SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของบรูเนอร์
เสนอ
อาจารย์ฟารีดา สามะอาลี
จัดทาโดย
นางสาวซูมัยย๊ะห์ กามางิน รหัสนักศึกษา 405710054
นางสาวซากีเราะฮ์ หะแวกะจิ รหัสนักศึกษา 405710061
นางสาวอัมริตา ตาเละ รหัสนักศึกษา 405710074
นางสาวอามี ซิแต รหัสนักศึกษา 405710086
นางสาวปวีณา สุหลง รหัสนักศึกษา 405710089
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของบรูเนอร์
แบบทดสอบก่อนเรียน
1.ข้อใดมิใช่แนวคิดเชิงทฤษฎีพัฒนาการทางทางความคิดของบรูเนอร์
ก. Enactive representation
ข. Iconic representation
ค. Symbolic representation
ง. Concept representation
2.ทฤษฎีของบรูเนอร์เป็นทฤษฎีเร่งหรือทฤษฎีรอเพราะอะไร
ก. ทฤษฎีเร่ง เพราะบรูเนอร์คิดว่าไม่ต้องรอให้เด็กพร้อมตามธรรมชาตินั้นเด็กจะ
มีพัฒนาการที่เก่งกว่า
ข. ทฤษฎีรอ เพราะบรูเนอร์คิดว่าการที่เรารอให้เด็กพร้อมตามธรรมชาตินั้นเด็ก
จะมีพัฒนาการที่เก่งกว่า
ค. ทฤษฎีรอ เพราะบรูเนอร์คิดว่าการรอพัฒนาการของเด็กจะทาให้เด็กมีความ
พร้อมมากกว่า
ง. ทฤษฎีเร่งหรือทฤษฎีรอก็เหมือนกัน เพราะจะขึ้นอยู่กับครูที่จะพัฒนาเด็กให้
รอหรือว่าเร่ง
3. “ แก้วจะมีอารมณ์หงุดหงิดทุกครั้งเมื่อเพื่อนเอาของใช้ส่วนตัวไปใช้ โดยไม่ขอ
อนุญาต ” การกระทาของแก้วอยู่ในขั้นใดของบรูเนอร์
ก. ขั้นที่ 1
ข. ขั้นที่ 2
ค. ขั้นที่ 3
ง. ขั้นที่ 4
4. “ มาลีจะหยุดรถทุกครั้งเมื่อสัญญาณไฟแดง เพื่อไม่ให้เกิดอันตรายแก่ตัวเอง “
การกระทาของมาลีอยู่ในขั้นใดของบรูเนอร์
ก. ขั้นที่ 1
ข. ขั้นที่ 2
ค. ขั้นที่ 3
ง. ขั้นที่ 4
5. “ หนูนิดทาตามคาสั่งสอนของแม่ว่าอย่าไปเล่นใกล้กับถนนเพราะมัน
อันตรายแก่ตัวเอง ” การกระทาของหนูนิดอยู่ในขั้นในของบรูเนอร์
ก. ขั้นที่ 1
ข. ขั้นที่ 2
ค. ขั้นที่ 3
ง. ขั้นที่ 4
6. " แดงจดบันทึกเนื้อหาจากการเรียนที่ครูสรุปไว้โดยการใช้สัญลักษณ์เพื่อลด
ระยะเวลาในการจด " จากข้างต้นจะอยู่ในระดับใดของบรูเนอร์
ก. ระดับประถมต้น ข. ระดับประถมปลาย
ค. ระดับมัธยมศึกษา ง. ระดับมัธยมปลาย
7. ข้อใดมิใช่ทฤษฎีในการจัดการเรียนการสอนของบรูเนอร์
ก. ดาด้ามีความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับการเรียนจึงไปถามครู
ข. อาลีเครียดเรื่องการเรียนต่อมหาลัยแต่จะมีครูสมใจคอยให้กาลังใจ
ค. ครูพลอยสอนเด็กๆโดยคานึงความเหมาะสมของผู้เรียน
ง. ครูช้างสอนเด็กโดยไม่เรียงลาดับความยาก-ง่าย
8. ข้อใดเป็นลาดับพัฒนาการของบรูเนอร์ทีถูต้องที่สุด
ก. Iconic representation - Enactive representation - Symbolic representation
ข. Enactive representation - Iconic representation - Symbolic representation
ค. Iconic representation - Symbolic representation -Enactive representation
ง. Symbolic representation - Enactive representation - Iconic representation
9. “ ครูวันดีจัดกิจกรรมให้เด็กมีความสนุกสนานและเปิดโอกาสให้เด็กให้แสดง
ความสามารถที่ตนเองมั่นใจ ” จากข้างต้นอยู่ในระดับใดของบรูเนอร์
ก. ระดับประถมต้น
ข. ระดับประถมปลาย
ค. ระดับมัธยมศึกษา
ง. ระดับมัธยมปลาย
10. " น้องปลาเป็นคนที่มีความสามารถหลากหลาย เช่นการเรียนภาษา การ
วาดภาพ เล่นดนตรี ในระยะเวลาเดียวกันได้เป็นอย่างดี โดยการแบ่งเวลา ในแต่
ละทุกๆด้าน " จากข้างต้นจะอยู่ในระดับในของบรูเนอร์
ก. ระดับประถมต้น
ข. ระดับประถมปลาย
ค. ระดับมัธยมศึกษา
ง. ระดับมัธยมปลาย
แนวคิดของบรูเนอร์
บรูเนอร์เชื่อว่า “ การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสังคมที่
ผู้เรียนจะต้องลงมือปฏิบัติ และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองทั้งนี้
