SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
3
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
ความเป็นมาในการจัดตั้งท้องถิ่นรูปแบบ
พิเศษนครแม่สอด
	 ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๗ ในการประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจร ที่อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก ได้
มีมติเห็นชอบแนวทางการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ในพื้นที่ ๓ อำ�เภอ ฝั่งตะวันตกของจังหวัดตาก ประกอบด้วย อำ�เภอ
แม่สอด อำ�เภอแม่ระมาด และอำ�เภอพบพระ เพื่อรองรับการขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจ การค้าชายแดนการลงทุนในภาค
อุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว และมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๓ เห็นชอบการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ
อำ�เภอแม่สอด เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในปี ๒๕๕๘ เป็นประตูสู่อันดามันตามเส้นทาง
ระเบียงเศรษฐกิจ East West Economic Corridor ต่อมาเมื่อวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๕๖ นายกรัฐมนตรีพร้อมคณะ ได้
เดินทางลงพื้นที่ตรวจราชการ อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตากได้ประกาศให้มีการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษแม่สอดเป็นแห่งแรก
ของประเทศไทย และให้นครแม่สอดเป็นหนึ่งในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ที่จะมีการเสนอผ่านคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษ และเมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๕๖ ในการประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจร จังหวัดอุตรดิตถ์
	 ที่ประชุมมีมติเห็นชอบร่างระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. ..... ซึ่งต่อมานายก
รัฐมนตรีได้ลงนามในระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖ และลงประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา เล่มที่ ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๘๗ ง ลงวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๖ เรียบร้อยแล้ว และได้มีการประชุมคณะกรรมการ
นโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๕๖ ณ ทำ�เนียบรัฐบาล เพื่อติดตาม
ความคืบหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษทวายและพื้นที่โครงการที่
เกี่ยวข้อง ระหว่างไทยและเมียนมาร์ ซึ่งได้กำ�หนดโครงการให้มีความ
สำ�คัญเร่งด่วนที่จะดำ�เนินการให้แล้วเสร็จในปี ๒๕๕๘ และจะเป็นประตู
เข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเฉพาะการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
พิเศษแม่สอด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษนคร
แม่สอด นครเกาะสมุย สุวรรณภูมิ และอื่นๆ ซึ่งประเทศชาติจะ
ได้รับประโยชน์อย่างมหาศาล หากมีการยกฐานะและพัฒนาท้องถิ่นใน
รูปแบบพิเศษให้สอดคล้องกับ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ เช่น นคร
แม่สอด จะเกิดการค้า การลงทุนทั้งระดับท้องถิ่น และภาพรวมของ
ประเทศมากขึ้น จะก่อให้เกิดรายได้ในมิติของการค้าการลงทุน การ
ท่องเที่ยว เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ เพิ่มคุณภาพชีวิตและโอกาส
ที่ดีให้ประชาชนในท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ มีการกระจายรายได้ไปสู่ประชาชนในทุกพื้นที่จากการจัดเก็บภาษีอากรพัฒนาท้องถิ่น
รูปแบบพิเศษสร้างประโยชน์ให้ประเทศชาติทำ�ให้เกิดการพัฒนาในมิติต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
ความเป็นมาในการจัดตั้งท้องถิ่นรูปแบบพิเศษนครแม่สอด
2.indd 3 08-Dec-15 9:17:54 AM
4
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
ความเป็นมาในการจัดตั้งท้องถิ่นรูปแบบพิเศษนครแม่สอด
		 ประกอบกับคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) พร้อมทั้งหน่วย
งานด้านเศรษฐกิจ การเงิน การธนาคารและการคลัง รวมทั้งภาคเอกชน ได้มี
แนวทางการบริหารงาน หรือโรดแมป (Road map) โดยมีนโยบาย ที่ต้องทำ�
ควบคู่ไปกับนโยบายเร่งด่วนในการส่งเสริมการค้าชายแดน ผ่านการจัดตั้งเขต
เศรษฐกิจพิเศษด้วยศักยภาพความพร้อมของแม่สอด และจากผลการศึกษาวิจัย
ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยราชภัฏ
กำ�แพงเพชรแม่สอดซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ ได้มีความเห็นสอดคล้องกัน เนื่องจาก
แม่สอดเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพและความพร้อมของเมืองสูงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ
การลงทุนภาคอุตสาหกรรม ภาคการเกษตร และการท่องเที่ยว โดยมีมูลค่าการ
ค้าชายแดนด่านพรมแดนแม่สอด – เมียวดี มากกว่าปีละ ๔๐,๐๐๐ ล้านบาท เป็น
ประตูสู่ยุโรปตามเส้นทาง EWECวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๕๖ และเป็นประธานการ
ประชุม คณะรัฐมนตรีสัญจร ที่จังหวัดอุตรดิตถ์ เมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๕๖
ที่ประชุมมีมติเห็นชอบร่างระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. ..... โดยให้มีการจัดตั้งเขต
พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษแม่สอดเป็นแห่งแรกของประเทศไทย และให้นครแม่สอดเป็นหนึ่งใน
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษที่จะมีการเสนอผ่านคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
พิเศษ ซึ่งนายกรัฐมนตรี ได้มอบหมายให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ติดตาม
