเป็นราชบัณฑิตยสภาตามพระราชบัญญัติราชบัณฑิตย...
ราชบัณฑิตยสถานไม่มีอีกแล้ว เปลี่ยนเป็นราชบัณฑิตยสภาตามพระราชบัญญัติราชบัณฑิตย...ราชบัณฑิตยสถานไม่มีอีกแล้ว เปลี่ยนเป็นราชบัณฑิตยสภาตามพระราชบัญญัติราชบัณฑิตย...
ราชบัณฑิตยสถานไม่มีอีกแล้ว เปลี่ยนเป็นราชบัณฑิตยสภาตามพระราชบัญญัติราชบัณฑิตย...
 
การประชาสัมพันธ์ส่วนบุคคล
การประชาสัมพันธ์ส่วนบุคคลการประชาสัมพันธ์ส่วนบุคคล
การประชาสัมพันธ์ส่วนบุคคล
 

Similar to เนื้องาน

สรุป พระราชบัญญัติเขตพัฒนาเศรษฐกิจภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 (Eastern Economic Cor...
สรุป พระราชบัญญัติเขตพัฒนาเศรษฐกิจภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 (Eastern Economic Cor...สรุป พระราชบัญญัติเขตพัฒนาเศรษฐกิจภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 (Eastern Economic Cor...
สรุป พระราชบัญญัติเขตพัฒนาเศรษฐกิจภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 (Eastern Economic Cor...Thailand Board of Investment North America
 

Similar to เนื้องาน (7)

หัวข้อ 01
หัวข้อ 01หัวข้อ 01
หัวข้อ 01
 
หัวข้อ 10
หัวข้อ 10หัวข้อ 10
หัวข้อ 10
 
หัวข้อ 07
หัวข้อ 07หัวข้อ 07
หัวข้อ 07
 
หัวข้อ 02
หัวข้อ 02หัวข้อ 02
หัวข้อ 02
 
หัวข้อ 05
หัวข้อ 05หัวข้อ 05
หัวข้อ 05
 
สรุป พระราชบัญญัติเขตพัฒนาเศรษฐกิจภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 (Eastern Economic Cor...
สรุป พระราชบัญญัติเขตพัฒนาเศรษฐกิจภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 (Eastern Economic Cor...สรุป พระราชบัญญัติเขตพัฒนาเศรษฐกิจภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 (Eastern Economic Cor...
สรุป พระราชบัญญัติเขตพัฒนาเศรษฐกิจภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 (Eastern Economic Cor...
 
หัวข้อ 08
หัวข้อ 08หัวข้อ 08
หัวข้อ 08
 

More from nakornmaesot59

More from nakornmaesot59 (17)

หัวข้อ 06
หัวข้อ 06หัวข้อ 06
หัวข้อ 06
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
บทนำสารบัญ
บทนำสารบัญบทนำสารบัญ
บทนำสารบัญ
 
