SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
ความคิดเห็นและการสนับสนุนจากทุกภาคส่วนในการตั้งท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
ความคิดเห็นและการสนับสนุนจากทุกภาค
ส่วนในการตั้งท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ
“นครแม่สอด”
ประชาชน/รัฐบาล/นักวิชาการ/นักกฎหมาย ฯลฯ
“ได้มีการศึกษาร่าง พ.ร.บ. ระเบียบบริหาร
ราชการนครแม่สอด พ.ศ. .... และคณะกรรมการกฤษฎีกา คณะที่ ๑ ได้พิจารณาตรวจ
ร่างและเห็นชอบร่าง พรบ.ฯแล้ว ถ้านครแม่สอดมีความพร้อมก็สามารถจัดตั้งเป็นเขต
เศรษฐกิจพิเศษในรูปแบบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ได้ทันที แต่ไม่ใช่เขต
เศรษฐกิจพิเศษที่ทำ�กันในประเทศจีน และหาก สศช. เห็นว่า จะดำ�เนินการเรื่องการจัด
ตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษโดยการออกระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ก็ให้ดำ�เนินการผลักดัน
ให้นครแม่สอดจัดตั้งเป็น อปท. รูปแบบพิเศษ เพราะในร่างกฎหมายดังกล่าวได้เขียนให้
นครแม่สอดมีอำ�นาจหน้าที่ที่จำ�เป็นเกี่ยวกับการค้าชายแดนเพิ่มมากขึ้นอยู่แล้ว เมื่อมี
ความพร้อมและได้รับความยินยอมจากส่วนราชการเจ้าของอำ�นาจ รวมทั้งได้รับความ
เห็นชอบจาก ครม. ก็จะมีอำ�นาจที่จำ�เป็นเพิ่มมากขึ้นและลดข้อจำ�กัดลง ”
อ. มีชัย ฤชุพันธุ์ กล่าววา่
“จากการประชุม ครม. ที่ จ.เชียงใหม่และจ.อุดรธานี
มีมติมอบให้ สคก. ร่วมกับกระทรวงการคลัง และกระทรวงการคลังพิจารณาเกี่ยวกับการ
จัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษในประเทศไทยซึ่งมีมูลเหตุมาจากการพิจารณาเรื่องร่าง พ.ร.บ.
นครแม่สอดฯ และไม่ใช่การพิจารณาเรื่องเขตเศรษฐกิจพิเศษทั้งหมด ควรศึกษาเรื่อง
การจัดตั้งนครแม่สอดเป็น อปท. รูปแบบพิเศษด้วยเพื่อให้เป็นการตอบโจทย์ของ ครม.
ว่า หลักการในการจัดตั้งนครแม่สอดเป็น อปท. รูปแบบพิเศษ นั้น ไม่ขัดแย้งต่อหลัก
การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ แต่เป็นการดำ�เนินการที่สอดคล้องและสนับสนุนกัน โดย
ควรดำ�เนินการจัดตั้ง อปท. รูปแบบพิเศษนครแม่สอดเพื่อเป็นการนำ�ร่องเขตเศรษฐกิจ
พิเศษ สำ�หรับรูปแบบของเขตเศรษฐกิจพิเศษอย่างเต็มรูปแบบต้องมีการพิจารณาและ
หารูปแบบที่เหมาะสม ซึ่งจะพิจารณาจากการปรับปรุงและพัฒนาร่าง พ.ร.บ.ระเบียบ
บริหารราชการนครแม่สอดฯ ก็ได้ ทั้งนี้การจัดตั้ง อปท.รูปแบบพิเศษนครแม่สอดจะเป็น
ประโยชน์ต่อนครแม่สอดและประเทศต่อไป ”
อ. สุรพล นิติไกรพจน
3
�������������������2.indd 3 17/12/2558 16:09:21
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
ความคิดเห็นและการสนับสนุนจากทุกภาคส่วนในการตั้งท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ”นครแม่สอด”
อ.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ ประธานกรรมการสถาบันพระปกเกล้า กล่าวว่า “หากมีการร่างกฎหมาย
นครแม่สอดไว้แล้ว วิธีที่สามารถดำ�เนินการได้อีกวิธีหนึ่ง คือ หารายชื่อประชาชนซึ่งเห็นด้วยกับร่างกฎหมายดังกล่าว ๑๐,๐๐๐
คน แล้วเสนอร่างกฎหมายดังกล่าวให้สภาผู้แทนราษฎรเพื่อพิจารณาต่อไป ”
การดำ�เนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษ ควร 	 	