โครงการพัฒนาพื้นที่อำ�เภอแม่สอดที่ต้องเร่งดำ�เนินการ เพื่อรองรับการจัดตั้งเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษแม่สอด ท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” และการนำ�เข้าสู่
ประชาคมอาเซียน (AEC) เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการดำ�เนินการให้เป็นไปตาม
ระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. ... เมื่อมีผลบังคับ
ใช้แล้วให้เป็นไปด้วยความถูกต้อง รวดเร็ว และเป็นรูปธรรม จึงเห็นควรที่จะเร่งดำ�เนินการ
ออกกฎหมาย ร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ. ... ให้มีผล
บังคับใช้โดยเร่งด่วน เนื่องจากเหตุผลและความจำ�เป็น ดังนี้
	 ๑. เป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๗๘(๓) บัญญัติให้รัฐ
ต้องดำ�เนินการตามแนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน โดยเฉพาะนโยบายด้าน
การกระจายอำ�นาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้สามารถพึ่งตนเองได้และตัดสินใจ
ในกิจการของท้องถิ่นเองได้ รวมทั้งพัฒนาจังหวัดที่มีความพร้อมให้เป็นองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่ ประกอบกับ มาตรา ๒๘๙ วรรคเก้า ซึ่งบัญญัติให้จัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษที่มี
โครงสร้างการบริหารที่แตกต่างจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วไปได้ภายใต้เงื่อนไขที่ว่าคณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้อง
ถิ่นต้องมาจากการเลือกตั้ง จึงสมควรสนับสนุนให้พื้นที่ในส่วนของเทศบาล นครแม่สอดและเทศบาลท่าสายลวด จังหวัดตาก ซึ่ง
มีศักยภาพในการเป็นประตูเศรษฐกิจที่จะเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน และสามารถพัฒนาให้เป็นฐานในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
การค้า และการลงทุนที่สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ ได้จัดตั้งขึ้นเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ เพื่อให้
สามารถจัดบริการสาธารณะที่มีคุณภาพแก่ประชาชนและรองรับการเจริญเติบโตของพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
	 ๒. รัฐบาลมีนโยบายจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษขึ้นเพื่อส่งเสริมการค้าและการลงทุนของประเทศ โดยใช้ประโยชน์
จากความเชื่อมโยงด้านคมนาคมขนส่งของภูมิภาคอาเซียนและข้อตกลงการค้าเสรีภายใต้กรอบอาเซียน และนโยบายสนับสนุนการ
ดำ�เนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีระบบที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และสามารถให้บริการสาธารณะตอบสนองความ
ต้องการของประชาชนได้ตามความคาดหวัง ประกอบกับ ายกรัฐมนตรี ประกาศอย่างชัดเจนว่าจะจัดตั้งเขตพิเศษ โดยให้นคร
แม่สอดเป็นแห่งแรกที่จะจัดตั้งเป็นเขตเศรษฐกิจแม่สอด อีกทั้งกระทรวงมหาดไทย พิจารณาแล้วเห็นว่า ร่างระเบียบสำ�นักนายก
รัฐมนตรี ว่าด้วยเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. ...
2.indd 4 08-Dec-15 9:17:54 AM
คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”
			 มีเนื้อหาในการส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีศักยภาพสามารถพัฒนาพื้นที่
ของตนขึ้นเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษที่มีระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน และภาพวดล้อม
ที่เหมาะสม และจำ�เป็นต่อการรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจอันเนื่องจากการค้าบริเวณพรมแดนและการค้าเสรีภายใต้กรอบ
อาเซียนได้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการการพัฒนายั่งยืนและหลัก
การมีส่วนร่วมของประชาชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม จึงเห็นควรให้ความเห็นชอบใน
หลักการ ดังนั้น เพื่อให้การดำ�เนินการตามนโยบายดังกล่าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงมีความจำ�เป็นต้องมีกลไกลขับเคลื่อน
การส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีศักยภาพโดยเฉพาะการปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ“นครแม่สอด”
สามารถพัฒนาพื้นที่ขึ้นเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษที่มีระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน และ
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมจำ�เป็นต่อการรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ อันเนื่องมาจากการค้าบริเวณพรมแดนและการค้าเสรี
ได้กรอบอาเซียน
			 ๓. ระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. ...กำ�หนดบทนิยามคำ�ว่า
“เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ”หมายความว่า พื้นที่ทั้งหมดหรือบางส่วนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหนึ่งหรือหลายแห่งที่ได้รับ
สนับสนุนจากรัฐในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำ�เป็นต่อการค้าสินค้าหรือบริการ หรือการลงทุนเพื่อรองรับการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจอันเนื่องมาจากการค้าบริเวณพรมแดนและการค้าเสรีภายใต้กรอบอาเซียน รวมทั้ง
การพัฒนาระบบการให้บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จที่สอดคล้องกับระบบ ASEAN Single
Window สภาพพื้นที่ของเทศบาลนครแม่สอดในปัจจุบัน ไม่มีพื้นที่ติดต่อบริเวณพรมแดน
จึงจำ�เป็นต้องจัดตั้งนครแม่สอดขึ้นเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มีเขตพื้นที่ครอบคลุม
พื้นที่ของเทศบาลนครแม่สอดและเทศบาลตำ�บลท่าสายลวด ตามร่างพระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ. .
ความเป็นมาในการจัดตั้งท้องถิ่นรูปแบบพิเศษนครแม่สอด 5
2.indd 5 08-Dec-15 9:17:55 AM

