SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
การขอรับการสนับสนุนจากนายกรัฐมนตรี
การขอรับการสนับสนุนจากนายกรัฐมนตรี
ประเด็นการขอรับการสนับสนุน
จากนายกรัฐมนตรี (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)
***********************************
คณะทำ�งานขับเคลื่อนงานเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตากระดับตำ�บลแม่สอด อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก (ตามคำ�
สั่งจังหวัด ที่ ๑๒๗๐/๒๕๕๘ เรื่อง แต่งตั้งคณะทำ�งานขับเคลื่อนงานเขตเศรษฐกิจพิเศษระดับตำ�บล อำ�เภอแม่สอด
(เพิ่มเติม) ลงวันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๘ และคำ�สั่งจังหวัดตาก ที่ ๑๖๗๑/๒๕๕๘ เรื่อง แต่งตั้งคณะทำ�งานขับ
เคลื่อนงานเขตเศรษฐกิจพิเศษระดับตำ�บล อำ�เภอแม่สอด (เพิ่มเติม) ลงวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๘) ซึ่งได้มีมติ
การประชุมสรุปประเด็นปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ ดังต่อไปนี้
ประเด็น รายละเอียด / ข้อเสนอ
๑. ร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการนครแม่สอด พ.ศ....
(ตามหนังสือจังหวัดตาก ที่ ตก
๐๐๒๗.๑/๗๒๐๗ ลงวันที่ ๑๔
พฤษภาคม ๒๕๕๘ ผู้ว่าราชการจังหวัด
ตาก ทำ�หนังสือขอรับการสนับสนุนการจัด
ตั้งท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” ไป
ยังอธิบดี
กรมส่งเสริมการปกรองท้องถิ่น)
การจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถจัด
บริการสาธารณะที่มีคุณภาพแก่ประชาชน และรองรับการเจริญเติบโตของพื้นที่ได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ รวมทั้งพัฒนาการบริหารจัดการของท้องถิ่นให้มีระบบที่มีประสิทธิภาพ
โปร่งใส เป็นการรวมพื้นที่ของเทศบาลนครแม่สอดและเทศบาลตำ�บลท่าสายลวด จังหวัด
ตาก ซึ่งได้ผ่านการประชุมประชาคมรับฟังความคิดเห็นของประชาชนทั้งสองพื้นที่เรียบร้อย
แล้ว เพื่อให้มีอำ�นาจหน้าที่และมีศักยภาพเพียงพอต่อการจัดบริการสาธารณะ และดูแล
สังคม เป็นประตูเศรษฐกิจที่จะเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน และสามารถพัฒนาให้เป็น
ฐานในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุนที่สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ ซึ่ง
ร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ....... ได้ผ่านขั้นตอนการ
พิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา คณะที่ ๑ โดยท่านมีชัย ฤชุพันธ์ เมื่อวันที่ ๒๖
เมษายน ๒๕๕๔ เรียบร้อยแล้ว (สำ�นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแล้ว
เรื่องเสร็จที่ ๓๕๐/๒๕๕๔) และผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการการกระจายอำ�นาจ
ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เมื่อวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ และวันที่ ๙ธันวาคม
๒๕๕๔ แล้ว โดยผู้ทรงคุณวุฒิหลายท่านได้ให้ความเห็นชอบ ได้แก่ ศ.ดร.บวรศักดิ์ อุ
วรรณโณ , รศ.วุฒิสาร ตันไชย , ดร.วิษณุ เครืองาม และ ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์
เป็นต้น โดยคณะรัฐมนตรีได้เคยมีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ ๓พฤษภาคม ๒๕๕๔ แต่เนื่องจาก
เปลี่ยนรัฐบาลชุดใหม่ ประกอบกับผลการประชุมร่วมระหว่างคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
และคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๕๘ ได้มีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงพาณิชย์
เสนอ เรื่องการสถาปนาความสัมพันธ์บ้านพี่เมืองน้อง (Sister City) ระหว่างแม่สอด
และเมียวดี ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างความใกล้ชิดระหว่างสองเมืองเพิ่มมากขึ้น อันจะเป็นส่วน
สำ�คัญในการ ขยายตัวทางการค้าชายแดน และการลงทุนระหว่างกัน และเป็นประโยชน์ต่อ
ทั้งสองประเทศในภาพรวม รวมทั้งสนับสนุนสอดคล้องกับการจัดตั้งนครแม่สอดเป็นองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ที่ต้องมาดูแลสังคม และการจัดบริการสาธารณะรองรับ
การเป็นเมืองเศรษฐกิจพิเศษ ตามร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ. ....
3
2.indd 3 08-Dec-15 1:49:17 PM
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
การขอรับการสนับสนุนจากนายกรัฐมนตรี
ประเด็น รายละเอียด / ข้อเสนอ
๒. ขอแก้ไขกฎกระทรวงผังเมืองรวมเมือง
แม่สอด พ.ศ. ๒๕๕๕
- การจัดทำ�ผังเมืองควรมอบให้จังหวัด
เป็นผู้อนุมัติและจัดทำ�ผังเมืองในเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษตาก ครอบคลุมทั้ง ๑๔
ตำ�บล
	 ตามประกาศคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ที่ ๑/๒๕๕๘
ลงวันที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๕๘ เรื่อง กำ�หนดพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ โดยกำ�หนด
ให้ท้องที่ตำ�บลท่าสายลวด ตำ�บลพระธาตุผาแดง ตำ�บลแม่กาษา ตำ�บลแม่กุ ตำ�บลแม่
ตาว ตำ�บลแม่ปะ ตำ�บลแม่สอด และตำ�บลมหาวัน อำ�เภอแม่สอด , ตำ�บลช่องแคบ ตำ�บล
พบพระ ตำ�บลวาเล่ย์ อำ�เภอพบพระ , ตำ�บลขะเนจื้อ ตำ�บลแม่จะเรา และตำ�บลแม่ระมาด
อำ�เภอแม่ระมาด จังหวัดตาก เป็น “เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก” ประกอบกับจังหวัด
ตาก ได้มีคำ�สั่งแต่งตั้งคณะทำ�งานขับเคลื่อนงานเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ระดับตำ�บล
เพื่อขับเคลื่อนงานเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ในระดับพื้นที่ ทั้งด้านขอบเขตพื้นที่และ
การจัดหาที่ดิน ด้านแรงงาน สาธารณสุข และความมั่นคง ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด่าน
ศุลกากร ส่งเสริมการศึกษา ฝึกทักษะอาชีพ สร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนในพื้นที่
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สังคม วัฒนธรรมประเพณี และการยกระดับคุณภาพชีวิต
ของประชาชนในพื้นที่ ประสานการดำ�เนินงาน ติดตามความคืบหน้าปัญหาและอุปสรรค
ของการดำ�เนินงาน
	 คณะทำ�งานขับเคลื่อนงานเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ระดับตำ�บลแม่สอด
ตำ�บลท่าสายลวด ตำ�บลแม่ตาว ตำ�บลแม่ปะ และตำ�บลพระธาตุผาแดง ได้พิจาณาแล้ว
เห็นว่าผังเมืองรวมเมืองแม่สอดดังกล่าว ไม่สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลในการส่ง
เสริมการค้าชายแดน ผ่านการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษตาก จึงเห็นควรแก้ไขกฎกระทรวง
ผังเมืองรวมเมืองแม่สอด พ.ศ. ๒๕๕๕ มีพื้นที่ครอบคลุมขนาด ๑๐๖.๕๑ ตารางกิโลเมตร
ตำ�บลแม่สอด ตำ�บลท่าสายลวด ตำ�บลแม่ตาว ตำ�บลแม่ปะ และตำ�บลพระธาตุผาแดง
อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก ซึ่งจะสิ้นสุดการใช้บังคับวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๖๐ โดยสรุป
ประเด็นที่ขอแก้ไข ดังนี้
	 (๑) ในเขตเทศบาลนครแม่สอด
		 (๑.๑) การใช้ประโยชน์ที่ดินริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๐๕ สาย
ตาก – แม่สะเรียง เริ่มต้นจากสามแยกที่บรรจบกับถนนอินทรคีรี และทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๑๐๙๐ สายแม่สอด –ตะแง้คี ไปทางทิศตะวันตก เป็นระยะทาง ๖,๖๐๐ เมตร ให้
มีที่ว่างตามแนวขนานริมเขตทางไม่น้อยกว่า ๑๕ เมตร ขอปรับ เปลี่ยนเป็นให้มีที่ว่างไม่
น้อยกว่า ๖ เมตร ตามพระราชบัญญัติกรมทางหลวงเดิม
และการประชุมคณะทำ�งาน/ส่วนราชการ จังหวัดตาก เมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘ ได้
เห็นชอบและสนับสนุนการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษนครแม่สอด ตาม
ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวด้วย
	 สำ�หรับรูปแบบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษนครแม่สอด มีรูป
แบบลักษณะเช่นเดียวกับเมืองพัทยา ซึ่งเมืองพัทยามีจุดเด่นความเป็นเมืองพิเศษด้านการ
