SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
วิ่งข้ามรั้ว(Hurdle)
การวิ่งข้ามรั้ว หมายถึง การวิ่งที่ต้องวิ่งไปตามลู่วิ่งและกระโดดข้ามรั้วตามระยะทาง และความสูงของรั้วที่กาหนดไว้
ซึ่งระยะทางมาตรฐานที่ใช้ในการแข่งขัน มีดังนี้ ชาย 110 เมตร และ400 เมตร หญิง 100 เมตร และ400
เมตร
1) เทคนิคในการวิ่งข้ามรั้ว การวิ่งข้ามรั้ว ประกอบด้วยท่าตั้งต้นและการออกวิ่ง ลักษณะการจรดเท้ากระโดด
ลักษณะของเท้านา ลักษณะของลาตัวและแขน ลักษณะของเท้าตาม ท่าลงสู่พื้นและการเข้าเส้นชัย
ทักษะเหล่านี้เป็นพื้นฐานที่นักเรียนต้องเรียนรู้ โดยมีเทคนิคดังนี้
1.1) ท่าตั้งต้นก่อนออกวิ่งและการออกวิ่ง ท่าตั้งต้นและการออกวิ่งให้ปฏิบัติเหมือนกับการตั้งต้นออกวิ่งระยะสั้น
แต่เนื่องจากระยะทางจากเส้นเริ่มไปยังรั้วที่ 1 และรั้วอื่น ๆ ถูกกาหนดไว้ตายตัว
จึงมีสิ่งที่ผู้วิ่งต้องปฏิบัติแตกต่างไปจากวิ่งระยะสั้นธรรมดาธรรมดา ซึ่งพอสรุปได้ 2 ประการ ดังนี้
ประการแรก การวางเท้าขณะเข้าที่ตั้งต้น อาจจะต้องสลับเท้าไว้ข้างหน้าหรือข้างหลัง เพื่อให้เท้าที่ถนัดเป็นเท้าที่กระโดดข้ามรั้ว
ประการที่สอง การวิ่งข้มรั้วนักวิ่งจะต้องรีบตั้งตัวให้มุมของลาตัวสูงกว่าการวิ่งระยะธรรมดา
เพื่อให้การจรดเท้ากระโดดข้ามรัวได้สะดวกยิ่งขึ้น ซึ่งการออกวิ่งสายตาจะมองไปข้างหน้าเส้นเริ่ม
และเมื่อออกวิ่งไปได้ประมาณ 5 ก้าวจึงมองตรงไปที่รั้ว
ซึ่งจานวนก้าวจากเส้นเริ่มถึงรั้วแรกและจานวนก้าวระหว่างรั้วประเภทรั้วต่า มีดังนี้
ก. ประเภท 100 เมตร ควรวิ่ง 10 ก้าวก้าวที่ 11 เป็นก้าวข้ามรั้ว (สาหรับคนทีใช้เท้าขวาแตะนา
แต่เวลาเริ่มต้นใช้เท้าซ้ายไว้ข้างหลังนั้นก็วิ่ง 9 ก้าว หรือ 11 ก้าว และก้าวที่ 10 หรือก้าวที่ 12 เป็นก้าวข้าม)
จานวนก้าวระหว่างรั้วควรฝึก 7 ก้าว ก้าวที่ 8 เป็นก้าวข้ามรั้ว แต่ถ้าเป็นคนร่างเตี้ยและช่วงก้าวสั้น อาจใช้ 9 ก้าว ก้าวที่ 10
เป็นก้าวข้ามระยะหลังรั้วสุดท้ายถึงเส้นชัยไม่จากัด
จานวนก้าวให้ใช้กาลังที่เหลือ เร่งฝีเท้าให้เต็มที่เข้าสู้เส้นชัย
ท่าทางการตั้งต้นออกวิ่ง
ข.ประเภท 400 เมตร จากเส้นเริ่มถึงรั้วแรกควรฝึกวิ่ง 24 ก้าวก้าวที่ 25 เป็นก้าวลอยข้ามรั้ว ระยะทางวิ่งระหว่างรั้ว