More Related Content

More from nakornmaesot59

More from nakornmaesot59 (17)

หัวข้อ 06
หัวข้อ 06หัวข้อ 06
หัวข้อ 06
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
บทนำสารบัญ
บทนำสารบัญบทนำสารบัญ
บทนำสารบัญ
 
หัวข้อ 11
หัวข้อ 11หัวข้อ 11
หัวข้อ 11
 
หัวข้อ 14
หัวข้อ 14หัวข้อ 14
หัวข้อ 14
 
หัวข้อ 15
หัวข้อ 15หัวข้อ 15
หัวข้อ 15
 
หัวข้อ 13
หัวข้อ 13หัวข้อ 13
หัวข้อ 13
 
หัวข้อ 17
หัวข้อ 17หัวข้อ 17
หัวข้อ 17
 
หัวข้อ 16
หัวข้อ 16หัวข้อ 16
หัวข้อ 16
 
หัวข้อ 19
หัวข้อ 19หัวข้อ 19
หัวข้อ 19
 
หัวข้อ 18
หัวข้อ 18หัวข้อ 18
หัวข้อ 18
 
หัวข้อ 20
หัวข้อ 20หัวข้อ 20
หัวข้อ 20
 
หัวข้อ 04
หัวข้อ 04หัวข้อ 04
หัวข้อ 04
 
หัวข้อ 03
หัวข้อ 03หัวข้อ 03
หัวข้อ 03
 
หัวข้อ 05
หัวข้อ 05หัวข้อ 05
หัวข้อ 05
 
หัวข้อ 07
หัวข้อ 07หัวข้อ 07
หัวข้อ 07
 
หัวข้อ 09
หัวข้อ 09หัวข้อ 09
หัวข้อ 09
 

หัวข้อ 01

  • 1. 3 คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” ความเป็นมาในการจัดตั้งท้องถิ่นรูปแบบ พิเศษนครแม่สอด ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๗ ในการประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจร ที่อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก ได้ มีมติเห็นชอบแนวทางการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ในพื้นที่ ๓ อำ�เภอ ฝั่งตะวันตกของจังหวัดตาก ประกอบด้วย อำ�เภอ แม่สอด อำ�เภอแม่ระมาด และอำ�เภอพบพระ เพื่อรองรับการขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจ การค้าชายแดนการลงทุนในภาค อุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว และมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๓ เห็นชอบการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ อำ�เภอแม่สอด เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในปี ๒๕๕๘ เป็นประตูสู่อันดามันตามเส้นทาง ระเบียงเศรษฐกิจ East West Economic Corridor ต่อมาเมื่อวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๕๖ นายกรัฐมนตรีพร้อมคณะ ได้ เดินทางลงพื้นที่ตรวจราชการ อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตากได้ประกาศให้มีการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษแม่สอดเป็นแห่งแรก ของประเทศไทย และให้นครแม่สอดเป็นหนึ่งในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ที่จะมีการเสนอผ่านคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษ และเมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๕๖ ในการประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจร จังหวัดอุตรดิตถ์ ที่ประชุมมีมติเห็นชอบร่างระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. ..... ซึ่งต่อมานายก รัฐมนตรีได้ลงนามในระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖ และลงประกาศในราชกิจจา นุเบกษา เล่มที่ ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๘๗ ง ลงวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๖ เรียบร้อยแล้ว และได้มีการประชุมคณะกรรมการ นโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๕๖ ณ ทำ�เนียบรัฐบาล เพื่อติดตาม ความคืบหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษทวายและพื้นที่โครงการที่ เกี่ยวข้อง ระหว่างไทยและเมียนมาร์ ซึ่งได้กำ�หนดโครงการให้มีความ สำ�คัญเร่งด่วนที่จะดำ�เนินการให้แล้วเสร็จในปี ๒๕๕๘ และจะเป็นประตู เข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเฉพาะการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษแม่สอด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษนคร แม่สอด นครเกาะสมุย สุวรรณภูมิ และอื่นๆ ซึ่งประเทศชาติจะ ได้รับประโยชน์อย่างมหาศาล หากมีการยกฐานะและพัฒนาท้องถิ่นใน รูปแบบพิเศษให้สอดคล้องกับ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ เช่น นคร แม่สอด จะเกิดการค้า การลงทุนทั้งระดับท้องถิ่น และภาพรวมของ ประเทศมากขึ้น จะก่อให้เกิดรายได้ในมิติของการค้าการลงทุน การ ท่องเที่ยว เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ เพิ่มคุณภาพชีวิตและโอกาส ที่ดีให้ประชาชนในท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ มีการกระจายรายได้ไปสู่ประชาชนในทุกพื้นที่จากการจัดเก็บภาษีอากรพัฒนาท้องถิ่น รูปแบบพิเศษสร้างประโยชน์ให้ประเทศชาติทำ�ให้เกิดการพัฒนาในมิติต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ความเป็นมาในการจัดตั้งท้องถิ่นรูปแบบพิเศษนครแม่สอด 2.indd 3 08-Dec-15 9:17:54 AM