ท่องเที่ยว แต่ด้วยลักษณะกายภาพทางภูมิศาสตร์ของพื้นที่นครแม่สอด ที่มีจุดเด่นด้าน
การค้าขายชายแดน และมีแรงงานต่างด้าวอาศัยอยู่เป็นจำ�นวนมาก จึงทำ�ให้นครแม่สอด
เป็นศูนย์กลางการค้าขายชายแดนที่จะเป็นประตูเศรษฐกิจเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน
ได้ ดังนั้น นครแม่สอดจึงต้องมีอำ�นาจหน้าที่และมีศักยภาพเพียงพอต่อการจัดบริการ
สาธารณะ และดูแลสังคม ที่มีการพัฒนาไปตามยุทธศาสตร์ในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผล รองรับการเจริญเติบโตของพื้นที่ รวมทั้งพัฒนาการบริหารจัดการของ
ท้องถิ่นให้มีระบบที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส
	 ข้อเสนอ : โปรดพิจารณาสนับสนุนและผลักดันร่างพระราชบัญญัติระเบียบ
บริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ. ... ให้มีผลบังคับใช้ในโอกาสต่อไป
4
2.indd 4 08-Dec-15 1:49:17 PM
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
การขอรับการสนับสนุนจากนายกรัฐมนตรี
ประเด็น รายละเอียด / ข้อเสนอ
		 (๑.๒) การใช้ประโยชน์ที่ดินริมฝั่งลำ�คลอง ห้วย หรือแหล่งน้ำ�
สาธารณะ ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งไม่น้อยกว่า ๖ เมตร ขอปรับแก้ไขที่ว่างตามพระ
ราชบัญญัติควบคุมอาคาร คือลำ�เหมืองสาธารณะหรือลำ�ห้วยที่มีความกว้างน้อยกว่า ๑๐
เมตร ต้องร่นแนวถอยห่างจากเขตแหล่งน้ำ�สาธารณะไม่น้อยกว่า ๓ เมตร ถ้าแหล่งน้ำ�มี
ความกว้างตั้งแต่ ๑๐ เมตร ขึ้นไป ต้องร่นแนวอาคารห่างจากเขตแหล่งน้ำ�สาธารณะนั้น
ไม่น้อยกว่า ๖ เมตร
		 (๑.๓) พื้นที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม (สี
เขียวอ่อน) บริเวณริมฝั่งเหมืองสาธารณะ ลำ�ห้วย คู คลอง จากผังเมืองรวมเมืองแม่สอด
ระยะห่าง ๕๐ เมตร ห้ามปลูกสร้างอาคารประเภทพาณิชยกรรม โรงงาน ฯลฯ ขอปรับ
เปลี่ยนเป็น ๖ เมตร และขอปรับเปลี่ยนเป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย (สีเหลือง) เฉพาะ
ภายในเขตเทศบาลนครแม่สอด
		 (๑.๔) บริเวณพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) ตามหมายเลข
ที่ดิน๕.๖ (บริเวณหลังโรงแรมเซ็นทารา) ตามหมายเลขที่ดิน ๕.๘ (บริเวณหมู่บ้าน
แม่สอดวิลล่า)และบางส่วน (บริเวณฝั่งซ้ายคลองชลประทาน สายคลอง ๑ ขวา ๓ ซ้าย
๑ ขวา ถึงคลองชลประทาน คลอง ๓ ซ้าย ๑ ขวา) ขอปรับเปลี่ยนเป็นพื้นที่สีเหลือง ซึ่ง
ปัจจุบันได้เป็นหมู่บ้าน และชุมชนต่างๆ แล้ว
		 (๑.๕) แนวเขตเทศบาลนครแม่สอด ควรปรับแก้ไขใช้แนวเขตที่ประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๔
(๒) ในเขตองค์การบริหารส่วนตำ�บลแม่ปะ
(๒.๑) ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) หมายเลขที่ดิน ๕.๑, ๕.๒, ๕.๓, ๕.๔,
๕.๕, ๕.๖, ๕.๗ และ ๕.๘ ขอปรับเปลี่ยนเป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย(สีเหลืองทั้งหมด)
(๒.๒) ที่ดินประเภทอนุรักษ์ป่าไม้ (สีเขียวอ่อนมีเส้นทแยงสีขาว) ซึ่งเป็นป่าไม้ถาวรตามมติ
คณะรัฐมนตรีป่าแม่สอด ขอปรับเปลี่ยนเป็นที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)
	 (๓) ในเขตองค์การบริหารส่วนตำ�บลพระธาตุผาแดง
		 (๓.๑) ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) ตลอดแนว
ขนาน เส้นทางหลวงหมายเลข ๑๐๙๐ ถนนหมายเลข ง๓ และ ถนนศรีพาณิช – แม่สอด
ขอปรับเปลี่ยนเป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย (สีเหลือง) ระยะห่างจากแนวเขต
ถนนต่างๆ กว้างข้างละ ๔๐ เมตร ตลอดแนวขนานเขตทาง
		 (๓.๒) การใช้ประโยชน์ที่ดินริมฝั่งลำ�คลอง ห้วย หรือแหล่งน้ำ�
สาธารณะให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งไม่น้อยกว่า ๖ เมตร ขอปรับแก้ไขที่ว่างตามพระ
ราชบัญญัติควบคุมอาคาร คือลำ�เหมืองสาธารณะหรือ ลำ�ห้วยที่มีความกว้างน้อยกว่า ๑๐
เมตร ต้องร่นแนวถอยห่างจากเขตแหล่งน้ำ�สาธารณะไม่น้อยกว่า ๓ เมตร ถ้าแหล่ง
น้ำ�มีความกว้างตั้งแต่ ๑๐ เมตร ขึ้นไป ต้องร่นแนวอาคารห่างจากเขตแหล่งน้ำ�สาธารณะ
นั้น ไม่น้อยกว่า ๖ เมตร
	 (๔) ในเขตเทศบาลตำ�บลแม่ตาว
		 (๔.๑) การใช้ประโยชน์ที่ดินริมฝั่งลำ�คลอง ห้วย หรือแหล่งน้ำ�
สาธารณะ ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งไม่น้อยกว่า ๖ เมตร ขอปรับแก้ไขที่ว่างตามพ
ระราชบัญญัติควบคุมอาคาร คือลำ�เหมืองสาธารณะหรือลำ�ห้วยที่มีความกว้างน้อย
กว่า ๑๐ เมตร ต้องร่นแนวถอยห่างจากเขตแหล่งน้ำ�สาธารณะไม่น้อยกว่า ๓ เมตร
ถ้าแหล่งน้ำ�มีความกว้างตั้งแต่ ๑๐ เมตร ขึ้นไป ต้องร่นแนวอาคารห่างจากเขตแหล่งน้ำ�
สาธารณะนั้นไม่น้อยกว่า ๖ เมตร
5
2.indd 5 08-Dec-15 1:49:17 PM
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
การขอรับการสนับสนุนจากนายกรัฐมนตรี
ประเด็น รายละเอียด / ข้อเสนอ
	 (๕) ในเขตเทศบาลตำ�บลท่าสายลวดและองค์การบริหารส่วนตำ�บล ท่าสายลวด
	 ขอให้ปรับแก้ผังเมืองรวมเมืองแม่สอดให้สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงของ
พื้นที่ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยประชาชนได้ประโยชน์สูงสุด
	 ข้อเสนอ : เห็นควรพิจารณานำ�เสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวง มหาดไทย และ
นายกรัฐมนตรี เพื่อเร่งรัดการแก้ไขกฎกระทรวงผังเมืองรวมเมือง แม่สอด พ.ศ.๒๕๕๕
ให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลในการส่งเสริมการค้าชายแดน ผ่านการจัดตั้งเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษตาก โดยใช้มาตรา ๔๔ รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย
(ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. ๒๕๕๗ ด้วย
๓. ประเด็นความสนใจของนักลงทุน 	 เมื่อวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ผู้ว่าราชการจังหวัดตาก นายกเทศมนตรี
นครแม่สอด และกลุ่มพ่อค้าคหบดีที่มีชื่อเสียงของนครแม่สอด พร้อมกลุ่มนักธุรกิจจาก
ประเทศจีน ในนาม บริษัท จงซิงไท่พัฒนา จำ�กัด ได้ร่วมพบปะหารือและสนใจที่จะมาลงทุน
โครงการเมกะโปรเจค โดยผู้ว่าราชการจังหวัดตาก และนายกเทศมนตรีนครแม่สอด ได้
ชักชวนและดึงกลุ่มนักลงทุนจีนเข้ามาลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ซึ่งกลุ่มนัก
ลงทุนจีนสนใจและต้องการลงทุนก่อสร้างคอนโดมิเนียมที่มีขนาดใหญ่ บนเนื้อที่ ๒๕ ไร่ ตั้ง
อยู่ใจกลางเมืองแม่สอด ที่นำ�เสนอเป็นคอนโดหรู ราคาถูก ๑๓ แท่ง ๒,๙๐๐ ห้อง แบบ
ครบวงจรทั้งร้านอาหาร ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า และการบริการสิ่งอำ�นวยความสะดวก
อื่นๆ อย่างครบครัน ในลักษณะของเมืองใหม่นครแม่สอด ใช้ระยะเวลา ๕ ปี แล้วเสร็จเต็ม
โครงการ ด้วยงบประมาณการลงทุนกว่า ๕,๐๐๐ ล้านบาท เป็นธุรกิจที่พักอาศัยที่เตรียม
รองรับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก และการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน AEC
แนวทางการขออนุมัติ
- ออกแบบ ใช้เวลาประมาณ ๓-๔ เดือน
- EIA ใช้เวลาประมาณ ๘-๑๒ เดือน
- การจัดสรรที่ดิน ใช้เวลาประมาณ ๑/๒ เดือน
- ท้องถิ่นอนุมัติ ใช้เวลาประมาณ ๑/๒ เดือน
ข้อห่วงใย
- ความล่าช้าในการอนุมัติ อนุญาต โดยใช้การทำ� EIA เห็นควรมอบให้จังหวัดเป็น
ผู้อนุมัติ อนุญาต
- ประปา, ไฟฟ้า, ระบบระบายน้ำ�, ระบบน้ำ�เสีย, การปรับปรุงภูมิทัศน์ และการ
ป้องกันไฟไหม้ ฯลฯ
ข้อเสนอ : ในระยะเริ่มต้นของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก เห็น
ควรจะต้องมีการเตรียมความพร้อมรองรับการค้าการลงทุน เช่น ระบบสาธารณูปโภค
ไฟฟ้า ประปา ระบบคมนาคมขนส่ง ระบบระบายน้ำ� บำ�บัดน้ำ�เสีย ระบบป้องกันน้ำ�ท่วม
ฯลฯ ให้เพียงพอต่อความต้องการ โดยไม่สร้างปัญหาและผลกระทบแก่ประชาชนในพื้นที่
นอกจากนี้เห็นควรพิจารณาด้านสิทธิประโยชน์ (ยกเว้น ลดหย่อน ผ่อนปรน) ครอบคลุม
กลุ่มนักลงทุนประเภทอสังหาริมทรัพย์ บ้านจัดสรร และคอนโดมิเนียมด้วย และมอบอำ�นาจ
ให้จังหวัดพิจารณาผลกระทบสิ่งแวดล้อม EIA ให้ครอบคลุมประเภทของการลงทุน เพื่อ
ดึงดูดกลุ่มทุนให้เข้ามาลงทุนในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ต่อไป
6