หัวข้อ 11
หัวข้อ 11หัวข้อ 11
หัวข้อ 11
 
หัวข้อ 14
หัวข้อ 14หัวข้อ 14
หัวข้อ 14
 
หัวข้อ 15
หัวข้อ 15หัวข้อ 15
หัวข้อ 15
 
หัวข้อ 13
หัวข้อ 13หัวข้อ 13
หัวข้อ 13
 
หัวข้อ 12
หัวข้อ 12หัวข้อ 12
หัวข้อ 12
 
หัวข้อ 17
หัวข้อ 17หัวข้อ 17
หัวข้อ 17
 
หัวข้อ 16
หัวข้อ 16หัวข้อ 16
หัวข้อ 16
 
หัวข้อ 19
หัวข้อ 19หัวข้อ 19
หัวข้อ 19
 
หัวข้อ 18
หัวข้อ 18หัวข้อ 18
หัวข้อ 18
 
หัวข้อ 20
หัวข้อ 20หัวข้อ 20
หัวข้อ 20
 
หัวข้อ 21
หัวข้อ 21หัวข้อ 21
หัวข้อ 21
 
หัวข้อ 04
หัวข้อ 04หัวข้อ 04
หัวข้อ 04
 
หัวข้อ 03
หัวข้อ 03หัวข้อ 03
หัวข้อ 03
 
หัวข้อ 09
หัวข้อ 09หัวข้อ 09
หัวข้อ 09
 

เนื้องาน

  • 1. 3 คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” ความเป็นมาในการจัดตั้งท้องถิ่นรูปแบบ พิเศษนครแม่สอด ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๗ ในการประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจร ที่อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก ได้ มีมติเห็นชอบแนวทางการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ในพื้นที่ ๓ อำ�เภอ ฝั่งตะวันตกของจังหวัดตาก ประกอบด้วย อำ�เภอ แม่สอด อำ�เภอแม่ระมาด และอำ�เภอพบพระ เพื่อรองรับการขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจ การค้าชายแดนการลงทุนในภาค อุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว และมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๓ เห็นชอบการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ อำ�เภอแม่สอด เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในปี ๒๕๕๘ เป็นประตูสู่อันดามันตามเส้นทาง ระเบียงเศรษฐกิจ East West Economic Corridor ต่อมาเมื่อวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๕๖ นายกรัฐมนตรีพร้อมคณะ ได้ เดินทางลงพื้นที่ตรวจราชการ อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตากได้ประกาศให้มีการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษแม่สอดเป็นแห่งแรก ของประเทศไทย และให้นครแม่สอดเป็นหนึ่งในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ที่จะมีการเสนอผ่านคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษ และเมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๕๖ ในการประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจร จังหวัดอุตรดิตถ์ ที่ประชุมมีมติเห็นชอบร่างระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. ..... ซึ่งต่อมานายก รัฐมนตรีได้ลงนามในระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖ และลงประกาศในราชกิจจา นุเบกษา เล่มที่ ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๘๗ ง ลงวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๖ เรียบร้อยแล้ว และได้มีการประชุมคณะกรรมการ นโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๕๖ ณ ทำ�เนียบรัฐบาล เพื่อติดตาม ความคืบหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษทวายและพื้นที่โครงการที่ เกี่ยวข้อง ระหว่างไทยและเมียนมาร์ ซึ่งได้กำ�หนดโครงการให้มีความ สำ�คัญเร่งด่วนที่จะดำ�เนินการให้แล้วเสร็จในปี ๒๕๕๘ และจะเป็นประตู เข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเฉพาะการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษแม่สอด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษนคร แม่สอด นครเกาะสมุย สุวรรณภูมิ และอื่นๆ ซึ่งประเทศชาติจะ ได้รับประโยชน์อย่างมหาศาล หากมีการยกฐานะและพัฒนาท้องถิ่นใน รูปแบบพิเศษให้สอดคล้องกับ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ เช่น นคร แม่สอด จะเกิดการค้า การลงทุนทั้งระดับท้องถิ่น และภาพรวมของ ประเทศมากขึ้น จะก่อให้เกิดรายได้ในมิติของการค้าการลงทุน การ ท่องเที่ยว เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ เพิ่มคุณภาพชีวิตและโอกาส ที่ดีให้ประชาชนในท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ มีการกระจายรายได้ไปสู่ประชาชนในทุกพื้นที่จากการจัดเก็บภาษีอากรพัฒนาท้องถิ่น รูปแบบพิเศษสร้างประโยชน์ให้ประเทศชาติทำ�ให้เกิดการพัฒนาในมิติต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ความเป็นมาในการจัดตั้งท้องถิ่นรูปแบบพิเศษนครแม่สอด �������������������2.indd 3 17/12/2558 16:05:02
  • 2. 4 คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” ความเป็นมาในการจัดตั้งท้องถิ่นรูปแบบพิเศษนครแม่สอด ประกอบกับคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) พร้อมทั้งหน่วย งานด้านเศรษฐกิจ การเงิน การธนาคารและการคลัง รวมทั้งภาคเอกชน ได้มี แนวทางการบริหารงาน หรือโรดแมป (Road map) โดยมีนโยบาย ที่ต้องทำ� ควบคู่ไปกับนโยบายเร่งด่วนในการส่งเสริมการค้าชายแดน ผ่านการจัดตั้งเขต เศรษฐกิจพิเศษด้วยศักยภาพความพร้อมของแม่สอด และจากผลการศึกษาวิจัย ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยราชภัฏ กำ�แพงเพชรแม่สอดซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ ได้มีความเห็นสอดคล้องกัน เนื่องจาก แม่สอดเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพและความพร้อมของเมืองสูงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การลงทุนภาคอุตสาหกรรม ภาคการเกษตร และการท่องเที่ยว โดยมีมูลค่าการ ค้าชายแดนด่านพรมแดนแม่สอด – เมียวดี มากกว่าปีละ ๔๐,๐๐๐ ล้านบาท เป็น ประตูสู่ยุโรปตามเส้นทาง EWECวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๕๖ และเป็นประธานการ ประชุม คณะรัฐมนตรีสัญจร ที่จังหวัดอุตรดิตถ์ เมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๕๖ ที่ประชุมมีมติเห็นชอบร่างระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. ..... โดยให้มีการจัดตั้งเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษแม่สอดเป็นแห่งแรกของประเทศไทย และให้นครแม่สอดเป็นหนึ่งใน เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษที่จะมีการเสนอผ่านคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ ซึ่งนายกรัฐมนตรี ได้มอบหมายให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ติดตาม โครงการพัฒนาพื้นที่อำ�เภอแม่สอดที่ต้องเร่งดำ�เนินการ เพื่อรองรับการจัดตั้งเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษแม่สอด ท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” และการนำ�เข้าสู่ ประชาคมอาเซียน (AEC) เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการดำ�เนินการให้เป็นไปตาม ระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. ... เมื่อมีผลบังคับ ใช้แล้วให้เป็นไปด้วยความถูกต้อง รวดเร็ว และเป็นรูปธรรม จึงเห็นควรที่จะเร่งดำ�เนินการ ออกกฎหมาย ร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ. ... ให้มีผล บังคับใช้โดยเร่งด่วน เนื่องจากเหตุผลและความจำ�เป็น ดังนี้ ๑. เป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๗๘(๓) บัญญัติให้รัฐ ต้องดำ�เนินการตามแนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน โดยเฉพาะนโยบายด้าน การกระจายอำ�นาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้สามารถพึ่งตนเองได้และตัดสินใจ ในกิจการของท้องถิ่นเองได้ รวมทั้งพัฒนาจังหวัดที่มีความพร้อมให้เป็นองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่ ประกอบกับ มาตรา ๒๘๙ วรรคเก้า ซึ่งบัญญัติให้จัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษที่มี โครงสร้างการบริหารที่แตกต่างจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วไปได้ภายใต้เงื่อนไขที่ว่าคณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้อง ถิ่นต้องมาจากการเลือกตั้ง จึงสมควรสนับสนุนให้พื้นที่ในส่วนของเทศบาล นครแม่สอดและเทศบาลท่าสายลวด จังหวัดตาก ซึ่ง มีศักยภาพในการเป็นประตูเศรษฐกิจที่จะเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน และสามารถพัฒนาให้เป็นฐานในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุนที่สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ ได้จัดตั้งขึ้นเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ เพื่อให้ สามารถจัดบริการสาธารณะที่มีคุณภาพแก่ประชาชนและรองรับการเจริญเติบโตของพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒. รัฐบาลมีนโยบายจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษขึ้นเพื่อส่งเสริมการค้าและการลงทุนของประเทศ โดยใช้ประโยชน์ จากความเชื่อมโยงด้านคมนาคมขนส่งของภูมิภาคอาเซียนและข้อตกลงการค้าเสรีภายใต้กรอบอาเซียน และนโยบายสนับสนุนการ ดำ�เนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีระบบที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และสามารถให้บริการสาธารณะตอบสนองความ ต้องการของประชาชนได้ตามความคาดหวัง ประกอบกับ ายกรัฐมนตรี ประกาศอย่างชัดเจนว่าจะจัดตั้งเขตพิเศษ โดยให้นคร แม่สอดเป็นแห่งแรกที่จะจัดตั้งเป็นเขตเศรษฐกิจแม่สอด อีกทั้งกระทรวงมหาดไทย พิจารณาแล้วเห็นว่า ร่างระเบียบสำ�นักนายก รัฐมนตรี ว่าด้วยเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. ... �������������������2.indd 4 17/12/2558 16:05:02
  • 3. คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” มีเนื้อหาในการส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีศักยภาพสามารถพัฒนาพื้นที่ ของตนขึ้นเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษที่มีระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน และภาพวดล้อม ที่เหมาะสม และจำ�เป็นต่อการรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจอันเนื่องจากการค้าบริเวณพรมแดนและการค้าเสรีภายใต้กรอบ อาเซียนได้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการการพัฒนายั่งยืนและหลัก การมีส่วนร่วมของประชาชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม จึงเห็นควรให้ความเห็นชอบใน หลักการ ดังนั้น เพื่อให้การดำ�เนินการตามนโยบายดังกล่าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงมีความจำ�เป็นต้องมีกลไกลขับเคลื่อน การส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีศักยภาพโดยเฉพาะการปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ“นครแม่สอด” สามารถพัฒนาพื้นที่ขึ้นเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษที่มีระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน และ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมจำ�เป็นต่อการรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ อันเนื่องมาจากการค้าบริเวณพรมแดนและการค้าเสรี ได้กรอบอาเซียน ๓. ระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. ...กำ�หนดบทนิยามคำ�ว่า “เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ”หมายความว่า พื้นที่ทั้งหมดหรือบางส่วนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหนึ่งหรือหลายแห่งที่ได้รับ สนับสนุนจากรัฐในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำ�เป็นต่อการค้าสินค้าหรือบริการ หรือการลงทุนเพื่อรองรับการขยายตัวทาง เศรษฐกิจอันเนื่องมาจากการค้าบริเวณพรมแดนและการค้าเสรีภายใต้กรอบอาเซียน รวมทั้ง การพัฒนาระบบการให้บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จที่สอดคล้องกับระบบ ASEAN Single Window สภาพพื้นที่ของเทศบาลนครแม่สอดในปัจจุบัน ไม่มีพื้นที่ติดต่อบริเวณพรมแดน จึงจำ�เป็นต้องจัดตั้งนครแม่สอดขึ้นเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มีเขตพื้นที่ครอบคลุม พื้นที่ของเทศบาลนครแม่สอดและเทศบาลตำ�บลท่าสายลวด ตามร่างพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ. . ความเป็นมาในการจัดตั้งท้องถิ่นรูปแบบพิเศษนครแม่สอด 5 �������������������2.indd 5 17/12/2558 16:05:03
  • 4. 6 คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” ศักยภาพของนครแม่สอด ศักยภาพของนครแม่สอด มูลค่าการนำ�เข้า/ ส่งออกสินค้า เส้นทางโลจิสติกส์ แรงงานเข้มข้น ความพร้อม ของพื้นที่ www.themegallery.com EASTWESTECONOMICSCORRIDOR จุดเด่นของพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษตาก จังหวัดตาก มีพื้นที่ชายแดนติดประเทศเมียนมาร์ยาวประมาณ 540 กิโลเมตร โดยด่านการค้าหลักอยู่ระหว่างชายแดน อำ�เภอแม่สอด และจังหวัดเมียวดี นับตั้งแต่เมียนมาเริ่มพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ในปี พ.