SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์
แนวคิด
ธอร์นไดค์ (Thorndike) ได้กล่าวว่าการเรียนรู้คือการที่
ผู้เรียนสามารถสร้างความสัมพันธ์เชื่อมโยง(Bond)ระหว่างสิ่งเร้า และการ
และการตอบสนอง และได้รับความพึงพอใจจะทาให้เกิดการเรียนรู้ขึ้น
ขึ้น
การทดลอง
ธอร์นไดค์ได้นาแมวไปขังไว้ในกรงที่สร้าง
สร้างขึ้น แล้วนาปลาไปวางล่อไว้นอกกรงให้
กรงให้ห่างพอประมาณ โดยแมวไม่สามารถยื่น
สามารถยื่นเท้าไปเขี่ยได้ จากการสังเกต
พบว่าแมวพยายามใช้วิธีการต่าง ๆ เพื่อจะ
จะออกไปจากกรงจนกระทั่งเท้าของมันไป
ไปเหยียบถูกคานไม้โดยบังเอิญ ทาให้ประตู
ประตูเปิดออก หลังจาก นั้นแมวก็ใช้เวลาใน
เวลาในการเปิดกรงได้เร็วขึ้น
(R1) ขีดข่วนพื้น
สถานการณ์ในกรงไม้หรือปัญหา (s)
(R2) ส่งเสียงฟ่ อๆและทาตัว
โก่ง
(R3) วิ่งไปรอบๆ
(R4) ผลักฝาผนังและประตู
(R5) กดคานไม้เปิดประตูได้
การเรียนรู้แบบลองผิดลองถูกของธอร์นไดค์
กฎแห่งความพร้อม
ธอร์นไดด์ ได้เห็นกฎการเรียนรู้ที่สาคัญ 3 กฎด้วยกัน
กฎแห่งการฝึกหัด
กฎแห่งความพอใจ
กฎแห่งการได้ใช้
กฎแห่งการไม่ได้ใช้
การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
• การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลองผิดลองถูกด้วยตนเอง
• การสารวจความพร้อมหรือการสร้างความพร้อมทางการเรียนให้แก่ผู้เรียน
เป็นสิ่งจาเป็นที่ต้องดาเนินการก่อนการเรียนเสมอ
• หากต้องการให้ผู้เรียนเกิดทักษะในเรื่องใด ต้องให้ผู้เรียนมีความรู้และความ
เข้าใจในเรื่องนั้น ๆ อย่างถ่องแท้
• เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้ว ควรให้ผู้เรียนฝึกนาการเรียนรู้นั้นไปใช้
• การให้ผู้เรียนได้รับผลที่น่าพึงพอใจ จะช่วยให้การเรียนการสอน ประสบ
ความสาเร็จ
1. น้องตุ๊กได้คะแนนวิชาภาษาไทยสูงเพราะน้องตุ๊กชอบคุณครูวิชาภาษาไทย
น้องตุ๊กจัดอยู่ในกฎข้อใดของธอร์นไดค์
ก.กฎการฝึกหัด
ข.กฎความพอใจ
ค.กฎความพร้อม
ง.กฎการได้ใช้
2.น้องสาได้ประดิษฐ์แจกันจากขวดพลาสติกเหลือใช้น้องสาทาซ้าๆจน
เกิดความชานาญ น้องสาจัดอยู่ในกฎข้อใดของธอร์นไดค์
ก.กฎการฝึกหัด
ข.กฎความพอใจ
ค.กฎความพร้อม
ง.กฎการได้ใช้
3.นกได้เรียนวิธีการกาจัดศัตรูพืชแต่เขาไม่ได้นามาใช้ในชีวิตประจาวัน
จึงให้เกิดการหลงลืม การกระทาดังกล่าวจัดอยู่ในการกระทาข้อใด
ก.กฎการไม่ได้ใช้
ข.กฎความพอใจ
ค.กฎความพร้อม
ง.กฎการได้ใช้
4.คุณพ่อซื้อของเล่นให้กับลินแต่ฟ้าแย่งของเล่นของลิน จึงทาให้ลิน
โมโหและโกรธฟ้ามาก พฤติกรรมนี้จัดเป็นกฎในข้อใด
ก.พอใจ
ข.ไม่พอใจ
ค.ปล่อยวาง
ง.ไม่มีข้อใดผิด
5.แมวอ่านหนังสือก่อนสอบสองเดือนเพื่อเตรียมตัวสอบเข้าใน
มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งเมื่อถึงวันประกาศผลแมวได้ผ่านการคัดเลือกเธอ
จึงดีใจเป็นอย่างมาก ข้อความดังกล่าวจัดอยู่ในกฎความพร้อมข้อใด
ก.พอใจ
ข.ไม่พอใจ
ค.ปล่อยวาง
ง.ได้ดั่งใจ
6.อดีตมุกเป็นเด็กที่มีผลการเรียนดี แต่ช่วงหลังมานี้มุกไม่ได้ทบทวน
บทเรียนจึงทาให้ผลการเรียนแย่ลง การกระทาของมุกอยู่ในกฎข้อใด
ก.กฎพอใจ
ข.กฎไม่พอใจ
ค.กฎได้ใช้
ง.กฎไม่ได้ใช้
7.บุคคลใดต่อไปนี้ใช้กฎการฝึกหัดของธอร์นไดค์
ก.ดาวเป็นคนดีชอบช่วยเหลือผู้อื่นจึงทาให้คนรอบข้างรักดาว
ข.หญิงฝึกขี่จักรยานทุกวัน จนสามารถไปแข่งขันได้
ค.นิชากล่าวชมและปรบมือ หลังจากที่หนูนิดตอบคาถามที่
ครูถามได้
ง.นุช โดนพ่อดุเวลาทาผิด จึงทาให้นิดเป็นเด็กเกเร
8.ซาร่าอ่านหนังสือล่วงหน้าในเรื่องที่ครูยังไม่ได้สอน และทบทวน