2.indd 6 08-Dec-15 1:49:17 PM
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
การขอรับการสนับสนุนจากนายกรัฐมนตรี
ประเด็น รายละเอียด / ข้อเสนอ
	 รายบริษัท สไมล์ สแน็คแอนด์เบฟเวอเรจ จำ�กัด ในเขตตำ�บลพระธาตุ ผาแดง
อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก (อยู่ในพื้นที่ประกาศเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก) งบ
ลงทุน ๒๐ ล้านบาท
	 (๑) อบต.เห็นชอบอนุญาตให้ก่อสร้างแล้ว
	 (๒) ผังเมืองอยู่ในเขตพื้นที่สีเขียว
	 (๓) เครื่องจักรกำ�ลังผลิตเกิน ๑๕๐ แรงม้า / ต้องขออนุญาตอุตสาหกรรม
	 ข้อเสนอ : เห็นควรพิจารณาปรับแก้กฎระเบียบที่ไม่เอื้อประโยชน์ต่อการส่ง
เสริมการค้าการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก จัดตั้งศูนย์บริการ One Stop
Service (OSS) ให้เบ็ดเสร็จที่เดียว โดยมอบให้เป็นอำ�นาจของผู้ว่าราชการจังหวัดดำ�เนิน
การ
๔. ประเด็นปัญหาการขออนุญาตก่อสร้าง
โรงงาน One Stop Service (OSS)
๕. การจัดเก็บค่าธรรมเนียมแรงงาน
ต่างด้าว ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก
“สหกรณ์แรงงานอาเซียน”
๖. โครงการแม่ละเมา (โครงการเพิ่มน้ำ�ให้
อ่างเก็บน้ำ�เขื่อนภูมิพล ระยะที่ 1)
๗. แผนงาน/โครงการ เพื่อแก้ไขปัญหา
ความเดือดร้อนให้กับประชาชนในพื้นที่
จังหวัดตาก
	 ตามดำ�ริของ พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
แรงงาน ในการประชุมตรวจเยี่ยมพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก เมื่อวันที่ ๑๖
กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมอาคารเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ชั้น ๔ ได้มีดำ�ริ
ในประเด็นสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สมควรได้รับส่วนแบ่งการจัดเก็บค่า
ธรรมเนียมแรงงานต่างด้าว ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก เนื่องจากเกิดผลกระทบ
เกี่ยวกับภาระค่าใช้จ่ายของ อปท.ที่ต้องใช้เพื่อควบคุมและดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจาก
การกระทำ�ของคนต่างด้าวที่อาศัยอยู่ในเขต อปท. เช่น ค่ากำ�จัดขยะ การบำ�บัดน้ำ�เสีย
หรือการแก้ไขปัญหาชุมชนแออัด เป็นต้น
ข้อเสนอ : เห็นควรพิจารณาให้ อปท.ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ได้รับ
ส่วนแบ่งการจัดเก็บค่าธรรมเนียมแรงงานต่างด้าวในพื้นที่ และร่วมเป็นคณะกรรมการด้าน
แรงงานในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก
	 โครงการเพิ่มน้ำ�ในอ่างเก็บน้ำ�เขื่อนภูมิพล กฟผ.ได้ดำ�เนินโครงการศึกษาตามมติ
คณะรัฐมนตรี เมื่อ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๓๕ เพื่อนำ�ไปใช้เป็นมาตรการแก้ไขปัญหาการ
ขาดแคลนน้ำ�ระยะยาว สามารถส่งน้ำ�ไปใช้เพื่อการอุปโภค บริโภค และพื้นที่เกษตรกรรม
ท้ายเขื่อนในฤดูแล้งได้ประมาณ ๒๐,๐๐๐ ไร่ สำ�หรับปริมาณน้ำ�ที่ผันมายังเขื่อนภูมิพลนั้น
สามารถนำ�ไปใช้เพื่อการอุปโภคและบริโภค อุตสาหกรรมหรือเกษตรกรรมด้านท้ายน้ำ�ของ
เขื่อนภูมิพลได้ตามความเหมาะสมและสามารถนำ�มาผลิตกระแสไฟฟ้าเป็นผลพลอยได้อีกด้วย
	 ข้อเสนอ : เพื่อเป็นทางเลือกในการแก้ไขปัญหาวิกฤตการณ์ขาดแคลนน้ำ�ในระยะ
ยาว เห็นควรพิจารณาผลักดันโครงการแม่ละเมา (โครงการเพิ่มน้ำ�ให้อ่างเก็บน้ำ�เขื่อน
ภูมิพล ระยะที่ ๑) ให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมต่อไป
	 (๑) ศูนย์วัฒนธรรมสองแผ่นดิน ตลาดชุมชน ตลาดท่องเที่ยว Land
Markนครแม่สอด บริเวณสนามกีฬาข้างสำ�นักงานเทศบาลนครแม่สอด ๓๐๐ ล้านบาท
	 (๒) ปรับปรุงสำ�นักงานเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ๑๒ ล้านบาท
	 (๓) จัดซื้อรถดับเพลิง / เรือท้องแบนไฟเบอร์กลาสและอุปกรณ์ดับเพลิง / รถตู้	
	 ฉุกเฉิน ศูนย์ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเทศบาลนครแม่สอด ๓๐๐ ล้านบาท
	 (๔) จัดตั้งศูนย์เรียนรู้นานาชาติ ๔ ภาษา (ไทย-อังกฤษ-พม่า-จีน) โรงเรียน	
	 เทศบาล
	 (๕) ระบบป้องกันน้ำ�ท่วมแม่สอด ระยะที่ ๓ ๒๙๐ ล้านบาท
	 (๖) การวางระบบไฟฟ้าใต้ดิน ๑๐๐ ล้านบาท
	 (๗) ติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด CCTV ๕๐ ล้านบาท
7
2.indd 7 08-Dec-15 1:49:18 PM
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
การขอรับการสนับสนุนจากนายกรัฐมนตรี
ประเด็น รายละเอียด / ข้อเสนอ
๘. Social Business นโยบายของ
รัฐบาลไม่สอดคล้องกับระเบียบในการ
อุดหนุนงบประมาณให้ชุมชน ของ อปท.
๙. การบริหารจัดการระบบประปา
๑๑. การขอใช้พื้นที่และขอเพิกถอนป่า
สงวนแห่งชาติ ๓,๐๐๐ ไร่ บริเวณด้านข้าง
และพื้นที่บางส่วนของมหาวิทยาลัยราชภัฏ
กำ�แพงเพชร แม่สอด จำ�นวน ๑๐๐ ไร่
	 (๑) แนวทางการดำ�เนินงาน
	 - การจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนในรูปแบบสหกรณ์
	 - ตั้งกรรมการ ชุมชนประชุมในพื้นที่เพื่อเสนอโครงการไปยัง อปท. และ
	 นำ�เสนอจังหวัดตากเพื่อพิจารณาอุดหนุนให้กับชุมชนนั้นๆ
	 (๒) แก้ไขปัญหา ระเบียบ/กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องและไม่สอดคล้องต่อการทำ�งาน	
	 ของ อปท.ต่อนโยบาย Social Business ของรัฐบาล
	 (๓) อื่นๆ
	 ข้อเสนอ : เห็นควรพิจารณายกเว้นระเบียบให้ อปท.สามารถอุดหนุนงบประมาณ
ให้ชุมชนได้ เนื่องจากมีประเด็นข้อทักท้วงจาก สตง.ในกรณีที่ อปท.อุดหนุนงบประมาณให้
ชุมชน
	 ข้อเสนอ : พิจารณามอบให้ อปท.ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตากที่มีศักยภาพ
และความพร้อมให้สามารถทำ� MOU ร่วมกับการประปาส่วนภูมิภาค เพื่อให้ท้องถิ่นดำ�เนิน
การเองหรือดำ�เนินการการร่วมกัน เป็นต้น
	 (๘) ปรับปรุงถนนและระบบระบายน้ำ� ปรับภูมิทัศน์ ๖๐ ล้านบาท
	 (๙) ปรับปรุงศูนย์กลางการแสดงสินค้าและศูนย์ประชุมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว	
	 (OTOP) ๓๐ ล้านบาท
	 พื้นที่สาธารณประโยชน์หรือพื้นที่ส่วนราชการอื่นที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ในเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษตากให้ อปท.เข้าไปพัฒนาและใช้ประโยชน์หรือบริหารจัดการ
	 ข้อเสนอ : เห็นควรพิจารณาดำ�เนินการสำ�รวจพื้นที่สาธารณประโยชน์หรือพื้นที่
ส่วนราชการอื่นที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก (๘-๓-๓) โดย
มอบให้ อปท.ในพื้นที่เข้าไปพัฒนาและใช้ประโยชน์หรือบริหารจัดทำ�สวนสาธารณะ สนาม
กีฬา ฯลฯ หรืออย่างอื่นที่เหมาะสมต่อไป
	 จังหวัดตาก ได้แต่งตั้งคณะกรรมการสำ�รวจขอใช้พื้นที่จัดตั้งศูนย์ราชการในท้อง
ที่อำ�เภอแม่สอด โดยให้คณะกรรมการสำ�รวจ ตรวจสอบ การขอใช้พื้นที่จัดตั้งศูนย์ราชการ
ในท้องที่อำ�เภอแม่สอด พื้นที่บริเวณตามข้อเสนอของเทศบาลนครแม่สอด คณะทำ�งานฯ ได้
เสนอเป็นข้อพิจารณาไว้เป็น 2 แนวทาง ประกอบด้วย
		 แนวทางที่ 1 เป็นพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ไม่อยู่ในพื้นที่รังวัด สทก.
ของกรมป่าไม้ ไม่อยู่ในพื้นที่สวนป่าของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (สวนป่า
ห้วยบง-แม่กาษา ปี 2530 , สวนป่าพะวอ ปี 2531) มีเนื้อที่ประมาณ 1,500 ไร่
		 แนวทางที่ 2 เพื่อให้มีความเหมาะสมในการใช้พื้นที่มากยิ่งขึ้น เห็นควร
ขออนุญาตใช้พื้นที่บางส่วนของป่าห้วยบง-แม่กาษา เนื้อที่ประมาณ 500 ไร่ ผนวกรวม
ไปด้วย รวมเป็นเนื้อที่ประมาณ 2,000 ไร่ ซึ่งการขออนุญาตในพื้นที่สวนป่า จะต้องมีค่า
ชดเชยการปลูกสร้างและบำ�รุงรักษาสวนป่า กรณีหน่วยงานของรัฐได้รับอนุญาตให้เข้าทำ�
ประโยชน์ในเขตพื้นที่ของสวนป่าของกรมป่าไม้ จำ�นวน 36,724,000 บาท (สามสิบหก
ล้านเจ็ดแสนสองหมื่นสี่พันบาทถ้วน)
ปัจจุบันมีหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน หลายหน่วยงานมีความประสงค์ขอใช้ที่ดิน
บริเวณดังกล่าว เพื่อใช้เป็นศูนย์ราชการแห่งใหม่ ศูนย์กลางระบบขนส่ง โลจิสติกส์
ระบบสาธารณูปโภคผลิตน้ำ�ประปา ศูนย์อาชีวศึกษา สนามกีฬาและสวนสาธารณะ และ
ศูนย์กลางอาหารและสินค้าฮาลาล เป็นต้น
8
2.indd 8 08-Dec-15 1:49:18 PM