ศ. 2554 ประเทศไทยจึงมีโอกาส อย่างสูงในการเข้าไปเพื่อลงทุนหรือขยายธุรกิจการค้าระหว่างประเทศและการค้าชายแดนให้มากขึ้นหลายเท่าตัว ด้วยศักยภาพและความพร้อมของจังหวัดตาก ทั้งด้านเศรษฐกิจ การลงทุนภาคอุตสาหกรรม ภาคการเกษตร และ ภาคการท่องเที่ยว และได้รับการสนับสนุนจากทุกภาคส่วนในพื้นที่ร่วมกันผลักดันอย่างต่อเนื่อง โดยพื้นที่ชายแดนจังหวัดตาก สามารถเชื่อมโยงกับเขตการค้าเมียวดี (Myawady Trade Zone) ของประเทศเมียนมา มีพื้นที่ตั้งอยู่ปลายแนวเชื่อมโยงทาง เศรษฐกิจ (East-Weast Economic Corridor: EWEC ) เป็นจุดตัดระหว่างแนวทางการเชื่อมโยงเศรษฐกิจ Nouth South Eco- nomic Corridor ( NSEC ) มีโครงข่ายการคมนาคมทางบกที่สนับสนุนการขนส่งทั้งผู้โดยสารและสินค้า มีสนามบินพาณิยช์ เป็น แหล่งผลิตทางการเกษตรและแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่มีความโดดเด่นเฉพาะตัว ตลอดจนประตูสู่อันดามัน รวมทั้งกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาพื้นที่แม่สอด เช่น กรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคลุ่ม แม่น้ำ�โขง กรอบความร่วมมือ อิระวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง และกรอบยุทธศาสตร์ BIMSTEC รวมถึงสามารถเชื่อมโยงกับเส้นทางการ ค้าขายเป็นประตูสู่ยุโรปได้ ประกอบกับมีมูลค่าการค้าขายชายแดน ปีละกว่า 60,000 ล้านบาท และคาดว่าในปี 2558 ในการ เข้าสู่ประชาคมอาเซียน จะเพิ่มมูลค่าการค้าขายชายแดนกว่า 100,000 ล้านบาท มีฐานการลงทุนเดิมในพื้นที่ เป็นอุตสาหกรรม ที่ใช้แรงงานเข็มข้น เช่น อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม มีพื้นที่ชายแดนติดกับจังหวัดเมียวดีทำ�ให้สามารถใช้ประโยชน์จาก แรงงานต่างด้าวที่เดินทางไปกลับได้ นอกจากนี้ยังมีกลุ่มนักธุรกิจ นักลงทุน ทั้งในและต่างประเทศ เช่น จีน มาเลเซีย เกาหลีใต้ เวียดนาม ต่างสนใจมาลงทุนในพื้นที่ ทั้งด้านการค้าขาย ด้านอุตสาหกรรม ด้านการท่องเที่ยว ด้านการค้าอัญมณี ด้านการเกษตร กรรม พื้นที่ชายแดนจังหวัดตากจึงมีศักยภาพและความพร้อมของพื้นที่จึงส่งผลให้จังหวัดตากเป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์ทั้งในเชิง ความมั่นคง เศรษฐกิจแหล่งทรัพยากร และจุดเชื่อมโยงไปยังภูมิภาคอื่น มีศักยภาพสูงต่อการส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาไปสู่ความ เป็นศูนย์กลางทางการค้าและเศรษฐกิจชายแดนฝั่งตะวันตกของประเทศไทย �������������������2.indd 6 17/12/2558 16:05:08
  • 5. 7 คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” ศักยภาพของนครแม่สอด มูลค่าการนำ�เข้า/ส่งออกสินค้า มูลค่าการนำ�เข้า ด่านศุลกากรแม่สอด ปีงบประมาณ 2558 ( 1 ตุลาคม 2557-31พฤษภาคม 2558 ) มูลค่านำ�เข้า 2,594.76 ล้านบาท เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาในช่วงเดียวกัน ซึ่งมีมูลค่า 2,387.09 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.70 มูลค่าการค้ารวม 45,275.5 ล้านบาท เพิ่มขึ้น ร้อยละ 17.18 มูลค่าการส่งออก ด่านศุลกากรแม่สอด ปีงบประมาณ 2558 ( 1 ตุลาคม 2557-31พฤษภาคม 2558 ) มูลค่านำ�เข้า 42,680.731 ล้านบาท เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาในช่วงเดียวกัน ซึ่งมีมูลค่า 36,248.664 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.74 �������������������2.indd 7 17/12/2558 16:05:09
  • 6. คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” ศักยภาพของนครแม่สอด สถิติส่งออกสินค้าถ่ายลํา/ผ่านแดน ด่านศุลกากรแม่สอด ปีงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 - พฤษภาคม 2558) ปริมาณ หน่วย นํ�าหนัก (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) รถยนต์ 18,734 คัน - 1,375.19 จักรยาน 283,441 คัน - 147.86 รถจักรยานยนต์ 7,397 คัน - 1,272,52 หมาก 342,136 กระสอบ 26,599.47 1,160.35 สถิติส่งออกสินค้าถ่ายลํา/ผ่านแดน ด่านศุลกากรแม่สอด ปีงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 - พฤษภาคม 2558) สินค้าเก่าจากญี�ปุ่น นํ�าหนัก (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) เครื�องใช้ในครัวเรือน เครื�องใช้ไฟฟ้ าเก่าใช้แล้ว, 3,754.08 155.736 เสื�อผ้าเก่าใช้แล้ว 432.398 13.851 ถังแก๊สเปล่าใช้แล้ว 232.292 5.565 อุปกรณ์ใช้ในโรงพยาบาลเก่าใช้แล้ว (เตียง เก้าอี� ฯลฯ จํานวน 12,123 ชิ�น) 226.689 6.335 4,645.46 181.489 8 �������������������2.indd 8 17/12/2558 16:05:10
  • 7. คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” ศักยภาพของนครแม่สอด ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ ประเด็น รายละเอียด / ข้อเสนอ ๑. ขอระงับการบังคับใช้ผังเมืองรวม (ฉบับใหม่) ที่จะประกาศใช้ในพื้นที่เขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ๑๔ ตาบล มอบหมายให้จังหวัดตากมีหน้าที่ในการ จัดทาผังเมืองในพื้นที่ เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษตาก ๑๔ ตาบล ๒. การใช้ประโยชน์ที่ดินในเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ในพื้นที่ สหกรณ์นิคมสปก., นสร., ป่ามติ ครม., สทก., ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ และอื่นๆ ข้อเสนอ : เห็นควรพิจารณาใช้มาตรา ๔๔ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับ ชั่วคราว) พ.ศ. ๒๕๕๗ บังคับใช้ ดังนี้ (1) จัดทาผังเมืองรวมเฉพาะเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก รวม 14 ตาบล (2) ยกเลิกการบังคับใช้กฎหมายปฏิรูปที่ดินในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตาก (3) ให้หัวหน้าคณะทางานขับเคลื่อนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ระดับ ตาบลทั้ง 14 ตาบลเป็นคณะทางานสารวจรังวัดที่ดินเพื่อออกเอกสารสิทธิ์ (โฉนด) โดยมอบให้ จังหวัดเป็นเจ้าภาพดาเนินการ ข้อเสนอ : เห็นควรพิจารณาใช้มาตรา ๔๔ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับ ชั่วคราว) พ.ศ. ๒๕๕๗ ดังนี้ (๑) สหกรณ์นิคม - ยกเลิกประกาศป่าทับที่สหกรณ์นิคม - เพิ่มวัตถุประสงค์ในการใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์นิคมซึ่งเป็นประชาชนในพื้นที่ได้มี โอกาสนาที่ดินในการรวมกลุ่มกันให้นักลงทุนเช่า หรือให้ สมาชิกเข้าไปเป็นหุ้นส่วนกับการลงทุนในพื้นที่โดยวิธีอื่นๆ ซึ่งจะทาให้คนในพื้นที่ได้รับโอกาสในการพัฒนาพื้นที่เขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตากควบคู่กับนักลงทุนภายนอก (๒) ป่ามติ ครม. - ยกเลิกประกาศป่ามติ ครม. /ที่ราชพัสดุ ชดเชยค่าเวนคืนที่ดินให้ ประชาชนที่ครอบครองพื้นที่ดังกล่าวอย่าง เป็นธรรม - สทก. (สิทธิทากิน) ที่ป่าไม้สารวจแล้วให้เพิกถอนออกเอกสารสิทธิ์ ที่ดินทากินให้ประชาชนที่ครอบครองได้ - ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ ตาบลแม่กุ, ตาบลแม่ตาว (1) ให้สามารถออกเอกสารสิทธิ์ที่ดินทากินให้ประชาชน ครอบครองได้ 9 �������������������2.indd 9 17/12/2558 16:05:10