โดยมีพื้นฐานอยู่บนประสบการณ์หรือความรู้เดิม ”
บรูเนอร์ได้เสนอแนวคิดเชิงทฤษฏีพัฒนาการทาง
สติปัญญาไว้ว่ามี 3 ลักษณะ
ขั้นที่1 ขั้นแสดงการคิดด้วยกระทา
ขั้นที่2 ขั้นการคิดจากสิ่งที่มองเห็น
ขั้นที่3 ขั้นการคิดโดยใช้สัญลักษณ์หรือภาษา
แนวคิดของบรูเนอร์ที่มีอิทธิพลต่อการศึกษา
ระดับอนุบาลและระดับประถมต้น
ระดับประถมปลาย
ระดับมัธยมศึกษา
แนวทางในการจัดการเรียนการสอน
 ผู้เรียนต้องมีแรงจูงใจภายใน มีความอยากรู้ อยากเห็นสิ่งต่างๆ
รอบตัว
 โครงสร้างของบทเรียนซึ่งต้องจัดให้เหมาะสมกับผู้เรียน
 การจัดลาดับความยาก-ง่ายของบทเรียนโดยคานึงถึงพัฒนาการทาง
สติปัญญาของผู้เรียน
 การเสริมแรงของผู้เรียน
แบบทดสอบหลังเรียน
1.ข้อใดมิใช่แนวคิดเชิงทฤษฎีพัฒนาการทางทางความคิดของบรูเนอร์
ก. Enactive representation
ข. Iconic representation
ค. Symbolic representation
ง. Concept representation
2.ทฤษฎีของบรูเนอร์เป็นทฤษฎีเร่งหรือทฤษฎีรอเพราะอะไร
ก. ทฤษฎีเร่ง เพราะบรูเนอร์คิดว่าไม่ต้องรอให้เด็กพร้อมตามธรรมชาตินั้นเด็กจะ
มีพัฒนาการที่เก่งกว่า
ข. ทฤษฎีรอ เพราะบรูเนอร์คิดว่าการที่เรารอให้เด็กพร้อมตามธรรมชาตินั้นเด็ก
จะมีพัฒนาการที่เก่งกว่า
ค. ทฤษฎีรอ เพราะบรูเนอร์คิดว่าการรอพัฒนาการของเด็กจะทาให้เด็กมีความ
พร้อมมากกว่า
ง. ทฤษฎีเร่งหรือทฤษฎีรอก็เหมือนกัน เพราะจะขึ้นอยู่กับครูที่จะพัฒนาเด็กให้
รอหรือว่าเร่ง
3. “ แก้วจะมีอารมณ์หงุดหงิดทุกครั้งเมื่อเพื่อนเอาของใช้ส่วนตัวไปใช้ โดยไม่ขอ
อนุญาต ” การกระทาของแก้วอยู่ในขั้นใดของบรูเนอร์
ก. ขั้นที่ 1
ข. ขั้นที่ 2
ค. ขั้นที่ 3
ง. ขั้นที่ 4
4. “ มาลีจะหยุดรถทุกครั้งเมื่อสัญญาณไฟแดง เพื่อไม่ให้เกิดอันตรายแก่ตัวเอง “
การกระทาของมาลีอยู่ในขั้นใดของบรูเนอร์
ก. ขั้นที่ 1
ข. ขั้นที่ 2
ค. ขั้นที่ 3
ง. ขั้นที่ 4
5. “ หนูนิดทาตามคาสั่งสอนของแม่ว่าอย่าไปเล่นใกล้กับถนนเพราะมัน
อันตรายแก่ตัวเอง ” การกระทาของหนูนิดอยู่ในขั้นในของบรูเนอร์
ก. ขั้นที่ 1
ข. ขั้นที่ 2
ค. ขั้นที่ 3
ง. ขั้นที่ 4
6. " แดงจดบันทึกเนื้อหาจากการเรียนที่ครูสรุปไว้โดยการใช้สัญลักษณ์เพื่อลด
ระยะเวลาในการจด " จากข้างต้นจะอยู่ในระดับใดของบรูเนอร์
ก. ระดับประถมต้น ข. ระดับประถมปลาย
ค. ระดับมัธยมศึกษา ง. ระดับมัธยมปลาย
7. ข้อใดมิใช่ทฤษฎีในการจัดการเรียนการสอนของบรูเนอร์
ก. ดาด้ามีความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับการเรียนจึงไปถามครู
ข. อาลีเครียดเรื่องการเรียนต่อมหาลัยแต่จะมีครูสมใจคอยให้กาลังใจ
ค. ครูพลอยสอนเด็กๆโดยคานึงความเหมาะสมของผู้เรียน
ง. ครูช้างสอนเด็กโดยไม่เรียงลาดับความยาก-ง่าย
8. ข้อใดเป็นลาดับพัฒนาการของบรูเนอร์ทีถูต้องที่สุด
ก. Iconic representation - Enactive representation - Symbolic representation
ข. Enactive representation - Iconic representation - Symbolic representation
ค. Iconic representation - Symbolic representation -Enactive representation
ง. Symbolic representation - Enactive representation - Iconic representation
9. “ ครูวันดีจัดกิจกรรมให้เด็กมีความสนุกสนานและเปิดโอกาสให้เด็กให้แสดง
ความสามารถที่ตนเองมั่นใจ ” จากข้างต้นอยู่ในระดับใดของบรูเนอร์
ก. ระดับประถมต้น
ข. ระดับประถมปลาย
ค. ระดับมัธยมศึกษา
ง. ระดับมัธยมปลาย
10. " น้องปลาเป็นคนที่มีความสามารถหลากหลาย เช่นการเรียนภาษา การ
วาดภาพ เล่นดนตรี ในระยะเวลาเดียวกันได้เป็นอย่างดี โดยการแบ่งเวลา ในแต่
ละทุกๆด้าน " จากข้างต้นจะอยู่ในระดับใดของบรูเนอร์
ก. ระดับประถมต้น
ข. ระดับประถมปลาย
ค. ระดับมัธยมศึกษา
ง. ระดับมัธยมปลาย
จบการนาเสนอ
ขอบคุณค่ะ