ควรฝึกวิ่ง 15 ก้าว ก้าวที่ 16 เป็นก้าวลอยข้ามรั้ว (สาหรับคนเตี้ยก้าวสั้น อาจเพิ่มจานวนก้าวขึ้นอีก 2 ก้าวก็ได้
แต่ต้องแน่ใจว่าไม่มีการซอยเท้าหรือหยุดชะงัก)
จานวนก้าวจากเส้
นเริ่มถึงรั้วแรก จานวนก้าวระหว่างรั้ว
1.2)
เทคนิคการจรดเท้ากระโดด เท้าที่จรดพื้นก่อนกระโดดนี้ต้องให้ปลายเท้าชี้ตรงไปข้างหน้า และปลายเท้าจะอยู่ห่างจากรั้ว
ประมาณ 7-8 ฟุตเป็นอย่างน้อย เท้าที่จรดพื้นต้องเหยียดเข่าและสปริงข้อเท้าขึ้นอย่างเต็มที่
เพื่อให้เกิดแรงส่งตัวพุ่งไปข้างหน้า
1.3) เทคนิคการควบคุมเท้านา เท้าข้างที่ยกแตะขึ้นข้ามรั้วเรียกว่า “ เท้านา” โดยยกเข่าขึ้นให้ขาท่อนบนขนานกับพื้น
เข่างอแล้วเหยียดขาออก ตั้งปลายเท้าขึ้นไปข้างหน้าเหนือระดับรั้ว
1.4) เทคนิคการควบคุมลาตัวและแขน ขณะที่กระโดดลอยตัวอยู่เหนือรั้ว ซึ่งเป็นรั้วต่านี้ ไม่ต้องก้มลาตัวลงมาก
ไม่ต้องยกเข่าขึ้นสูงมาก ถ้าสามารถก้าวข้ามไปเลยยิ่งดี เพราะไม่ต้องเสียเวลาลอยตัว
ลักษณะของลาตัวจะโน้มไปข้างหน้าเล็กน้อย แต่ถ้าเป็นรั้วสูงจะต้องโน้มลาตัวไปข้างหน้าให้มากที่สุด
ศีรษะจะก้มลงข้างหน้าเล็กน้อย แขนข้างตรงกันข้ามกับเท้านาจะเหวี่ยงไปข้างหน้าพร้อมกับเท้านา หันฝ่ามือลงสู่พื้น
ข้อศอกงอขึ้นเกือบเสมอแนวไหล่ ขาเตะขึ้นเฉียดรั้วให้มากที่สุด
1.5) เทคนิคการควบคุมเท้าตาม เท้าข้างที่กระตุกเข่าขึ้นหลังเท้านาเรียกว่า “ เท้าตาม” คือ เท้าข้างที่จรดพื้นก่อนข้ามรั้วนั่นเอง
เท้าข้างต่าจรดพื้น เมื่อสปริงส่งตัวขึ้นสูงสุดแล้วให้กระตุกเข่าขึ้นมาจนเป็นมุมฉากกับขาท่อนบน ปลายเท้าชี้ออกข้างลาตัว
เข่าและข้อเท้าอยู่ในแนวเดียวกัน ลักษณะคล้ายกับท่าพับเพียบ
1.6) เทคนิคการลงสู่พื้น เมื่อเท้านาเลยระดับรั้วไปแล้ว ให้กดฝ่าเท้าลง
สู้พื้นโดยเร็วและแรง ตามปกติเท้านาจะลงสู่พื้นรั้วห่างออกไปประมาณ 4-5 ฟุต
เมื่อเท้านาแตะพื้นแล้วให้รีบกระตุกแขนให้แกว่งสลับกับเท้า เตรียมออกวิ่งต่อไป
ลักษณะท่าทางการลงสู่พื้นเมื่อเท้านาแตะพื้นแล้วให้รีบกระตุกเข่าตามไปข้างหน้าพร้อมกับการกระตุกแขนแกว่งสลับกับเท้าเพื่อ
เตรียมวิ่งต่อไป
1.7)
เทคนิคการวิ่งเข้าเส้นชัย การวิ่งเข้าเส้นชัยให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับการวิ่งระยะสั้นเพราะระยะทางหลังรั้วสุดท้ายถึงเส้นชัยไม่จากัด