				 ดำ�เนินการดังนี้
1. ผลักดันร่าง พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ. ... ให้นำ�มาท
ดลองใช้ในพื้นที่ เนื่องจากมีกฎหมายอยู่แล้ว
2. ให้กระทรวงการคลัง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำ�เนินการตามที่ ม.ร.ว
ปรีดิยาธร เทวกุล เสนอ เพื่อเป็นปัจจัยแห่งความสำ�เร็จในการดำ�เนินการเขต
เศรษฐกิจพิเศษ โดยใช้ Model ของนครแม่สอด เป็นการนำ�ร่องดังนี้
	 2.1 ให้พื้นที่ที่เป็น อปท. รูปแบบพิเศษนครแม่สอด ได้รับสิทธิและ
ประโยชน์ด้านภาษีอากร ตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมการลงทุนสูงสุด
	 2.2 ให้ มท. ดำ�เนินการเกี่ยวกับการอนุญาตให้แรงงานต่างชาติเข้ามา
ทำ�งานในเขตนครแม่สอดโดยไม่ต้องมีใบอนุญาต
	 2.3 ให้มีการนำ�สินค้าเข้า-ส่งออก อย่างเสรี ในเขตพื้นที่นครแม่สอด
กับสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า โดยไม่ต้องมีการตรวจสินค้าและไม่มีการ
เก็บภาษี ทั้งนี้ให้มีการตรวจเฉพาะสินค้าต้องห้ามเท่านั้นเนื่องจากในปี ค.ศ. ๒๐๑๕ ประเทศไทยจะเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียนASEAN Economic Community(AEC) ซึ่งประเทศต่างๆ ในอาเซียนจะเป็นเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free
Trade Area : AFTA) และไม่มีการเก็บภาษีสินค้านำ�เข้า-ส่งออกอยู่แล้ว
	 2.4 ควรมีมาตรการให้แรงงานพม่าเปิดบัญชีธนาคารในประเทศไทยอย่างเสรี
	 2.5 ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องควรมีการปรับตัวอย่างเร่งด่วน เพื่อรองรับ AEC เนื่องจากประเทศไทยมีเวลาก่อนเข้าเป็น
AEC เพียง ๓ ปีเท่านั้น
	 2.6 เมื่อสามารถจัดตั้งนครแม่สอดแล้ว อาจมีการขยายเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษเพื่อการลงทุนเป็น ๓-๕ อำ�เภอใน
จังหวัดตาก และควรมีการขยายผลกับ อปท. อื่นๆ ที่มีศักยภาพด้านต่างๆ ด้วย
3. ออกระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี โดยใช้ร่างระเบียบบริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ. ... เป็นต้นแบบ และให้มีการแต่งตั้ง
คณะกรรมการประสานงานเรื่องต่างๆ ที่นครแม่สอดไม่สามารถดำ�เนินการได้ ให้สามารถดำ�เนินการได้ และนำ�ไปปรับใช้กับ
แม่สาย และ สะเดา ซึ่งจะมีการจัดตั้ง อปท. รูปแบบพิเศษต่อไป โดยองค์ประกอบของคณะกรรมการฯ จะประกอบด้วยผู้แทน
หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งผู้แทนของสภาความมั่นคงแห่งชาติ และ ปปส. ด้วยก็ได้
4. ในชั้นนี้เห็นว่า ยังไม่ควรออกกฎหมายเขตเศรษฐกิจพิเศษอย่างเต็มรูปแบบ ที่ประชุมไม่ได้มีมติ แต่ สคก. จะทำ�หนังสือเสนอ
ต่อ ครม. เพื่อพิจารณาต่อไป และในคราวประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2555เลขาธิการคณะกรรมการ
กฤษฎีกาเสนอว่าร่าง พรบ.ระเบียบบริหารราชการนครแหลมฉบัง พ.ศ. ......... ตามที่สำ�นักปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรีเสนอ
มีหลักการเช่นเดียวกับร่าง พรบ.ระเบียบบริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ. ...... ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติมอบหมายให้กระทรวง