  • 8. คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” ศักยภาพของนครแม่สอด ประเด็น รายละเอียด / ข้อเสนอ (2) จ่ายค่าเช่าพื้นที่ที่ประชาชนครอบครอง กรณีมีการก่อสร้าง อุตสาหกรรม และสถานที่ราชการ อย่างเป็นธรรม (3) ชดเชยค่าเวนคืนที่ดินให้ประชาชนที่ครอบครองพื้นที่ดังกล่าว อย่างเป็นธรรม (๓) ที่ดินประเภท สปก. นสร. และอื่นๆ ที่รัฐบาลเห็นว่าเหมาะสม ให้สามารถออกเอกสารสิทธิ์ที่ดินทากินให้ประชาชนที่ครอบครองได้ และผลที่คาด ว่าจะได้รับ มีดังต่อไปนี้ (3.1) รัฐจะได้รับค่าธรรมเนียมจากการออกเอกสารสิทธิ์จากเจ้าของที่ดินเดิมทั้งหมด 391,392 ไร่ฯ ละ 1,000 บาท (3.2) จะมีรายได้ค่าธรรมเนียมในการซื้อ - ขาย โอน, จานอง และทาธุรกรรมต่างๆ (3.3) ไม่มีผลกระทบต่อประชาชนที่ครอบครองที่ดินเดิม (3.4) ตรงกับความต้องการของนักลงทุนที่มีความประสงค์จะซื้อที่ดินเพื่อการลงทุน (3.5) ทาให้เกิดกระบวนการซื้อขายที่ดินและทาธุรกรรมต่างๆ อย่างถูกต้องตาม กฎหมาย (3.6) ทาให้การวางผังเมืองในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก เป็นไปตาม ศักยภาพของพื้นที่ (3.7) ทาให้เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ประสบความสาเร็จตามนโยบายของ คสช. ๓. การจัดเก็บค่าธรรมเนียม แรงงาน ต่างด้าว ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก “สหกรณ์แรงงานอาเซียน” ตามดาริของ พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ในการ ประชุมตรวจเยี่ยมพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก เมื่อวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมอาคารเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ชั้น ๔ ได้มีดาริในประเด็นสนับสนุนให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สมควรได้รับส่วนแบ่งการจัดเก็บค่าธรรมเนียมแรงงานต่างด้าว ใน เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษตาก เนื่องจากเกิดผลกระทบเกี่ยวกับภาระค่าใช้จ่ายของ อปท.ที่ ต้องใช้ เพื่อควบคุมและดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการกระทาของคนต่างด้าวที่อาศัยอยู่ ในเขต อปท. เช่น ค่ากาจัดขยะ การบาบัดน้าเสีย หรือการแก้ไขปัญหาชุมชนแออัด เป็นต้น ข้อเสนอ : เห็นควรพิจารณาให้ อปท.ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ได้รับส่วนแบ่งการ จัดเก็บค่าธรรมเนียมแรงงานต่างด้าวในพื้นที่ และร่วมเป็นคณะกรรมการด้านแรงงานในเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก 10 �������������������2.indd 10 17/12/2558 16:05:10
  • 9. คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” ศักยภาพของนครแม่สอด ประเด็น รายละเอียด / ข้อเสนอ ๔. โครงการแม่ละเมา (โครงการ เพิ่ม น้าให้อ่างเก็บน้าเขื่อนภูมิพล ระยะที่ 1) โครงการเพิ่มน้าในอ่างเก็บน้าเขื่อนภูมิพล กฟผ.ได้ด้าเนินโครงการศึกษาตามมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๓๕ เพื่อน้าไปใช้เป็นมาตรการแก้ไขปัญหาการขาด แคลนน้าระยะยาว สามารถส่งน้าไปใช้เพื่อการอุปโภค บริโภค และพืนที่เกษตรกรรมท้าย เขื่อนในฤดูแล้งได้ประมาณ ๒๐,๐๐๐ ไร่ ส้าหรับปริมาณน้าที่ผันมายังเขื่อนภูมิพลนันสามารถ น้าไปใช้เพื่อการอุปโภคและบริโภค อุตสาหกรรมหรือเกษตรกรรมด้านท้ายน้าของเขื่อนภูมิพล ได้ตามความเหมาะสมและสามารถน้ามาผลิตกระแสไฟฟ้าเป็นผลพลอยได้อีกด้วย ข้อเสนอ : เพื่อเป็นทางเลือกในการแก้ไขปัญหาวิกฤตการณ์ขาดแคลนน้าใน ระยะยาว เห็นควรพิจารณาผลักดันโครงการแม่ละเมา (โครงการเพิ่มน้าให้ อ่างเก็บน้าเขื่อนภูมิพล ระยะที่ ๑) ให้เกิดขึนอย่างเป็นรูปธรรมต่อไป ๕.โครงสร้างการบริหารเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษตาก ๑๔ ต้าบล (ผู้ว่าราชการจังหวัด+ส่วนราชการ+ ภาคเอกชน+ท้องถิ่น) ข้อเสนอ : เห็นควรพิจารณามอบอ้านาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือรูปแบบ คณะกรรมการหรือหัวหน้าส่วนราชการ มีอ้านาจในการอนุมัติ อนุญาตการพิจารณาหรือการ ปฏิบัติใดๆ ตามที่ก้าหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกา ทัง ๒๐ ฉบับ ได้แก่ กฎหมายว่าด้วยการ ส่งเสริมการลงทุน ว่าด้วยการท้างานของคนต่างด้าว ,ว่าด้วยการประกอบธุรกิจน้าเที่ยวและ มัคคุเทศก์ ,ว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ,ว่าด้วยผังเมือง ,ว่าด้วยโรงงาน , ว่าด้วยการจราจรทางบก ,ว่าด้วยการเวนคืนที่ดิน ,ว่าด้วยประมวลกฎหมายที่ดิน , ว่าด้วย การบินพลเรือน ,ว่าด้วยด่านศุลกากร,ว่าด้วยกรมทางหลวง ,ว่าด้วยการทางพิเศษ .ว่าด้วยป่า ไม้ ,ว่าด้วยการปฏิรูปที่ดิน (สปก.) ,ว่าด้วยการนิคมสหกรณ์การเกษตร ,ว่าด้วยนิคม อุตสาหกรรม ,ว่าด้วยตรวจคนเข้าเมือง เป็นต้น รายได้ - ภาษี, อากร, ที่จัดเก็บในพืนที่ โดยจัดแบ่งตามที่รัฐบาลก้าหนด - แผนปฏิบัติการพัฒนา SEZ ตากในรูปแบบเป็นงบประมาณอุดหนุนจาก รัฐบาล - อื่นๆ ตามที่รัฐบาลก้าหนด ก้ากับดูแล - กนพ. โดยนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน หมายเหตุ : แผนงานโครงการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ระดับต้าบล ทัง 14 ต้าบล ให้ คณะท้างานขับเคลื่อนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ระดับต้าบลแต่ละต้าบล น้าส่งผ่าน อ้าเภอ/จังหวัด ต่อไป 11 �������������������2.indd 11 17/12/2558 16:05:10
  • 10. คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” ศักยภาพของนครแม่สอด แม่สอดเป็นศูนย์กลางของระบบโลจิสติกส์ที่เชื่อม โยง ไปสู่ภูมิภาคต่างๆ ด่านแม่สอดเป็นศักยภาพในการกระจายสินค้า แปรรูปของไทยและนำ�เข้าวัตถุดิบอุตสาหกรรม เพื่อแปรรูปสร้างมูลค่าเพิ่ม เชี่อมโยงไปยังย่างกุ้งศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของ เมียนมาร์ได้สะดวก เป็นอุปทานแรงงานพม่า ความต้องการสินค้าของเมียนมาร์มีแนวโน้มเพิ่ม สูงขึ้น เปิดโอกาสให้ขยายตลาดสินค้าไทยเมียมาร์ เมียนมาร์เป็นช่องทางที่สำ�คัญในการกระจาย สินค้าออกสู่ประเทศจีน อินเดีย และบังกลาเทศ การปฏิรูปการเมืองทำ�ให้เมียนมาร์เปิดประเทศ มากขึ้น เพิ่มโอกาสในการพัฒนาเศรษฐกิจร่วม กันระหว่างไทย-เมียนมาร์ พื้นที่แม่สอดเป็นเขตป่าทำ�ให้พื้นที่ใช้ประโยชน์ได อย่างจำ�กัด เสถียรภาพทางการเมืองเมียนมาร์ไม่ลงตัว ทำ�ให้ การดำ�เนินนโยบายการพัฒนาในระดับพื้นที่ไม่ ชัดเจน ระเบียบการค้าชายแดนไม่เอื้ออำ�นวยการค้า ชายแดนในอนาคต นโยบายการพัฒนาระบบโครงสร้างถนนของฝั่ง เมียนมาร์ยังไม่เสร็จสมบูรณ์ ระบบโครงสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐานในแม่สอดมี จำ�กัด แรงงานพม่าที่เป็นแรงงานหลักในอุตสาหกรรม แม่สอดเป็นแรงงานไร้ทักษะ อุตสาหกรรมในแม่สอดมีผลิตภาพแรงงานต่ำ� ขาดเอกภาพในการบริหารจัดการปัญหาและขาด การประสานความร่วมมือของหน่วยงานต่างๆ ใน พื้นที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องรับภาระการจัดการ ส่งธารณะมากกว่าปกติอันเนื่องมาจากจำ�นวน แรงงานข้ามชาติที่เข้ามาทำ�งานในแม่สอด โอกาส (Opportunities: O) จุดแข็ง (Strengths: S) จุดอ่อน (Weaknesses: W) ข้อจำ�กัด (Threats: T) S2. W1. W2. W3. W4. W5. S1. S3. S4. O1. T1. T2. T3. T4. O2. O3. การวิเคราะห์ SWOT ANALYSIS 12 �������������������2.indd 12 17/12/2558 16:05:10