More Related Content

What's hot

ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์mekshak
 
อีริคสัน
อีริคสันอีริคสัน
อีริคสันping1393
 
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)นพพร ตนสารี
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์เบญจศีล บัวสาย
 
Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)Ptato Ok
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2poms0077
 
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้าการสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้าDueansc
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Nat Thida
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมสรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมjeerawan_l
 

What's hot (15)

ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์
 
อีริคสัน
อีริคสันอีริคสัน
อีริคสัน
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้าการสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
Psychology5
Psychology5Psychology5
Psychology5
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมสรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
 

Viewers also liked

ทฤษฎีพัฒนาการของอิริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการของอิริคสันทฤษฎีพัฒนาการของอิริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการของอิริคสันsuraidabungasayu
 
ทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์กsuraidabungasayu
 
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์suraidabungasayu
 
ทฤษฎีพัฒนาการของ โรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์ส
ทฤษฎีพัฒนาการของ โรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์สทฤษฎีพัฒนาการของ โรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์ส
ทฤษฎีพัฒนาการของ โรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์สsuraidabungasayu
 
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์suraidabungasayu
 
6 จิตวิทยาสำหรับครู
6 จิตวิทยาสำหรับครู6 จิตวิทยาสำหรับครู
6 จิตวิทยาสำหรับครูNatthachai Chalat
 
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไปข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไปPijak Insawang
 

Viewers also liked (7)

ทฤษฎีพัฒนาการของอิริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการของอิริคสันทฤษฎีพัฒนาการของอิริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการของอิริคสัน
 
ทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์ก
 
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
 
ทฤษฎีพัฒนาการของ โรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์ส
ทฤษฎีพัฒนาการของ โรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์สทฤษฎีพัฒนาการของ โรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์ส
ทฤษฎีพัฒนาการของ โรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์ส
 
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
 
6 จิตวิทยาสำหรับครู
6 จิตวิทยาสำหรับครู6 จิตวิทยาสำหรับครู
6 จิตวิทยาสำหรับครู
 
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไปข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
 

Similar to ทฤษฎีพัฒนาการของบรูเนอร์

Similar to ทฤษฎีพัฒนาการของบรูเนอร์ (20)

Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
บรู
บรูบรู
บรู
 

More from suraidabungasayu

ทฤษฎีการเรียนรู้ของบันดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของบันดูราทฤษฎีการเรียนรู้ของบันดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของบันดูราsuraidabungasayu
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสันทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสันsuraidabungasayu
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์suraidabungasayu
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟsuraidabungasayu
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์suraidabungasayu
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์suraidabungasayu
 
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์suraidabungasayu
 

More from suraidabungasayu (7)

ทฤษฎีการเรียนรู้ของบันดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของบันดูราทฤษฎีการเรียนรู้ของบันดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของบันดูรา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสันทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
 
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
 

ทฤษฎีพัฒนาการของบรูเนอร์