More Related Content

Similar to หัวข้อ 10

Similar to หัวข้อ 10 (13)

หัวข้อ 12
หัวข้อ 12หัวข้อ 12
หัวข้อ 12
 
หัวข้อ 02
หัวข้อ 02หัวข้อ 02
หัวข้อ 02
 
หัวข้อ 05
หัวข้อ 05หัวข้อ 05
หัวข้อ 05
 
หัวข้อ 13
หัวข้อ 13หัวข้อ 13
หัวข้อ 13
 
หัวข้อ 21
หัวข้อ 21หัวข้อ 21
หัวข้อ 21
 
คู่มือการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 2559
คู่มือการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 2559คู่มือการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 2559
คู่มือการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 2559
 
หัวข้อ 20
หัวข้อ 20หัวข้อ 20
หัวข้อ 20
 
ของอ้ายต อม ลงเว_ป
ของอ้ายต อม ลงเว_ปของอ้ายต อม ลงเว_ป
ของอ้ายต อม ลงเว_ป
 
หัวข้อ 07
หัวข้อ 07หัวข้อ 07
หัวข้อ 07
 
สรุป พระราชบัญญัติเขตพัฒนาเศรษฐกิจภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 (Eastern Economic Cor...
สรุป พระราชบัญญัติเขตพัฒนาเศรษฐกิจภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 (Eastern Economic Cor...สรุป พระราชบัญญัติเขตพัฒนาเศรษฐกิจภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 (Eastern Economic Cor...
สรุป พระราชบัญญัติเขตพัฒนาเศรษฐกิจภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 (Eastern Economic Cor...
 