  • 11. คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” ศักยภาพของนครแม่สอด 13 เส้นทางโลจิสติกส์ S1. เป็นศูนย์กลางของระบบโลจิสติกส์ที่เชื่อมโยงไปสู่ภูมิภาคต่างๆ อำ�เภอแม่สอดตั้งอยู่เส้นทางที่สำ�คัญ 2 เส้นทาง ได้แก่ เส้นทาง เชื่อมโยงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก หรือ เส้นทางระเบียงเศรษฐกิจแนว ตะวันออก-ตะวันตก (East-Weast Economic Corridor: EWEC) ที่เชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรอินเดียทางตะวันตกและมหาสมุทรแปซิฟิกทาง ตะวันออกและ เส้นทางหลวงสายเอเชียสาย1 (Asian Highway: AH1) ที่เป็นเส้นทางเชื่อมระหว่างทวีปเอเชียกับยุโรป �������������������2.indd 13 17/12/2558 16:05:16
  • 12. คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” ศักยภาพของนครแม่สอด รถไฟทางคู่ เส้นทาง นครสวรรค์-กำ�แพงเพชร-ตาก-แม่สอด ร.ฟ.ท.เปิดแนวเส้นทางใหม่เชื่อมโยงโลจิสติกส์ขนส่งสินค้าและผู้โดยสารรับแผนการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด ด้วยรถไฟทางคู่ เส้นทางนครสวรรค์–กำ�แพงเพชร–ตาก–แม่สอด ระยะทางกว่า 256 กิโลเมตร ปลายเดือนมิถุนายนเริ่ม กระบวนการเปิดรับฟังความเห็นประชาชนในพื้นที่ แบ่ง 2 ช่วงดำ�เนินการยื่นขออีไอเอปี 59 นี้ แหล่งข่าวระดับสูงจากการรถไฟแห่งประเทศไทย(ร.ฟ.ท.) เปิดเผย “ฐานเศรษฐกิจ” ว่า จากการที่รัฐบาลดำ�เนินนโยบาย เปิดเขตเศรษฐกิจพิเศษ โดยเฉพาะพื้นที่อำ�เภอสอด จังหวัดตาก ให้เกิดขึ้นก่อน เพื่อให้สอดรับแผนดังกล่าว ร.ฟ.ท.เตรียม เพิ่มประสิทธิภาพการคมนาคมขนส่งและเชื่อมโยงพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ โดยว่าจ้างกลุ่มบริษัทที่ปรึกษาศึกษาความเหมาะสม โครงการก่อสร้างทางรถไฟสายนครสวรรค์–กำ�แพงเพชร–ตาก–แม่สอด “เนื่องจากจังหวัดตากและจังหวัด กำ�แพงเพชรยังไม่มีเส้นทางรถไฟผ่านซึ่งหากมีการพัฒนาโครงข่ายทางรถไฟใน พื้นที่ดังกล่าวจะเกิดผลดีต่อการเดินทางและขนส่งสินค้าไปยังอำ�เภอแม่สอดหรือ บริเวณใกล้เคียงให้มีความสะดวกประหยัดและ ปลอดภัยทั้งยังเป็นกำ�ลังสำ�คัญในการ ส่งเสริมการพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอดให้ประสบผลสำ�เร็จ” สำ�หรับโครงการก่อสร้างทางรถไฟสายนครสวรรค์–กำ�แพงเพชร–ตาก–แม่สอด แบ่งเป็น 2 ช่วงคือช่วงแรกมีระยะ ทาง 187.9 กิโลเมตรผ่านพื้นที่ 3 จังหวัด 10 อำ�เภอ มีจำ�นวน 24 สถานี จุดเริ่มต้นจากสถานีนครสวรรค์ ผ่าน อำ�เภอเมืองนครสวรรค์ อำ�เภอ เก้าเลี้ยว อำ�เภอบรรพตพิสัย เข้าสู่จังหวัดกำ�แพงเพชร ผ่านอำ�เภอขาณุวรลักษบุรี อำ�เภอ คลองขลุง อำ�เภอเมือง อำ�เภอพรานกระต่าย อำ�เภอโกสัมพีนคร เข้าสู่พื้นที่จังหวัดตาก ผ่านอำ�เภอวังเจ้า สิ้นสุดเส้นทางช่วง ที่ 1 ที่อำ�เภอเมืองตาก และช่วงที่ 2 ระยะทาง 68.5 กิโลเมตร จำ�นวน 5 สถานี ผ่านพื้นที่ 1 จังหวัด 2 อำ�เภอ เริ่ม ต้นจากจังหวัดตาก ผ่านอำ�เภอเมืองตากมุ่งหน้าไปทางทิศตะวันตก สิ้นสุดที่อำ�เภอแม่สอด ในส่วนรูปแบบแนวเส้นทางมีทั้งทาง ระดับพื้นสะพานยกระดับสะพานขนาดเล็กอุโมงค์ แหล่งข่าวกล่าวต่อไปว่าคาดปี 2559 จะยื่นขอรับรองผลกระทบสิ่งแวดล้อม(อีไอเอ) ก่อนขออนุมัติสำ�รวจออกแบบที่ จะใช้งบปี 2559 หรืองบปี 2560 กว่า 100 ล้านบาทเข้าไปดำ�เนินการ คาดว่าจะใช้งบก่อสร้างประมาณ 9.5 หมื่น ล้าน โดยประโยชน์ของโครงการจะเพิ่มทางเลือกใหม่ในการเดินทางและการขนส่ง สินค้าด้วยการเชื่อมต่อโครงข่ายทางรถไฟจาก สถานีรถไฟนครสวรรค์ไปสู่จังหวัด กำ�แพงเพชรและจังหวัดตากซึ่งปัจจุบันยังไม่มีเส้นทางรถไฟผ่านนอกจากนั้นยัง เป็นการ ส่งเสริมเศรษฐกิจการค้าการจ้างงานและการท่องเที่ยวทั้งยังช่วยกระจาย ความเจริญไปยังพื้นที่ที่แนวเส้นทางผ่านทำ�ให้ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น อีกทั้งยังช่วยประหยัดพลังงานเชื้อเพลิงภาคการขนส่งของประเทศจึงเป็นการ ประหยัดค่าใช้ จ่ายในการขนส่งสินค้า ทั้งนี้ร.ฟ.ท.ได้แนะนำ�โครงการและรับฟังความ คิดเห็น/ข้อเสนอแนะจากผู้บริหารระดับจังหวัดไปเมื่อ วันที่ 10-11 มีนาคม 2558 พร้อมกับจัดประชุม กลุ่มย่อยระดับอำ�เภอไปเมื่อวันที่ 26-28 พฤษภาคม 2558 และกำ�หนดเปิดรับฟังความเห็นประชาชน จำ�นวนอีก 3 ครั้งคือวันที่ 24 มิถุนายนนี้ที่จังหวัด นครสวรรค์ วันที่ 25 มิถุนายนที่จังหวัดกำ�แพงเพชร และวันที่ 26 มิถุนายนที่จังหวัดตาก ก่อนที่จะเร่งสรุป ข้อมูลเสนอผู้บริหารร.ฟ.ท. กระทรวงคมนาคมและ คณะรัฐมนตรี(ครม.)อนุมัติให้ดำ�เนินการ ตามลำ�ดับ 14 �������������������2.indd 14 17/12/2558 16:05:16
  • 13. คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” ศักยภาพของนครแม่สอด 15 โครงการ ขุดเจาะอุโมงค์ถนนสายเอเชีย (นครแม่สอด-ตาก) ดร.เทอดเกียรติ ชินสรนันท์ นายกเทศมนตรีนครแม่สอด เปิดเผย “ ฐานเศรษฐกิจ” ว่า ตนเองพร้อมคณะได้เดินทาง เข้าพบผู้บริหารการทางพิเศษแห่งประเทศไทย(กทพ.) นำ�ข้อเสนอข้อมูลและเอกสาร เพื่อให้กทพ.