บทเรียนในแต่ละวันที่ครูสอน เธอจึงสอบได้ที่1 ของห้องมาตลอด
ซาร่าอยู่ในกฎข้อใดของธอร์นไดค์
ก.กฎแห่งความพร้อม
ข.กฎของการฝึกหัด
ค.กฎแห่งความเป็นผล
ง.กฎแห่งการไม่ใช่
9. บุคคลใดต่อไปนี้ปฏิบัติตนตรงตามกฎของธอร์นไดค์ถูกต้องที่สุด
ก. นัดจดทุกคาพูดของอาจารย์เพราะคิดว่าสิ่งที่อาจารย์พูดถูกต้อง
ที่สุด
ข. จี๊ดนั่งสมาธิก่อนนาเสนองานในทุกๆครั้ง ทาให้เธอมีความมั่นใจ
และทาออกมาได้ดี
ค. นานาชอบไปโรงเรียนเพราะครูที่โรงเรียนใจดี
ง. ฟลุ๊คจะได้รับรางวัลจากพ่อทุกครั้งที่เขาสอบได้ที่ 1
10. แบงค์เรียนตรีโกนมิติตอนอยู่ชั้นมัธยมปลาย แต่หลังจากที่เขาเข้า
มหาวิทยาลัยเขาไม่ได้ทบทวนสิ่งที่เคยเรียนมาจึงทาให้ลืมความรู้นั้นไป
จากตัวอย่าง แบงค์อยู่ในกฎข้อใดของธอร์นไดค์
ก. กฎแห่งการฝึกฝน
ข. กฎแห่งความพอใจ
ค. กฎแห่งความพร้อม
ง. กฎแห่งความไม่พอใจ
1. ข 6. ง
2. ง 7. ข
3. ก 8. ก
4. ข 9. ข
5. ก 10. ก

More Related Content

More from suraidabungasayu

ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสันทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสันsuraidabungasayu
 
ทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์กsuraidabungasayu
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟsuraidabungasayu
 
ทฤษฎีพัฒนาการของ โรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์ส
ทฤษฎีพัฒนาการของ โรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์สทฤษฎีพัฒนาการของ โรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์ส
ทฤษฎีพัฒนาการของ โรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์สsuraidabungasayu
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์suraidabungasayu
 
ทฤษฎีพัฒนาการของอิริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการของอิริคสันทฤษฎีพัฒนาการของอิริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการของอิริคสันsuraidabungasayu
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์suraidabungasayu
 
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์suraidabungasayu
 
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์suraidabungasayu
 

More from suraidabungasayu (9)

ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสันทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
 
ทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์ก
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
 
ทฤษฎีพัฒนาการของ โรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์ส
ทฤษฎีพัฒนาการของ โรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์สทฤษฎีพัฒนาการของ โรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์ส
ทฤษฎีพัฒนาการของ โรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์ส
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์
 
ทฤษฎีพัฒนาการของอิริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการของอิริคสันทฤษฎีพัฒนาการของอิริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการของอิริคสัน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
 
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
 
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
 

ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์