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
 
ร่างแผนแม่บทเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเชียงราย
ร่างแผนแม่บทเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเชียงรายร่างแผนแม่บทเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเชียงราย
ร่างแผนแม่บทเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเชียงราย
 
คู่มือการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
คู่มือการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษคู่มือการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
คู่มือการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
 

More from nakornmaesot59 (13)

หัวข้อ 06
หัวข้อ 06หัวข้อ 06
หัวข้อ 06
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
บทนำสารบัญ
บทนำสารบัญบทนำสารบัญ
บทนำสารบัญ
 
หัวข้อ 11
หัวข้อ 11หัวข้อ 11
หัวข้อ 11
 
หัวข้อ 14
หัวข้อ 14หัวข้อ 14
หัวข้อ 14
 
หัวข้อ 15
หัวข้อ 15หัวข้อ 15
หัวข้อ 15
 
หัวข้อ 17
หัวข้อ 17หัวข้อ 17
หัวข้อ 17
 
หัวข้อ 16
หัวข้อ 16หัวข้อ 16
หัวข้อ 16
 
หัวข้อ 19
หัวข้อ 19หัวข้อ 19
หัวข้อ 19
 
หัวข้อ 18
หัวข้อ 18หัวข้อ 18
หัวข้อ 18
 
หัวข้อ 04
หัวข้อ 04หัวข้อ 04
หัวข้อ 04
 
หัวข้อ 03
หัวข้อ 03หัวข้อ 03
หัวข้อ 03
 
หัวข้อ 09
หัวข้อ 09หัวข้อ 09
หัวข้อ 09
 

หัวข้อ 10

  • 1. คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” การขอรับการสนับสนุนจากนายกรัฐมนตรี การขอรับการสนับสนุนจากนายกรัฐมนตรี ประเด็นการขอรับการสนับสนุน จากนายกรัฐมนตรี (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา) *********************************** คณะทำ�งานขับเคลื่อนงานเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตากระดับตำ�บลแม่สอด อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก (ตามคำ� สั่งจังหวัด ที่ ๑๒๗๐/๒๕๕๘ เรื่อง แต่งตั้งคณะทำ�งานขับเคลื่อนงานเขตเศรษฐกิจพิเศษระดับตำ�บล อำ�เภอแม่สอด (เพิ่มเติม) ลงวันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๘ และคำ�สั่งจังหวัดตาก ที่ ๑๖๗๑/๒๕๕๘ เรื่อง แต่งตั้งคณะทำ�งานขับ เคลื่อนงานเขตเศรษฐกิจพิเศษระดับตำ�บล อำ�เภอแม่สอด (เพิ่มเติม) ลงวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๘) ซึ่งได้มีมติ การประชุมสรุปประเด็นปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ ดังต่อไปนี้ ประเด็น รายละเอียด / ข้อเสนอ ๑. ร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการนครแม่สอด พ.ศ.... (ตามหนังสือจังหวัดตาก ที่ ตก ๐๐๒๗.๑/๗๒๐๗ ลงวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ผู้ว่าราชการจังหวัด ตาก ทำ�หนังสือขอรับการสนับสนุนการจัด ตั้งท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” ไป ยังอธิบดี กรมส่งเสริมการปกรองท้องถิ่น) การจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถจัด บริการสาธารณะที่มีคุณภาพแก่ประชาชน และรองรับการเจริญเติบโตของพื้นที่ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ รวมทั้งพัฒนาการบริหารจัดการของท้องถิ่นให้มีระบบที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส เป็นการรวมพื้นที่ของเทศบาลนครแม่สอดและเทศบาลตำ�บลท่าสายลวด จังหวัด ตาก ซึ่งได้ผ่านการประชุมประชาคมรับฟังความคิดเห็นของประชาชนทั้งสองพื้นที่เรียบร้อย แล้ว เพื่อให้มีอำ�นาจหน้าที่และมีศักยภาพเพียงพอต่อการจัดบริการสาธารณะ และดูแล สังคม เป็นประตูเศรษฐกิจที่จะเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน และสามารถพัฒนาให้เป็น ฐานในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุนที่สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ ซึ่ง ร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ....... ได้ผ่านขั้นตอนการ พิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา คณะที่ ๑ โดยท่านมีชัย ฤชุพันธ์ เมื่อวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๕๔ เรียบร้อยแล้ว (สำ�นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแล้ว เรื่องเสร็จที่ ๓๕๐/๒๕๕๔) และผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการการกระจายอำ�นาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เมื่อวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ และวันที่ ๙ธันวาคม ๒๕๕๔ แล้ว โดยผู้ทรงคุณวุฒิหลายท่านได้ให้ความเห็นชอบ ได้แก่ ศ.ดร.บวรศักดิ์ อุ วรรณโณ , รศ.วุฒิสาร ตันไชย , ดร.วิษณุ เครืองาม และ ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ เป็นต้น โดยคณะรัฐมนตรีได้เคยมีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ ๓พฤษภาคม ๒๕๕๔ แต่เนื่องจาก เปลี่ยนรัฐบาลชุดใหม่ ประกอบกับผลการประชุมร่วมระหว่างคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๕๘ ได้มีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงพาณิชย์ เสนอ เรื่องการสถาปนาความสัมพันธ์บ้านพี่เมืองน้อง (Sister City) ระหว่างแม่สอด และเมียวดี ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างความใกล้ชิดระหว่างสองเมืองเพิ่มมากขึ้น อันจะเป็นส่วน สำ�คัญในการ ขยายตัวทางการค้าชายแดน และการลงทุนระหว่างกัน และเป็นประโยชน์ต่อ ทั้งสองประเทศในภาพรวม รวมทั้งสนับสนุนสอดคล้องกับการจัดตั้งนครแม่สอดเป็นองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ที่ต้องมาดูแลสังคม และการจัดบริการสาธารณะรองรับ การเป็นเมืองเศรษฐกิจพิเศษ ตามร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ. .... 3 2.indd 3 08-Dec-15 1:49:17 PM