พิจารณาส่งเจ้าหน้าที่ฝ่ายช่าง วิศวกร มาสำ�รวจออกแบบโครงการก่อสร้างทางด่วน จากตากสู่เมืองพิเศษนครแม่สอด แบบตัดตรง มีสะพานบก ตัดผ่านภูเขา เจาะอุโมงค์เป็นทางด่วนลอดภูเขา เพื่อให้เป็นเส้นทางด่วนแบบตัดตรง ซึ่งในส่วนของการทางพิเศษฯ พร้อมที่จะลงมาดำ�เนินการ เมื่อภาครัฐและเอกชนในพื้นที่จังหวัดตากได้เสนอต่อรัฐบาล ซึ่งเส้นทางตาก-แม่สอดเดิม ทางโค้งคดเคี้ยวขึ้นลงเขา ระยะทาง 86 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางมาก หากตัดเส้นทางตรงแบบทางด่วนพิเศษ จะลดระยะทางและเวลา รวมทั้งอุบัติเหตุบนเส้นทางลง โครงการก่อสร้างเส้นทางด่วนพิเศษ จะดำ�เนินการควบคู่กับโครงการพัฒนาระบบเส้นทางคมนาคมอื่นๆ ทั้งเส้นทางรถไฟ นครสวรรค์-กำ�แพงเพชรนครแม่สอด ถนน 4 เลน เส้นทางตากนครแม่สอด รวมทั้งการคมนาคมทางอากาศ การก่อสร้าง สนามบินนครแม่สอด แห่งที่ 2 นายสมชัยฐ์ หทยะตันย์ติ ผู้ว่าราชการจังหวัดตาก เปิดเผยหลังเป็นประธานการประชุมคณะทำ�งานขับเคลื่อนนโยบาย เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษแม่สอด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) รูปแบบพิเศษ “ นครแม่สอด” ด้านโครงสร้าง พื้นฐาน ด่านศุลกากรและการพัฒนาเส้นทางคมนาคม รวมทั้งระบบโลจิสติกส์ เมื่อวันที่ 13 ตุลาคมที่ผ่านมา ว่าการประชุม ครั้งนี้เพื่อหารือแนวทางการขุดเจาะอุโมงค์ ถนนสายตาก-แม่สอด เพื่อขับเคลื่อนนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษแม่สอดและ เมืองพิเศษนครแม่สอด สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) บนระเบียงเส้นทางเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (EastWest Economic Corridor: EWEC) โครงการก่อสร้างสนามบินนานาชาติแห่งที่ 2 โครงการเชื่อมเส้นทางรถไฟ สายนครสวรรค์- กำ�แพงเพชร-สู่เมืองพิเศษนครแม่สอด การขุดอุโมงค์ลอดแม่น้ำ�เมย เชื่อมเมืองพิเศษนครแม่สอดกับจังหวัดเมียวดี ประเทศเมีย นมาร์ โดยที่ประชุมเห็นด้วยกับการขุดเจาะอุโมงค์ แนวถนนสายตาก-แม่สอด รับ EWEC เพราะเป็นเรื่องที่ดีต่อระบบการ ค้าและการขนส่ง โดยจะมีอุโมงค์ 4 แห่ง ตัดทะลุภูเขาระหว่างเส้นทาง เช่น ที่เขาดอยรวก ดอยคา ดอยมูเซอ ระยะทางอุโมงค์ ประมาณ 4.8-5 กิโลเมตร งบประมาณที่จะใช้ดำ�เนินการ 15,000 - 20,000 ล้านบาท ซึ่งจะลดระยะทางการเดินทางเหลือ ไม่เกิน 70 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 50 นาที หรือไม่เกิน 1 ชั่วโมง นอกจากนี้ยังได้มีการเสนอสร้างเส้นทางด่วน พิเศษ หรือมอเตอร์เวย์ของกทพ.ด้วย ซึ่งโครงการเมกะโปรเจ็กต์ สร้างเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและเมืองพิเศษนครแม่สอดนั้น รัฐบาลพร้อมให้การสนับสนุนด้วยงบประมาณในการดำ�เนินการหลาย หมื่นล้านบาท ด้านนายอิสระ ว่องกุศลกิจ ประธานกรรมการหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า ตามที่คณะรักษาความ สงบแห่งชาติ (คสช.) และรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายก รัฐมนตรี มีนโยบายผลักดันให้อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก พัฒนาเป็น เขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ตนมองว่า ใน ปี 2558 ภาครัฐและภาคเอกชนมีความพร้อม โดยเฉพาะการทำ�เขต เศรษฐกิจพิเศษแม่สอด ให้เป็นพื้นที่นำ�ร่องแห่งแรก จากโครงการใน ระยะแรก 5 จังหวัด ทั้งนี้พบว่า แม่สอดมีการค้าชายแดนกับเมียนมาร์ และประเทศเกี่ยวเนื่อง ในปี 2556 สูงถึง 4.6 หมื่นล้านบาท และ ปี 2557 เพิ่มเป็น 5.5-6 หมื่นล้านบาท �������������������2.indd 15 17/12/2558 16:05:16
  • 14. สำ�หรับการเตรียมความพร้อม โดยเฉพาะโครงข่ายคมนาคม เป็นสิ่งจำ�เป็น ที่จะผลักดันเร่งด่วนคือถนนสายเมียวดี-กอ กาเรก ที่อยู่ระหว่างก่อสร้าง หากแล้วเสร็จจะช่วยให้เพิ่มมูลค่าการค้าหลายเท่าตัวจากปัจจุบันที่สามารถ สร้างรายได้จากการค้า สูงมากเป็นลำ�ดับต้นๆ ของประเทศ แม้เส้นทางเชื่อมโยงยังต้องสลับวันเว้นวัน และมีเส้นทางไม่สะดวกในการขนสินค้าไปยังท่าเรือที่ เมาะลำ�ไย เมาะละแหม่ง รวมทั้งการก่อสร้างถนน 4 ช่องจราจร เชื่อมโยงทั้งระบบ การขยายสนามบินแม่สอด ในปีงบประมาณ 2558 นอกจากนี้ยังจะผลักดันให้มีการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำ�เมยแห่งที่ 2 ที่กรมทางหลวงจัดสรรงบก่อสร้างไว้ปี 2559 อย่างไรก็ดีหากโครงข่ายจราจรรองรับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอดสมบูรณ์ ก็จะทำ�ให้การค้าชายแดนขยับขึ้นเป็นแสน ล้านบาท ในช่วงเปิดประชา คมเศรษฐกิจอาเซียนหรือเออีซี ในปลายปี 2558 ที่จะถึงนี้แน่นอน ส่วนนายกิตติพันธ์ ปานจันทร์ ผู้อำ�นวยการ สำ�นักงานทางหลวงตาก กรมทางหลวง กล่าวว่า เมื่อรัฐบาลกำ�หนดให้อำ�เภอแม่สอด เป็นหนึ่งในแผน พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ เนื่องจากความพร้อมและ ศักยภาพด้านการค้าชายแดนกับประเทศเมียนมาร์ ที่ มีมูลค่าสูงที่สุดของประเทศ แต่เนื่องจากโครงข่าย คมนาคมยังไม่สมบูรณ์ ดังนั้นเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจ พิเศษ และเขตปกครองรูปแบบพิเศษที่จะเกิดขึ้น จึง เร่งรัดโครงการให้แล้วเสร็จ ซึ่งถนนสายสำ�คัญที่เป็น หัวใจสำ�คัญประกอบด้วย โครงการก่อสร้างถนนสาย เมียวดี จากเมืองเมียวดีไปยังกอกาเรกระยะทาง 45 กิโลเมตร ขนาด 4 ช่องจราจร ขณะนี้บริษัทสี่แสงการโยธา จำ�กัด (มหาชน) อยู่ ระหว่างก่อสร้าง คืบหน้าไปกว่า 80% คาดว่าจะแล้วเสร็จในเดือนเมษายน 2558 หากถนนสายนี้แล้วเสร็จ จะช่วยให้การขนส่ง สินค้าจากอำ�เภอแม่สอด ประเทศไทย ที่ไปแวะพักบริเวณศูนย์วันสต็อปเซอร์วิส ของเขตเศรษฐกิจพิเศษเมียวดี สามารถขนส่งได้ ทุกวัน และช่วยให้การเดินทางสะดวกรวดเร็วขึ้น จากเดิมมีข้อจำ�กัดต้องใช้ขนส่งสินค้าวันเว้นวัน เพราะการเดินทางลำ�บากต้องขึ้น เขาชัน และทางคดเคี้ยวเล็กคับแคบเสี่ยงต่ออันตราย ซึ่งปัจจุบันได้มีการตัดภูเขาตะนาวศรีเป็นทางราบเพื่อให้การเดินทางสะดวก มาก ขึ้น นอกจากนี้ยังมีแผนก่อสร้างโครง การสะพานมิตรภาพไทย-เมียนมาร์ แห่ง ที่ 2 (สะพานข้ามแม่น้ำ�เมย2) งบประมาณก่อสร้าง 3,600 ล้านบาท งบเวนคืน 300 ล้านบาท โดยแนวสายทาง 80% จะอยู่ในเขตป่าตามมติคณะรัฐมนตรี ระยะทาง 21.4 กิโลเมตร ซึ่งจะอยู่ในฝั่งไทยถึงตำ�บลท่าสายลวด และตัวสะพานข้าม แม่น้ำ�รวม 17.26 กิโลเมตร ส่วนอีก 4.14 กิโลเมตรจะอยู่ฝั่งเมียนมาร์ เมืองเมียวดี มีขนาด 4 ช่องจราจร จะเป็นทางยก ระดับทั้งหมด โดยจะมีการเร่งรัดดำ�เนินการในปีงบ ประมาณ 2558 ใช้เวลาก่อสร้าง 3-5 ปี โครงการก่อสร้างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 ขนาด 4 ช่องจราจร สายตาก-แม่สอด ตอนที่ 3 ระยะทาง 25 กิโลเมตร ขณะนี้ได้รับจัดสรรในงบประมาณปี 2558 และสายตาก-แม่สอด ตอนที่ 4 ระยะทาง 25 กิโลเมตร จะได้รับจัดสรร งบประมาณกลางปี 2558 วงเงิน 1,400 ล้านบาท จะช่วยให้การเดินทางขนส่งสินค้าร่นระยะเวลาได้มาก โดยจะมีการขุดเจาะ อุโมงค์ ถนนสายตาก-แม่สอด หรือถนนสายเอเซีย ระยะทาง 85 กิโลเมตร เพื่อสะดวกในการเดินทาง และเชื่อมต่อกับสะพานเมย 2 รวมถึงการก่อสร้างถนนสายตะวันออก-ตะวันตก หรือ อีสต์-เวสต์ อีโคโนมิก คอร์ริดอร์ เป็น 4 ช่องจราจร จากมุกดาหาร มาที่แม่สอด ระยะทาง 770 กิโลเมตร ซึ่งขณะนี้ดำ�เนินการไปแล้ว 75% ให้แล้วเสร็จในปีงบ ประมาณ 2558 คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” ศักยภาพของนครแม่สอด16 �������������������2.indd 16 17/12/2558 16:05:16