  • 2. 4 คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” ความเป็นมาในการจัดตั้งท้องถิ่นรูปแบบพิเศษนครแม่สอด ประกอบกับคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) พร้อมทั้งหน่วย งานด้านเศรษฐกิจ การเงิน การธนาคารและการคลัง รวมทั้งภาคเอกชน ได้มี แนวทางการบริหารงาน หรือโรดแมป (Road map) โดยมีนโยบาย ที่ต้องทำ� ควบคู่ไปกับนโยบายเร่งด่วนในการส่งเสริมการค้าชายแดน ผ่านการจัดตั้งเขต เศรษฐกิจพิเศษด้วยศักยภาพความพร้อมของแม่สอด และจากผลการศึกษาวิจัย ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยราชภัฏ กำ�แพงเพชรแม่สอดซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ ได้มีความเห็นสอดคล้องกัน เนื่องจาก แม่สอดเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพและความพร้อมของเมืองสูงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การลงทุนภาคอุตสาหกรรม ภาคการเกษตร และการท่องเที่ยว โดยมีมูลค่าการ ค้าชายแดนด่านพรมแดนแม่สอด – เมียวดี มากกว่าปีละ ๔๐,๐๐๐ ล้านบาท เป็น ประตูสู่ยุโรปตามเส้นทาง EWECวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๕๖ และเป็นประธานการ ประชุม คณะรัฐมนตรีสัญจร ที่จังหวัดอุตรดิตถ์ เมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๕๖ ที่ประชุมมีมติเห็นชอบร่างระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. ..... โดยให้มีการจัดตั้งเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษแม่สอดเป็นแห่งแรกของประเทศไทย และให้นครแม่สอดเป็นหนึ่งใน เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษที่จะมีการเสนอผ่านคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ ซึ่งนายกรัฐมนตรี ได้มอบหมายให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ติดตาม โครงการพัฒนาพื้นที่อำ�เภอแม่สอดที่ต้องเร่งดำ�เนินการ เพื่อรองรับการจัดตั้งเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษแม่สอด ท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” และการนำ�เข้าสู่ ประชาคมอาเซียน (AEC) เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการดำ�เนินการให้เป็นไปตาม ระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. ... เมื่อมีผลบังคับ ใช้แล้วให้เป็นไปด้วยความถูกต้อง รวดเร็ว และเป็นรูปธรรม จึงเห็นควรที่จะเร่งดำ�เนินการ ออกกฎหมาย ร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ. ... ให้มีผล บังคับใช้โดยเร่งด่วน เนื่องจากเหตุผลและความจำ�เป็น ดังนี้ ๑. เป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๗๘(๓) บัญญัติให้รัฐ ต้องดำ�เนินการตามแนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน โดยเฉพาะนโยบายด้าน การกระจายอำ�นาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้สามารถพึ่งตนเองได้และตัดสินใจ ในกิจการของท้องถิ่นเองได้ รวมทั้งพัฒนาจังหวัดที่มีความพร้อมให้เป็นองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่ ประกอบกับ มาตรา ๒๘๙ วรรคเก้า ซึ่งบัญญัติให้จัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษที่มี โครงสร้างการบริหารที่แตกต่างจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วไปได้ภายใต้เงื่อนไขที่ว่าคณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้อง ถิ่นต้องมาจากการเลือกตั้ง จึงสมควรสนับสนุนให้พื้นที่ในส่วนของเทศบาล