  • 2. คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” การขอรับการสนับสนุนจากนายกรัฐมนตรี ประเด็น รายละเอียด / ข้อเสนอ ๒. ขอแก้ไขกฎกระทรวงผังเมืองรวมเมือง แม่สอด พ.ศ. ๒๕๕๕ - การจัดทำ�ผังเมืองควรมอบให้จังหวัด เป็นผู้อนุมัติและจัดทำ�ผังเมืองในเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษตาก ครอบคลุมทั้ง ๑๔ ตำ�บล ตามประกาศคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ที่ ๑/๒๕๕๘ ลงวันที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๕๘ เรื่อง กำ�หนดพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ โดยกำ�หนด ให้ท้องที่ตำ�บลท่าสายลวด ตำ�บลพระธาตุผาแดง ตำ�บลแม่กาษา ตำ�บลแม่กุ ตำ�บลแม่ ตาว ตำ�บลแม่ปะ ตำ�บลแม่สอด และตำ�บลมหาวัน อำ�เภอแม่สอด , ตำ�บลช่องแคบ ตำ�บล พบพระ ตำ�บลวาเล่ย์ อำ�เภอพบพระ , ตำ�บลขะเนจื้อ ตำ�บลแม่จะเรา และตำ�บลแม่ระมาด อำ�เภอแม่ระมาด จังหวัดตาก เป็น “เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก” ประกอบกับจังหวัด ตาก ได้มีคำ�สั่งแต่งตั้งคณะทำ�งานขับเคลื่อนงานเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ระดับตำ�บล เพื่อขับเคลื่อนงานเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ในระดับพื้นที่ ทั้งด้านขอบเขตพื้นที่และ การจัดหาที่ดิน ด้านแรงงาน สาธารณสุข และความมั่นคง ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด่าน ศุลกากร ส่งเสริมการศึกษา ฝึกทักษะอาชีพ สร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนในพื้นที่ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สังคม วัฒนธรรมประเพณี และการยกระดับคุณภาพชีวิต ของประชาชนในพื้นที่ ประสานการดำ�เนินงาน ติดตามความคืบหน้าปัญหาและอุปสรรค ของการดำ�เนินงาน คณะทำ�งานขับเคลื่อนงานเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ระดับตำ�บลแม่สอด ตำ�บลท่าสายลวด ตำ�บลแม่ตาว ตำ�บลแม่ปะ และตำ�บลพระธาตุผาแดง ได้พิจาณาแล้ว เห็นว่าผังเมืองรวมเมืองแม่สอดดังกล่าว ไม่สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลในการส่ง เสริมการค้าชายแดน ผ่านการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษตาก จึงเห็นควรแก้ไขกฎกระทรวง ผังเมืองรวมเมืองแม่สอด พ.ศ. ๒๕๕๕ มีพื้นที่ครอบคลุมขนาด ๑๐๖.๕๑ ตารางกิโลเมตร ตำ�บลแม่สอด ตำ�บลท่าสายลวด ตำ�บลแม่ตาว ตำ�บลแม่ปะ และตำ�บลพระธาตุผาแดง อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก ซึ่งจะสิ้นสุดการใช้บังคับวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๖๐ โดยสรุป ประเด็นที่ขอแก้ไข ดังนี้ (๑) ในเขตเทศบาลนครแม่สอด (๑.๑) การใช้ประโยชน์ที่ดินริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๐๕ สาย ตาก – แม่สะเรียง เริ่มต้นจากสามแยกที่บรรจบกับถนนอินทรคีรี และทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข ๑๐๙๐ สายแม่สอด –ตะแง้คี ไปทางทิศตะวันตก เป็นระยะทาง ๖,๖๐๐ เมตร ให้ มีที่ว่างตามแนวขนานริมเขตทางไม่น้อยกว่า ๑๕ เมตร ขอปรับ เปลี่ยนเป็นให้มีที่ว่างไม่ น้อยกว่า ๖ เมตร ตามพระราชบัญญัติกรมทางหลวงเดิม และการประชุมคณะทำ�งาน/ส่วนราชการ จังหวัดตาก เมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘ ได้ เห็นชอบและสนับสนุนการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษนครแม่สอด ตาม ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวด้วย สำ�หรับรูปแบบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษนครแม่สอด มีรูป แบบลักษณะเช่นเดียวกับเมืองพัทยา ซึ่งเมืองพัทยามีจุดเด่นความเป็นเมืองพิเศษด้านการ ท่องเที่ยว แต่ด้วยลักษณะกายภาพทางภูมิศาสตร์ของพื้นที่นครแม่สอด ที่มีจุดเด่นด้าน การค้าขายชายแดน และมีแรงงานต่างด้าวอาศัยอยู่เป็นจำ�นวนมาก จึงทำ�ให้นครแม่สอด เป็นศูนย์กลางการค้าขายชายแดนที่จะเป็นประตูเศรษฐกิจเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน ได้ ดังนั้น นครแม่สอดจึงต้องมีอำ�นาจหน้าที่และมีศักยภาพเพียงพอต่อการจัดบริการ สาธารณะ และดูแลสังคม ที่มีการพัฒนาไปตามยุทธศาสตร์ในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล รองรับการเจริญเติบโตของพื้นที่ รวมทั้งพัฒนาการบริหารจัดการของ ท้องถิ่นให้มีระบบที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ข้อเสนอ : โปรดพิจารณาสนับสนุนและผลักดันร่างพระราชบัญญัติระเบียบ บริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ. ... ให้มีผลบังคับใช้ในโอกาสต่อไป 4 2.indd 4 08-Dec-15 1:49:17 PM
  • 3. คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” การขอรับการสนับสนุนจากนายกรัฐมนตรี ประเด็น รายละเอียด / ข้อเสนอ (๑.๒) การใช้ประโยชน์ที่ดินริมฝั่งลำ�คลอง ห้วย หรือแหล่งน้ำ� สาธารณะ ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งไม่น้อยกว่า ๖ เมตร ขอปรับแก้ไขที่ว่างตามพระ ราชบัญญัติควบคุมอาคาร คือลำ�เหมืองสาธารณะหรือลำ�ห้วยที่มีความกว้างน้อยกว่า ๑๐ เมตร ต้องร่นแนวถอยห่างจากเขตแหล่งน้ำ�สาธารณะไม่น้อยกว่า ๓ เมตร ถ้าแหล่งน้ำ�มี ความกว้างตั้งแต่ ๑๐ เมตร ขึ้นไป ต้องร่นแนวอาคารห่างจากเขตแหล่งน้ำ�สาธารณะนั้น ไม่น้อยกว่า ๖ เมตร (๑.๓) พื้นที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม (สี เขียวอ่อน) บริเวณริมฝั่งเหมืองสาธารณะ ลำ�ห้วย คู คลอง จากผังเมืองรวมเมืองแม่สอด ระยะห่าง ๕๐ เมตร ห้ามปลูกสร้างอาคารประเภทพาณิชยกรรม โรงงาน ฯลฯ ขอปรับ เปลี่ยนเป็น ๖ เมตร และขอปรับเปลี่ยนเป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย (สีเหลือง) เฉพาะ ภายในเขตเทศบาลนครแม่สอด (๑.๔) บริเวณพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) ตามหมายเลข ที่ดิน๕.๖ (บริเวณหลังโรงแรมเซ็นทารา) ตามหมายเลขที่ดิน ๕.๘ (บริเวณหมู่บ้าน แม่สอดวิลล่า)และบางส่วน (บริเวณฝั่งซ้ายคลองชลประทาน สายคลอง ๑ ขวา ๓ ซ้าย ๑ ขวา ถึงคลองชลประทาน คลอง ๓ ซ้าย ๑ ขวา) ขอปรับเปลี่ยนเป็นพื้นที่สีเหลือง ซึ่ง ปัจจุบันได้เป็นหมู่บ้าน และชุมชนต่างๆ แล้ว (๑.๕) แนวเขตเทศบาลนครแม่สอด ควรปรับแก้ไขใช้แนวเขตที่ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๔ (๒) ในเขตองค์การบริหารส่วนตำ�บลแม่ปะ (๒.๑) ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) หมายเลขที่ดิน ๕.๑, ๕.๒, ๕.๓, ๕.๔, ๕.๕, ๕.๖, ๕.๗ และ ๕.๘ ขอปรับเปลี่ยนเป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย(สีเหลืองทั้งหมด) (๒.๒) ที่ดินประเภทอนุรักษ์ป่าไม้ (สีเขียวอ่อนมีเส้นทแยงสีขาว) ซึ่งเป็นป่าไม้ถาวรตามมติ คณะรัฐมนตรีป่าแม่สอด ขอปรับเปลี่ยนเป็นที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) (๓) ในเขตองค์การบริหารส่วนตำ�บลพระธาตุผาแดง (๓.