มหาดไทยและคณะกรรมการการกระจายอำ�นาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไปพิจารณาร่วมกัน ซึ่งร่าง พรบ.ทั้งสองฉบับ
มีหลักการให้โอนอำ�นาจบางประการของรัฐ เช่น การจัดเก็บภาษีหรือค่าธรรมเนียมบางประเภทให้ อปท. ดำ�เนินการแทน และ
โดยที่สำ�นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้รับมอบหมายจากคณะรัฐมนตรีให้พิจารณาเรื่องการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ และ
ได้หารือร่วมกับสำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและกระทรวงการคลังแล้วเห็นว่า การจัดตั้ง
เขตเศรษฐกิจพิเศษควรกำ�หนดหน่วยงานบริหารในรูปแบบ one stop service โดยไม่โอนอำ�นาจต่างๆของรัฐไปดำ�เนินการ
แทนจะเหมาะสมกว่า โดยกำ�หนดเป็นระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการรับฟังความคิดเห็นจากภาคเอกชน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมเสนอว่า การดำ�เนินการเกี่ยวกับคนต่างด้าวอาจมีความเกี่ยวข้องกับความมั่นคง ต้องบูรณา
การในภาพรวมทั้งประเทศเห็นควรให้รัฐดำ�เนินการเอง ซึ่งคณะรัฐมนตรีพิจารณาแล้วลงมติ
	 1. มอบหมายให้คณะกรรมการกฤษฎีกา สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ
กระทรวงการคลังรับไปพิจารณาเกี่ยวกับการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ ตามที่เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาเสนอ โดยให้รับ
ความคิดเห็นจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมไปพิจารณา แล้วเสนอผลการพิจารณาต่อไป
	 2. มอบหมายให้กระทรวงมหาดไทยรับร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการนครแหลมฉบัง พ.ศ. ........ ไป
พิจารณาหารือร่วมกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับการจัดตั้งเจตเศรษฐกิจพิเศษ ก่อนเสนอร่าง พรบ.ระเบียบบริหาร
ราชการแหลมฉบังและร่าง พรบ.ระเบียบบริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ. ..... ให้คณะรัฐมนตรีพิจารณา
	 3. มอบหมายให้กระทรวงการคลังรับความเห็นของสำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษี
	 4. หากมีร่างพระราชบัญญัติที่มีการบริหารจัดการ อปท.ในพื้นที่ที่มีลักษณะพิเศษทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่ง
แวดล้อม ซึ่งแตกต่างจาก อปท.ทั่วไป ให้ส่วนราชการผู้รับผิดชอบหารือร่วมกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง โดยให้สอดคล้องกับ
แนวทางการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษที่มีอยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกาก่อนเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา
ต่อไป
อ. บวรศักดิ์ฯ เสนอว่า
4
�������������������2.indd 4 17/12/2558 16:09:21
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
ความคิดเห็นและการสนับสนุนจากทุกภาคส่วนในการตั้งท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ”นครแม่สอด” 5
การทำ�ประชาคม องค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ”นครแม่สอด”
วันศุกร์ที่ 3 ธันวาคม 2553 ณ สนามฟุตบอล
เทศบาลตำ�บลท่าสายลวด อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก
�������������������2.indd 5 17/12/2558 16:09:22