นครแม่สอดและเทศบาลท่าสายลวด จังหวัดตาก ซึ่ง มีศักยภาพในการเป็นประตูเศรษฐกิจที่จะเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน และสามารถพัฒนาให้เป็นฐานในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุนที่สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ ได้จัดตั้งขึ้นเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ เพื่อให้ สามารถจัดบริการสาธารณะที่มีคุณภาพแก่ประชาชนและรองรับการเจริญเติบโตของพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒. รัฐบาลมีนโยบายจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษขึ้นเพื่อส่งเสริมการค้าและการลงทุนของประเทศ โดยใช้ประโยชน์ จากความเชื่อมโยงด้านคมนาคมขนส่งของภูมิภาคอาเซียนและข้อตกลงการค้าเสรีภายใต้กรอบอาเซียน และนโยบายสนับสนุนการ ดำ�เนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีระบบที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และสามารถให้บริการสาธารณะตอบสนองความ ต้องการของประชาชนได้ตามความคาดหวัง ประกอบกับ ายกรัฐมนตรี ประกาศอย่างชัดเจนว่าจะจัดตั้งเขตพิเศษ โดยให้นคร แม่สอดเป็นแห่งแรกที่จะจัดตั้งเป็นเขตเศรษฐกิจแม่สอด อีกทั้งกระทรวงมหาดไทย พิจารณาแล้วเห็นว่า ร่างระเบียบสำ�นักนายก รัฐมนตรี ว่าด้วยเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. ... 2.indd 4 08-Dec-15 9:17:54 AM
  • 3. คู่มือการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” มีเนื้อหาในการส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีศักยภาพสามารถพัฒนาพื้นที่ ของตนขึ้นเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษที่มีระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน และภาพวดล้อม ที่เหมาะสม และจำ�เป็นต่อการรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจอันเนื่องจากการค้าบริเวณพรมแดนและการค้าเสรีภายใต้กรอบ อาเซียนได้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการการพัฒนายั่งยืนและหลัก การมีส่วนร่วมของประชาชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม จึงเห็นควรให้ความเห็นชอบใน หลักการ ดังนั้น เพื่อให้การดำ�เนินการตามนโยบายดังกล่าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงมีความจำ�เป็นต้องมีกลไกลขับเคลื่อน การส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีศักยภาพโดยเฉพาะการปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ“นครแม่สอด” สามารถพัฒนาพื้นที่ขึ้นเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษที่มีระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน และ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมจำ�เป็นต่อการรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ อันเนื่องมาจากการค้าบริเวณพรมแดนและการค้าเสรี ได้กรอบอาเซียน ๓. ระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. ...กำ�หนดบทนิยามคำ�ว่า “เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ”หมายความว่า พื้นที่ทั้งหมดหรือบางส่วนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหนึ่งหรือหลายแห่งที่ได้รับ สนับสนุนจากรัฐในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำ�เป็นต่อการค้าสินค้าหรือบริการ หรือการลงทุนเพื่อรองรับการขยายตัวทาง เศรษฐกิจอันเนื่องมาจากการค้าบริเวณพรมแดนและการค้าเสรีภายใต้กรอบอาเซียน รวมทั้ง การพัฒนาระบบการให้บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จที่สอดคล้องกับระบบ ASEAN Single Window สภาพพื้นที่ของเทศบาลนครแม่สอดในปัจจุบัน ไม่มีพื้นที่ติดต่อบริเวณพรมแดน จึงจำ�เป็นต้องจัดตั้งนครแม่สอดขึ้นเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มีเขตพื้นที่ครอบคลุม พื้นที่ของเทศบาลนครแม่สอดและเทศบาลตำ�บลท่าสายลวด ตามร่างพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ. . ความเป็นมาในการจัดตั้งท้องถิ่นรูปแบบพิเศษนครแม่สอด 5 2.indd 5 08-Dec-15 9:17:55 AM