๑) ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) ตลอดแนว ขนาน เส้นทางหลวงหมายเลข ๑๐๙๐ ถนนหมายเลข ง๓ และ ถนนศรีพาณิช – แม่สอด ขอปรับเปลี่ยนเป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย (สีเหลือง) ระยะห่างจากแนวเขต ถนนต่างๆ กว้างข้างละ ๔๐ เมตร ตลอดแนวขนานเขตทาง (๓.๒) การใช้ประโยชน์ที่ดินริมฝั่งลำ�คลอง ห้วย หรือแหล่งน้ำ� สาธารณะให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งไม่น้อยกว่า ๖ เมตร ขอปรับแก้ไขที่ว่างตามพระ ราชบัญญัติควบคุมอาคาร คือลำ�เหมืองสาธารณะหรือ ลำ�ห้วยที่มีความกว้างน้อยกว่า ๑๐ เมตร ต้องร่นแนวถอยห่างจากเขตแหล่งน้ำ�สาธารณะไม่น้อยกว่า ๓ เมตร ถ้าแหล่ง น้ำ�มีความกว้างตั้งแต่ ๑๐ เมตร ขึ้นไป ต้องร่นแนวอาคารห่างจากเขตแหล่งน้ำ�สาธารณะ นั้น ไม่น้อยกว่า ๖ เมตร (๔) ในเขตเทศบาลตำ�บลแม่ตาว (๔.๑) การใช้ประโยชน์ที่ดินริมฝั่งลำ�คลอง ห้วย หรือแหล่งน้ำ� สาธารณะ ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งไม่น้อยกว่า ๖ เมตร ขอปรับแก้ไขที่ว่างตามพ ระราชบัญญัติควบคุมอาคาร คือลำ�เหมืองสาธารณะหรือลำ�ห้วยที่มีความกว้างน้อย กว่า ๑๐ เมตร ต้องร่นแนวถอยห่างจากเขตแหล่งน้ำ�สาธารณะไม่น้อยกว่า ๓ เมตร ถ้าแหล่งน้ำ�มีความกว้างตั้งแต่ ๑๐ เมตร ขึ้นไป ต้องร่นแนวอาคารห่างจากเขตแหล่งน้ำ� สาธารณะนั้นไม่น้อยกว่า ๖ เมตร 5 2.indd 5 08-Dec-15 1:49:17 PM
  • 4. คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” การขอรับการสนับสนุนจากนายกรัฐมนตรี ประเด็น รายละเอียด / ข้อเสนอ (๕) ในเขตเทศบาลตำ�บลท่าสายลวดและองค์การบริหารส่วนตำ�บล ท่าสายลวด ขอให้ปรับแก้ผังเมืองรวมเมืองแม่สอดให้สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงของ พื้นที่ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยประชาชนได้ประโยชน์สูงสุด ข้อเสนอ : เห็นควรพิจารณานำ�เสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวง มหาดไทย และ นายกรัฐมนตรี เพื่อเร่งรัดการแก้ไขกฎกระทรวงผังเมืองรวมเมือง แม่สอด พ.ศ.๒๕๕๕ ให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลในการส่งเสริมการค้าชายแดน ผ่านการจัดตั้งเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษตาก โดยใช้มาตรา ๔๔ รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. ๒๕๕๗ ด้วย ๓. ประเด็นความสนใจของนักลงทุน เมื่อวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ผู้ว่าราชการจังหวัดตาก นายกเทศมนตรี นครแม่สอด และกลุ่มพ่อค้าคหบดีที่มีชื่อเสียงของนครแม่สอด พร้อมกลุ่มนักธุรกิจจาก ประเทศจีน ในนาม บริษัท จงซิงไท่พัฒนา จำ�กัด ได้ร่วมพบปะหารือและสนใจที่จะมาลงทุน โครงการเมกะโปรเจค โดยผู้ว่าราชการจังหวัดตาก และนายกเทศมนตรีนครแม่สอด ได้ ชักชวนและดึงกลุ่มนักลงทุนจีนเข้ามาลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ซึ่งกลุ่มนัก ลงทุนจีนสนใจและต้องการลงทุนก่อสร้างคอนโดมิเนียมที่มีขนาดใหญ่ บนเนื้อที่ ๒๕ ไร่ ตั้ง อยู่ใจกลางเมืองแม่สอด ที่นำ�เสนอเป็นคอนโดหรู ราคาถูก ๑๓ แท่ง ๒,๙๐๐ ห้อง แบบ ครบวงจรทั้งร้านอาหาร ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า และการบริการสิ่งอำ�นวยความสะดวก อื่นๆ อย่างครบครัน ในลักษณะของเมืองใหม่นครแม่สอด ใช้ระยะเวลา ๕ ปี แล้วเสร็จเต็ม โครงการ ด้วยงบประมาณการลงทุนกว่า ๕,๐๐๐ ล้านบาท เป็นธุรกิจที่พักอาศัยที่เตรียม รองรับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก และการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน AEC แนวทางการขออนุมัติ - ออกแบบ ใช้เวลาประมาณ ๓-๔ เดือน - EIA ใช้เวลาประมาณ ๘-๑๒ เดือน - การจัดสรรที่ดิน ใช้เวลาประมาณ ๑/๒ เดือน - ท้องถิ่นอนุมัติ ใช้เวลาประมาณ ๑/๒ เดือน ข้อห่วงใย - ความล่าช้าในการอนุมัติ อนุญาต โดยใช้การทำ� EIA เห็นควรมอบให้จังหวัดเป็น ผู้อนุมัติ อนุญาต - ประปา, ไฟฟ้า, ระบบระบายน้ำ�, ระบบน้ำ�เสีย, การปรับปรุงภูมิทัศน์ และการ ป้องกันไฟไหม้ ฯลฯ ข้อเสนอ : ในระยะเริ่มต้นของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก เห็น ควรจะต้องมีการเตรียมความพร้อมรองรับการค้าการลงทุน เช่น ระบบสาธารณูปโภค ไฟฟ้า ประปา ระบบคมนาคมขนส่ง ระบบระบายน้ำ� บำ�บัดน้ำ�เสีย ระบบป้องกันน้ำ�ท่วม ฯลฯ ให้เพียงพอต่อความต้องการ โดยไม่สร้างปัญหาและผลกระทบแก่ประชาชนในพื้นที่ นอกจากนี้เห็นควรพิจารณาด้านสิทธิประโยชน์ (ยกเว้น ลดหย่อน ผ่อนปรน) ครอบคลุม กลุ่มนักลงทุนประเภทอสังหาริมทรัพย์ บ้านจัดสรร และคอนโดมิเนียมด้วย และมอบอำ�นาจ ให้จังหวัดพิจารณาผลกระทบสิ่งแวดล้อม EIA ให้ครอบคลุมประเภทของการลงทุน เพื่อ ดึงดูดกลุ่มทุนให้เข้ามาลงทุนในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ต่อไป 6 2.indd 6 08-Dec-15 1:49:17 PM
  • 5. คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” การขอรับการสนับสนุนจากนายกรัฐมนตรี ประเด็น รายละเอียด / ข้อเสนอ รายบริษัท สไมล์ สแน็คแอนด์เบฟเวอเรจ จำ�กัด ในเขตตำ�บลพระธาตุ ผาแดง อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก (อยู่ในพื้นที่ประกาศเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก) งบ ลงทุน ๒๐ ล้านบาท (๑) อบต.เห็นชอบอนุญาตให้ก่อสร้างแล้ว (๒) ผังเมืองอยู่ในเขตพื้นที่สีเขียว (๓) เครื่องจักรกำ�ลังผลิตเกิน ๑๕๐ แรงม้า / ต้องขออนุญาตอุตสาหกรรม ข้อเสนอ : เห็นควรพิจารณาปรับแก้กฎระเบียบที่ไม่เอื้อประโยชน์ต่อการส่ง เสริมการค้าการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก จัดตั้งศูนย์บริการ One Stop Service (OSS) ให้เบ็ดเสร็จที่เดียว โดยมอบให้เป็นอำ�นาจของผู้ว่าราชการจังหวัดดำ�เนิน การ ๔. ประเด็นปัญหาการขออนุญาตก่อสร้าง โรงงาน One Stop Service (OSS) ๕. การจัดเก็บค่าธรรมเนียมแรงงาน ต่างด้าว ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก “สหกรณ์แรงงานอาเซียน” ๖. โครงการแม่ละเมา (โครงการเพิ่มน้ำ�ให้ อ่างเก็บน้ำ�เขื่อนภูมิพล ระยะที่ 1) ๗. แผนงาน/โครงการ เพื่อแก้ไขปัญหา ความเดือดร้อนให้กับประชาชนในพื้นที่ จังหวัดตาก ตามดำ�ริของ พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวง แรงงาน ในการประชุมตรวจเยี่ยมพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก เมื่อวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมอาคารเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ชั้น ๔ ได้มีดำ�ริ ในประเด็นสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สมควรได้รับส่วนแบ่งการจัดเก็บค่า ธรรมเนียมแรงงานต่างด้าว ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก เนื่องจากเกิดผลกระทบ เกี่ยวกับภาระค่าใช้จ่ายของ อปท.