More Related Content

More from nakornmaesot59

More from nakornmaesot59 (17)

หัวข้อ 13
หัวข้อ 13หัวข้อ 13
หัวข้อ 13
 
หัวข้อ 12
หัวข้อ 12หัวข้อ 12
หัวข้อ 12
 
หัวข้อ 10
หัวข้อ 10หัวข้อ 10
หัวข้อ 10
 
หัวข้อ 17
หัวข้อ 17หัวข้อ 17
หัวข้อ 17
 
หัวข้อ 16
หัวข้อ 16หัวข้อ 16
หัวข้อ 16
 
หัวข้อ 19
หัวข้อ 19หัวข้อ 19
หัวข้อ 19
 
หัวข้อ 18
หัวข้อ 18หัวข้อ 18
หัวข้อ 18
 
หัวข้อ 20
หัวข้อ 20หัวข้อ 20
หัวข้อ 20
 
หัวข้อ 21
หัวข้อ 21หัวข้อ 21
หัวข้อ 21
 
หัวข้อ 04
หัวข้อ 04หัวข้อ 04
หัวข้อ 04
 
หัวข้อ 03
หัวข้อ 03หัวข้อ 03
หัวข้อ 03
 
หัวข้อ 02
หัวข้อ 02หัวข้อ 02
หัวข้อ 02
 
หัวข้อ 01
หัวข้อ 01หัวข้อ 01
หัวข้อ 01
 
หัวข้อ 08
หัวข้อ 08หัวข้อ 08
หัวข้อ 08
 
หัวข้อ 05
หัวข้อ 05หัวข้อ 05
หัวข้อ 05
 
หัวข้อ 07
หัวข้อ 07หัวข้อ 07
หัวข้อ 07
 
หัวข้อ 09
หัวข้อ 09หัวข้อ 09
หัวข้อ 09
 

หัวข้อ 06

  • 1. คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” ความคิดเห็นและการสนับสนุนจากทุกภาคส่วนในการตั้งท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” ความคิดเห็นและการสนับสนุนจากทุกภาค ส่วนในการตั้งท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” ประชาชน/รัฐบาล/นักวิชาการ/นักกฎหมาย ฯลฯ “ได้มีการศึกษาร่าง พ.ร.บ. ระเบียบบริหาร ราชการนครแม่สอด พ.ศ. .... และคณะกรรมการกฤษฎีกา คณะที่ ๑ ได้พิจารณาตรวจ ร่างและเห็นชอบร่าง พรบ.ฯแล้ว ถ้านครแม่สอดมีความพร้อมก็สามารถจัดตั้งเป็นเขต เศรษฐกิจพิเศษในรูปแบบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ได้ทันที แต่ไม่ใช่เขต เศรษฐกิจพิเศษที่ทำ�กันในประเทศจีน และหาก สศช. เห็นว่า จะดำ�เนินการเรื่องการจัด ตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษโดยการออกระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ก็ให้ดำ�เนินการผลักดัน ให้นครแม่สอดจัดตั้งเป็น อปท. รูปแบบพิเศษ เพราะในร่างกฎหมายดังกล่าวได้เขียนให้ นครแม่สอดมีอำ�นาจหน้าที่ที่จำ�เป็นเกี่ยวกับการค้าชายแดนเพิ่มมากขึ้นอยู่แล้ว เมื่อมี ความพร้อมและได้รับความยินยอมจากส่วนราชการเจ้าของอำ�นาจ รวมทั้งได้รับความ เห็นชอบจาก ครม. ก็จะมีอำ�นาจที่จำ�เป็นเพิ่มมากขึ้นและลดข้อจำ�กัดลง ” อ. มีชัย ฤชุพันธุ์ กล่าววา่ “จากการประชุม ครม. ที่ จ.เชียงใหม่และจ.อุดรธานี มีมติมอบให้ สคก. ร่วมกับกระทรวงการคลัง และกระทรวงการคลังพิจารณาเกี่ยวกับการ จัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษในประเทศไทยซึ่งมีมูลเหตุมาจากการพิจารณาเรื่องร่าง พ.ร.บ. นครแม่สอดฯ และไม่ใช่การพิจารณาเรื่องเขตเศรษฐกิจพิเศษทั้งหมด ควรศึกษาเรื่อง การจัดตั้งนครแม่สอดเป็น อปท. รูปแบบพิเศษด้วยเพื่อให้เป็นการตอบโจทย์ของ ครม. ว่า หลักการในการจัดตั้งนครแม่สอดเป็น อปท. รูปแบบพิเศษ นั้น ไม่ขัดแย้งต่อหลัก การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ แต่เป็นการดำ�เนินการที่สอดคล้องและสนับสนุนกัน โดย ควรดำ�เนินการจัดตั้ง อปท. รูปแบบพิเศษนครแม่สอดเพื่อเป็นการนำ�ร่องเขตเศรษฐกิจ พิเศษ สำ�หรับรูปแบบของเขตเศรษฐกิจพิเศษอย่างเต็มรูปแบบต้องมีการพิจารณาและ หารูปแบบที่เหมาะสม ซึ่งจะพิจารณาจากการปรับปรุงและพัฒนาร่าง พ.ร.บ.ระเบียบ บริหารราชการนครแม่สอดฯ ก็ได้ ทั้งนี้การจัดตั้ง อปท.รูปแบบพิเศษนครแม่สอดจะเป็น ประโยชน์ต่อนครแม่สอดและประเทศต่อไป ” อ. สุรพล นิติไกรพจน 3 �������������������2.indd 3 17/12/2558 16:09:21