  • 17. คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” ศักยภาพของนครแม่สอด นครแม่สอด...แหล่งแรงงานเข้มข้น แรงงานเข้มข้น W2. แรงงานพม่าที่เป็นแรงงานหลักในอุตสาหกรรมแม่สอดเป็นแรงงานไร้ทักษะ แรงงานพม่าที่เข้ามาขายแรงงานในประเทศไทยมีจำ�นวนมาก โดยในช่วงปี 2555-2556 คนพม่าเดินทางเข้ามา โดยใช้บัตรผ่านแดน (Boarder Pass) ประมาณ 500,000 คน และกว่าร้อยละ 90 มีจุดประสงคะเพื่อขายแรงงานใน ประเทศไทย สำ�หรับแรงงานพม่าที่ผ่านการพิสูจน์สัญชาติ ที่ทำ�งานในอำ�เภอแม่สอดในปี 2556 มีถึง 17,910 คน ซึ่ง มากที่สุดในทุกอำ�เภอในจังหวัดตาก แต่อย่างไรก็ตามข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึก หน่วยงานใต้สังกัดกระทรวง แรงงานในพื้นที่อำ�เภอแม่สอดพบว่าแรงงานพม่าที่เข้ามาในประเทศไทยเป็นแรงงานไร้ฝีมือ (Non-Skill labor) และเข้ามา เป็นแรงงานในอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้น (Labor lntensive) โดยส่วนมากแรงงานเหล่านี้ที่ทำ�งานในอำ�เภอแม่สอด จะทำ�งานในอุตสาหกรรมเสื้อผ้าและเครื่องนุ่งห่มที่เป็นอุตสาหกรรมหลักในพื้นที่ ซึ่งแรงงานพม่ามีผลิตภาพแรงงานต่ำ�เมื่อ เปรียบเทียบกับประเทศใน ASEAN ดังนั้นแรงงานในอำ�เภอแม่สอดส่วนมากเป็นแรงงานไร้ฝีมือ 19 �������������������2.indd 19 17/12/2558 16:05:18
  • 18. คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” ศักยภาพของนครแม่สอด เป็นศูนย์กลางทางการค้าเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน ความพร้อมของพื้นที่ 02. เมียนมาร์เป็นช่องทางที่สำ�คัญในการกระจายสินค้าออกสู่ประเทศจีน อินเดีย และบังกลาเทศ เมียนมาร์ตั้งอยู่ท่ามกลางประเทศที่มีตลาดใหญ่เป็นลำ�ดับต้นๆ ของโลก ได้แก่ จีน อินเดีย และบังกลาเทศ (ดูราย ละเอียดในแผนภาพที่ 5.3 ) โดยแต่ละประเทศนั้นมีจำ�นวนประชากรมากเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก โดยในปี 2556 จีน อินเดีย และบังกลาเทศ มีจำ�นวนประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 1 อันดับที่ 2 และอันดับที่ 4 ของโลกตามลำ�ดับ6 (ln- ternational Monetary Fund: IMF ข้อมูล ณ วันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2557) รวมทั้งเป็นประเทศที่มีอัตราการ เพิ่มของประชากรสูง ดังนั้นจึงถือว่าเป็นจุดแข็งของเมียนมาร์ในการทำ�การค้ากับทั้ง 3 ประเทศ ดังกล่าว ซึ่งสอดคล้อง กับผล SWOT Analysis ในงานศึกษาหลายชิ้น เช่น กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (2555) และมหาวิทยาลัย หอการค้าไทย (2555) เป็นต้น 20 �������������������2.indd 20 17/12/2558 16:05:18
  • 20. 22 คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” ศักยภาพของนครแม่สอด พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี พอใจผลการ ลงพื้นที่อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก เร่งผลักดันเขตเศรษฐกิจพิเศษภายในรัฐบาลนี้ แม่สอดถือว่า มีศักยภาพสูง โดยต้องร่วมมือพัฒนากับเพื่อนบ้านสร้างการค้าที่ไร้พรมแดน เพิ่มมูลค่าการค้า ชายแดนให้มากกว่า 1 แสนล้านบาท พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี พอใจการลงพื้นที่ติดตาม ความก้าวหน้าของการพัฒนาพื้นที่ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก เพราะมี ความคืบหน้าในด้านต่างๆ พร้อมยืนยันว่าภายในปี 2559 หรือภายในรัฐบาล นี้จะต้องให้เกิดผลเป็นรูปธรรม ทั้งนี้จะเร่งแก้ปัญหาที่มีทั้งหมดพร้อมทั้ง พิจารณาเรื่องของสิทธิประโยชน์ด้านการลงทุนทั้งกับนักลงทุนในพื้นที่ และ นักธุรกิจจากภายนอก เพื่อให้เกิดโครงการน�ำร่องให้มากที่สุด เพราะแม่สอด ถือว่ามีศักยภาพสูง โดยต้องร่วมมือพัฒนากับ เพื่อนบ้านสร้างการค้าที่ไร้พรมแดน เพิ่มมูลค่า การค้าชายแดนให้มากกว่า 1 แสนล้านบาท สิ่ง ส�ำคัญ คือ ต้องเตรียมความพร้อมสร้างความ เข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ว่าจะได้รับประโยชน์ อย่างไร ด้านความร่วมมือระหว่างภาคเอกชน กับทางจังหวัดในการขับเคลื่อนเขตเศรษฐกิจ พิเศษนั้น นายกรัฐมนตรี พบกับผู้ว่าราชการ จังหวัดเมียวดี และ ประธานหอการค้าเมียวดี ที่มาให้การต้อนรับโดยนายกรัฐมนตรี ให้ค�ำมั่น ว่า จะท�ำให้มูลค่าการค้าของทั้งสองประเทศ เพิ่มขึ้นและ ให้ได้ผลประโยชน์ร่วมกัน นายกฯหวังเขตศก.พิเศษตากเชื่อม ASEAN-EU พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชานายกรัฐมนตรีเป็น ประธานประชุมติดตามผลการด�ำเนินงาน เขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษตาก ระบุการที่เราจะสร้างบ้านแปลง เมืองประเทศไทยกันใหม่ ทุกจังหวัด ทุกพื้นที่ต้อง ท�ำยุทธศาสตร์ของประเทศไทยคือ มั่นคง มั่งคั่งและ ยั่งยืน ตามหลักการวิสัยทัศน์ของตน และความมั่นคง ต้องควบคู่ไปกับความมั่งคั่ง แล้วในวันหน้าจะยั่งยืน หากท�ำจุดนี้ส�ำเร็จจะเป็นประตูไปสู่อันดามัน เชื่อมต่อ เมียนมาไปอินเดีย ปากีสถาน อิหร่าน ตุรกี ยุโรป ซึ่ง เป็นการเชื่อมต่ออาเซียนกับสหภาพยุโรป เส้นทางสายเมียวดี - กอกะเร็กสามารถเดินทางต่อไปยังเมือง ผาอัน เมืองหลวงของรัฐกะเหรี่ยง เมืองสะเทิมในรัฐมอญ และ ไปถึงนครย่างกุ้งได้ รัฐบาลไทย ส่งมอบ เส้นทาง แม่สอด-เมียวดี-กอกาเร็ก พร้อม จัดพิธี ปฐมฤกษ์สะพานมิตรภาพไทย-เมียนมา ข้ามแม่น�้ำเมย แห่งที่ 2 หลังจากมีการ ลงนามความตกลงว่าด้วยการก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย-เมียนมา แห่งที่ 2 เส้นทางสายเมียวดี-กอกะเร็กเส้นตัดใหม่เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงสายเอเชีย หมายเลข 1 หรือ AH-1 โตเกียว-อิสตันบุล ระยะทาง 20,921 กิโลเมตรเชื่อมเอเชีย ตะวันออกถึงยุโรป ซึ่งรัฐบาลไทยรับผิดชอบก่อสร้างถนนในช่วงเชิงเขา ตะนาว ศรี-กอกะเร็ก วงเงินค่าก่อสร้าง 1,320 ล้านบาททั้งนี้ นอกจากนี้รัฐบาลไทยยัง ได้มีโครงการก่อสร้าง สะพานมิตรภาพไทย-เมียนมา ข้ามแม่น�้ำเมย(ตองยิน) แห่ง ที่ 2 มีมูลค่าการก่อสร้างทั้งสิ้น 3,910 ล้านบาท การด�ำเนินการในโครงการดัง กล่าว เพื่อเป็นการพัฒนาโครงข่ายทางหลวงรองรับการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ ตะวันออก – ตะวันตก (East-West Economic Corridor) ที่จะเชื่อมโยงเส้น ทางคมนาคม และขนส่งระหว่างประเทศไทยกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ใน การรองรับปริมาณการเดินทาง และการขนส่งสินค้าที่เพิ่มมากขึ้น และสอดรับการ พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ และท้องถิ่นรูปแบบพิเศษนครแม่สอด โครงการก่อสร้าง สะพานมิตรภาพ ไทย-เมียนมา ข้ามแม่น�้ำเมยแห่งที่ 2 มีมูลค่าการก่อสร้างทั้งสิ้น 3,910 ล้านบาท �������������������2.indd 22 17/12/2558 16:05:21