ที่ต้องใช้เพื่อควบคุมและดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจาก การกระทำ�ของคนต่างด้าวที่อาศัยอยู่ในเขต อปท. เช่น ค่ากำ�จัดขยะ การบำ�บัดน้ำ�เสีย หรือการแก้ไขปัญหาชุมชนแออัด เป็นต้น ข้อเสนอ : เห็นควรพิจารณาให้ อปท.ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ได้รับ ส่วนแบ่งการจัดเก็บค่าธรรมเนียมแรงงานต่างด้าวในพื้นที่ และร่วมเป็นคณะกรรมการด้าน แรงงานในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก โครงการเพิ่มน้ำ�ในอ่างเก็บน้ำ�เขื่อนภูมิพล กฟผ.ได้ดำ�เนินโครงการศึกษาตามมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๓๕ เพื่อนำ�ไปใช้เป็นมาตรการแก้ไขปัญหาการ ขาดแคลนน้ำ�ระยะยาว สามารถส่งน้ำ�ไปใช้เพื่อการอุปโภค บริโภค และพื้นที่เกษตรกรรม ท้ายเขื่อนในฤดูแล้งได้ประมาณ ๒๐,๐๐๐ ไร่ สำ�หรับปริมาณน้ำ�ที่ผันมายังเขื่อนภูมิพลนั้น สามารถนำ�ไปใช้เพื่อการอุปโภคและบริโภค อุตสาหกรรมหรือเกษตรกรรมด้านท้ายน้ำ�ของ เขื่อนภูมิพลได้ตามความเหมาะสมและสามารถนำ�มาผลิตกระแสไฟฟ้าเป็นผลพลอยได้อีกด้วย ข้อเสนอ : เพื่อเป็นทางเลือกในการแก้ไขปัญหาวิกฤตการณ์ขาดแคลนน้ำ�ในระยะ ยาว เห็นควรพิจารณาผลักดันโครงการแม่ละเมา (โครงการเพิ่มน้ำ�ให้อ่างเก็บน้ำ�เขื่อน ภูมิพล ระยะที่ ๑) ให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมต่อไป (๑) ศูนย์วัฒนธรรมสองแผ่นดิน ตลาดชุมชน ตลาดท่องเที่ยว Land Markนครแม่สอด บริเวณสนามกีฬาข้างสำ�นักงานเทศบาลนครแม่สอด ๓๐๐ ล้านบาท (๒) ปรับปรุงสำ�นักงานเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ๑๒ ล้านบาท (๓) จัดซื้อรถดับเพลิง / เรือท้องแบนไฟเบอร์กลาสและอุปกรณ์ดับเพลิง / รถตู้ ฉุกเฉิน ศูนย์ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเทศบาลนครแม่สอด ๓๐๐ ล้านบาท (๔) จัดตั้งศูนย์เรียนรู้นานาชาติ ๔ ภาษา (ไทย-อังกฤษ-พม่า-จีน) โรงเรียน เทศบาล (๕) ระบบป้องกันน้ำ�ท่วมแม่สอด ระยะที่ ๓ ๒๙๐ ล้านบาท (๖) การวางระบบไฟฟ้าใต้ดิน ๑๐๐ ล้านบาท (๗) ติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด CCTV ๕๐ ล้านบาท 7 2.indd 7 08-Dec-15 1:49:18 PM
  • 6. คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” การขอรับการสนับสนุนจากนายกรัฐมนตรี ประเด็น รายละเอียด / ข้อเสนอ ๘. Social Business นโยบายของ รัฐบาลไม่สอดคล้องกับระเบียบในการ อุดหนุนงบประมาณให้ชุมชน ของ อปท. ๙. การบริหารจัดการระบบประปา ๑๑. การขอใช้พื้นที่และขอเพิกถอนป่า สงวนแห่งชาติ ๓,๐๐๐ ไร่ บริเวณด้านข้าง และพื้นที่บางส่วนของมหาวิทยาลัยราชภัฏ กำ�แพงเพชร แม่สอด จำ�นวน ๑๐๐ ไร่ (๑) แนวทางการดำ�เนินงาน - การจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนในรูปแบบสหกรณ์ - ตั้งกรรมการ ชุมชนประชุมในพื้นที่เพื่อเสนอโครงการไปยัง อปท. และ นำ�เสนอจังหวัดตากเพื่อพิจารณาอุดหนุนให้กับชุมชนนั้นๆ (๒) แก้ไขปัญหา ระเบียบ/กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องและไม่สอดคล้องต่อการทำ�งาน ของ อปท.ต่อนโยบาย Social Business ของรัฐบาล (๓) อื่นๆ ข้อเสนอ : เห็นควรพิจารณายกเว้นระเบียบให้ อปท.สามารถอุดหนุนงบประมาณ ให้ชุมชนได้ เนื่องจากมีประเด็นข้อทักท้วงจาก สตง.ในกรณีที่ อปท.อุดหนุนงบประมาณให้ ชุมชน ข้อเสนอ : พิจารณามอบให้ อปท.ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตากที่มีศักยภาพ และความพร้อมให้สามารถทำ� MOU ร่วมกับการประปาส่วนภูมิภาค เพื่อให้ท้องถิ่นดำ�เนิน การเองหรือดำ�เนินการการร่วมกัน เป็นต้น (๘) ปรับปรุงถนนและระบบระบายน้ำ� ปรับภูมิทัศน์ ๖๐ ล้านบาท (๙) ปรับปรุงศูนย์กลางการแสดงสินค้าและศูนย์ประชุมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว (OTOP) ๓๐ ล้านบาท พื้นที่สาธารณประโยชน์หรือพื้นที่ส่วนราชการอื่นที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ในเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษตากให้ อปท.เข้าไปพัฒนาและใช้ประโยชน์หรือบริหารจัดการ ข้อเสนอ : เห็นควรพิจารณาดำ�เนินการสำ�รวจพื้นที่สาธารณประโยชน์หรือพื้นที่ ส่วนราชการอื่นที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก (๘-๓-๓) โดย มอบให้ อปท.ในพื้นที่เข้าไปพัฒนาและใช้ประโยชน์หรือบริหารจัดทำ�สวนสาธารณะ สนาม กีฬา ฯลฯ หรืออย่างอื่นที่เหมาะสมต่อไป จังหวัดตาก ได้แต่งตั้งคณะกรรมการสำ�รวจขอใช้พื้นที่จัดตั้งศูนย์ราชการในท้อง ที่อำ�เภอแม่สอด โดยให้คณะกรรมการสำ�รวจ ตรวจสอบ การขอใช้พื้นที่จัดตั้งศูนย์ราชการ ในท้องที่อำ�เภอแม่สอด พื้นที่บริเวณตามข้อเสนอของเทศบาลนครแม่สอด คณะทำ�งานฯ ได้ เสนอเป็นข้อพิจารณาไว้เป็น 2 แนวทาง ประกอบด้วย แนวทางที่ 1 เป็นพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ไม่อยู่ในพื้นที่รังวัด สทก. ของกรมป่าไม้ ไม่อยู่ในพื้นที่สวนป่าของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (สวนป่า ห้วยบง-แม่กาษา ปี 2530 , สวนป่าพะวอ ปี 2531) มีเนื้อที่ประมาณ 1,500 ไร่ แนวทางที่ 2 เพื่อให้มีความเหมาะสมในการใช้พื้นที่มากยิ่งขึ้น เห็นควร ขออนุญาตใช้พื้นที่บางส่วนของป่าห้วยบง-แม่กาษา เนื้อที่ประมาณ 500 ไร่ ผนวกรวม ไปด้วย รวมเป็นเนื้อที่ประมาณ 2,000 ไร่ ซึ่งการขออนุญาตในพื้นที่สวนป่า จะต้องมีค่า ชดเชยการปลูกสร้างและบำ�รุงรักษาสวนป่า กรณีหน่วยงานของรัฐได้รับอนุญาตให้เข้าทำ� ประโยชน์ในเขตพื้นที่ของสวนป่าของกรมป่าไม้ จำ�นวน 36,724,000 บาท (สามสิบหก ล้านเจ็ดแสนสองหมื่นสี่พันบาทถ้วน) ปัจจุบันมีหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน หลายหน่วยงานมีความประสงค์ขอใช้ที่ดิน บริเวณดังกล่าว เพื่อใช้เป็นศูนย์ราชการแห่งใหม่ ศูนย์กลางระบบขนส่ง โลจิสติกส์ ระบบสาธารณูปโภคผลิตน้ำ�ประปา ศูนย์อาชีวศึกษา สนามกีฬาและสวนสาธารณะ และ ศูนย์กลางอาหารและสินค้าฮาลาล เป็นต้น 8 2.indd 8 08-Dec-15 1:49:18 PM