  • 2. คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” ความคิดเห็นและการสนับสนุนจากทุกภาคส่วนในการตั้งท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ”นครแม่สอด” อ.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ ประธานกรรมการสถาบันพระปกเกล้า กล่าวว่า “หากมีการร่างกฎหมาย นครแม่สอดไว้แล้ว วิธีที่สามารถดำ�เนินการได้อีกวิธีหนึ่ง คือ หารายชื่อประชาชนซึ่งเห็นด้วยกับร่างกฎหมายดังกล่าว ๑๐,๐๐๐ คน แล้วเสนอร่างกฎหมายดังกล่าวให้สภาผู้แทนราษฎรเพื่อพิจารณาต่อไป ” การดำ�เนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษ ควร ดำ�เนินการดังนี้ 1. ผลักดันร่าง พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ. ... ให้นำ�มาท ดลองใช้ในพื้นที่ เนื่องจากมีกฎหมายอยู่แล้ว 2. ให้กระทรวงการคลัง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำ�เนินการตามที่ ม.ร.ว ปรีดิยาธร เทวกุล เสนอ เพื่อเป็นปัจจัยแห่งความสำ�เร็จในการดำ�เนินการเขต เศรษฐกิจพิเศษ โดยใช้ Model ของนครแม่สอด เป็นการนำ�ร่องดังนี้ 2.1 ให้พื้นที่ที่เป็น อปท. รูปแบบพิเศษนครแม่สอด ได้รับสิทธิและ ประโยชน์ด้านภาษีอากร ตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมการลงทุนสูงสุด 2.2 ให้ มท. ดำ�เนินการเกี่ยวกับการอนุญาตให้แรงงานต่างชาติเข้ามา ทำ�งานในเขตนครแม่สอดโดยไม่ต้องมีใบอนุญาต 2.3 ให้มีการนำ�สินค้าเข้า-ส่งออก อย่างเสรี ในเขตพื้นที่นครแม่สอด กับสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า โดยไม่ต้องมีการตรวจสินค้าและไม่มีการ เก็บภาษี ทั้งนี้ให้มีการตรวจเฉพาะสินค้าต้องห้ามเท่านั้นเนื่องจากในปี ค.ศ. ๒๐๑๕ ประเทศไทยจะเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนASEAN Economic Community(AEC) ซึ่งประเทศต่างๆ ในอาเซียนจะเป็นเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area : AFTA) และไม่มีการเก็บภาษีสินค้านำ�เข้า-ส่งออกอยู่แล้ว 2.4 ควรมีมาตรการให้แรงงานพม่าเปิดบัญชีธนาคารในประเทศไทยอย่างเสรี 2.5 ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องควรมีการปรับตัวอย่างเร่งด่วน เพื่อรองรับ AEC เนื่องจากประเทศไทยมีเวลาก่อนเข้าเป็น AEC เพียง ๓ ปีเท่านั้น 2.6 เมื่อสามารถจัดตั้งนครแม่สอดแล้ว อาจมีการขยายเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษเพื่อการลงทุนเป็น ๓-๕ อำ�เภอใน จังหวัดตาก และควรมีการขยายผลกับ อปท. อื่นๆ ที่มีศักยภาพด้านต่างๆ ด้วย 3. ออกระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี โดยใช้ร่างระเบียบบริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ. ... เป็นต้นแบบ และให้มีการแต่งตั้ง คณะกรรมการประสานงานเรื่องต่างๆ ที่นครแม่สอดไม่สามารถดำ�เนินการได้ ให้สามารถดำ�เนินการได้ และนำ�ไปปรับใช้กับ แม่สาย และ สะเดา ซึ่งจะมีการจัดตั้ง อปท. รูปแบบพิเศษต่อไป โดยองค์ประกอบของคณะกรรมการฯ จะประกอบด้วยผู้แทน หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งผู้แทนของสภาความมั่นคงแห่งชาติ และ ปปส. ด้วยก็ได้ 4. ในชั้นนี้เห็นว่า ยังไม่ควรออกกฎหมายเขตเศรษฐกิจพิเศษอย่างเต็มรูปแบบ ที่ประชุมไม่ได้มีมติ แต่ สคก. จะทำ�หนังสือเสนอ ต่อ ครม. เพื่อพิจารณาต่อไป และในคราวประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2555เลขาธิการคณะกรรมการ กฤษฎีกาเสนอว่าร่าง พรบ.ระเบียบบริหารราชการนครแหลมฉบัง พ.ศ. ......... ตามที่สำ�นักปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรีเสนอ มีหลักการเช่นเดียวกับร่าง พรบ.ระเบียบบริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ. ...... ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติมอบหมายให้กระทรวง มหาดไทยและคณะกรรมการการกระจายอำ�นาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไปพิจารณาร่วมกัน ซึ่งร่าง พรบ.ทั้งสองฉบับ มีหลักการให้โอนอำ�นาจบางประการของรัฐ เช่น การจัดเก็บภาษีหรือค่าธรรมเนียมบางประเภทให้ อปท. ดำ�เนินการแทน และ โดยที่สำ�นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้รับมอบหมายจากคณะรัฐมนตรีให้พิจารณาเรื่องการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ และ ได้หารือร่วมกับสำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและกระทรวงการคลังแล้วเห็นว่า การจัดตั้ง เขตเศรษฐกิจพิเศษควรกำ�หนดหน่วยงานบริหารในรูปแบบ one stop service โดยไม่โอนอำ�นาจต่างๆของรัฐไปดำ�เนินการ แทนจะเหมาะสมกว่า โดยกำ�หนดเป็นระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการรับฟังความคิดเห็นจากภาคเอกชน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมเสนอว่า การดำ�เนินการเกี่ยวกับคนต่างด้าวอาจมีความเกี่ยวข้องกับความมั่นคง ต้องบูรณา การในภาพรวมทั้งประเทศเห็นควรให้รัฐดำ�เนินการเอง ซึ่งคณะรัฐมนตรีพิจารณาแล้วลงมติ 1. มอบหมายให้คณะกรรมการกฤษฎีกา สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ กระทรวงการคลังรับไปพิจารณาเกี่ยวกับการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ ตามที่เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาเสนอ โดยให้รับ ความคิดเห็นจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมไปพิจารณา แล้วเสนอผลการพิจารณาต่อไป 2. มอบหมายให้กระทรวงมหาดไทยรับร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการนครแหลมฉบัง พ.ศ. ........ ไป พิจารณาหารือร่วมกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับการจัดตั้งเจตเศรษฐกิจพิเศษ ก่อนเสนอร่าง พรบ.ระเบียบบริหาร ราชการแหลมฉบังและร่าง พรบ.ระเบียบบริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ. ..... ให้คณะรัฐมนตรีพิจารณา 3. มอบหมายให้กระทรวงการคลังรับความเห็นของสำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษี 4. หากมีร่างพระราชบัญญัติที่มีการบริหารจัดการ อปท.ในพื้นที่ที่มีลักษณะพิเศษทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่ง แวดล้อม ซึ่งแตกต่างจาก อปท.ทั่วไป ให้ส่วนราชการผู้รับผิดชอบหารือร่วมกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง โดยให้สอดคล้องกับ แนวทางการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษที่มีอยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกาก่อนเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา ต่อไป อ. บวรศักดิ์ฯ เสนอว่า 4 �������������������2.indd 4 17/12/2558 16:09:21
  • 3. คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” ความคิดเห็นและการสนับสนุนจากทุกภาคส่วนในการตั้งท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ”นครแม่สอด” 5 การทำ�ประชาคม องค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ”นครแม่สอด” วันศุกร์ที่ 3 ธันวาคม 2553 ณ สนามฟุตบอล เทศบาลตำ�บลท่าสายลวด อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก �������������������2.indd 5 17/12/2558 16:09:22