จานวนก้าว ให้ใช้กาลังที่เหลือเร่งฝีเท้าให้เต็มที่พุ่งตัวเข้าสู่เส้นชัยในลักษณะท่าทางที่ตนถนัด
ลักษณะท่าทางการวิ่งข้ามรั้วต่า โดยใช้เท้าซ้ายเป็นเท้านา
ลักษณะท่าทางการวิ่งข้ามรั้วต่าโดยใช้เท้าขวาเป็นเท้านา
2) กติกาการแข่งขันเบื้องต้น ควรปฏิบัติตามดังนี้
 รั้วแต่ละรั้วจะต้องวางบนลู่โดยให้ขาตั้งอยู่ริมขอบช่องวิ่ง
 การแข่งขันทั้งหมดจะต้องวิ่งในช่องวิ่งและผู้เข้าแข่งขันแต่ละคนจะต้องวิ่งในช่องของตนตลอดระ
ยะทาง
 ผู้เข้าแข่งขันที่ใช้ขาหรือเท้าข้ามข้างรั้วหรือกระโดดข้ามรั้วใด ๆ ที่ไม่ได้อยู่ในช่องวิ่งของตนเอง
หรือผู้ชี้ขาดเห็นว่ามีเจตนาทาให้รั้วล้มด้วยมือหรือเท้า จะถูกตัดสิทธิ์จากการแข่งขัน
การข้ามรั้วที่ถูกกติกา ผู้แข่งขันใช้ขาหรือเท้าข้ามข้างรั้ว เป็นการข้ามรั้วที่ผิดกติกา
3) การฝึ กทักษะการวิ่งข้ามรั้ว
เมื่อผู้เล่นสามารถทาท่าทางการวิ่งกระโดดข้ามรั้ว
ได้แล้วก็ตั้งกล่องและรั้วห่างกันพอสมควร
เสริมสาระ
การวิ่งข้ามเครื่องกีดขวาง มีลักษณะคล้ายการวิ่งข้ามรั้ว แต่มีบ่อน้ากว้างอยู่นักกรีฑาจะต้องกระโดดหรือวิ่งลุยน้าไปโดยการข้ามรั้ว
แต่ละรั้วอาจใช้การกระโดดหรือใช้เท้าเหยียบแล้วจึงกระโดดลงพื้นหรือกระโดดข้ามน้าอีกต่อหนึ่งก็ได้ ระยะทางที่นิยมใช้ในการแข่งขันกันมี
2,000 เมตร และ3,000 เมตร
โดยความสูงของรั้วสูงเท่ากับกล่อง เพื่อให้ผู้เล่นคุ้นเคย
กับความสูง โดยค่อย ๆ เปลี่ยนไปหรือจะตั้งเป็น 3 แถวดังนี้
1. วางสองกล่องชิดซ้อนกันในการกระโดดรั้วแรกและรั้วสุดท้าย รั้วอื่นใช้รั้วจริง
2. วางสองกล่องชิดซ้อนกันรั้วแรก รั้วอื่นใช้รั้วจริง
3. ตั้งรั้วจริงทั้งหมด ระยะห่างระหว่างรั้ว ใช้ก้าวยาว ๆ3 ก้าว
รายงาน
วิชา พละศึกษา พ. 22104
เรื่อง ประวัติ วิ่งข้ามรั้ว
เสนอ
คุณครูวัลลาภา ไชยวาน
ข้อเสนอแนะ
1. การวิ่งข้ามรั้วให้จาไว้เป็นสูตรว่า “ กระโดดเตะขาข้ามรั้ว กดตัวกระตุกเข่าหลังข้ามรั้ว”
2. ขณะวิ่งกระโดดข้ามรั้ว ไม่ควรเหลียวหลังดูคู่แข่งขันจะทาให้เสียการทรงตัว เกิดล้มได้ง่ายที่สุด
3. ฝึกวิ่งให้พอดีกับจานวนก้าวที่กาหนดไว้แต่ละช่วง
4. ปรับระยะก้าวระหว่างรั้วให้เหมาะสมกับตนเอง
5. การฝึกใหม่ ๆ ควรวิ่งช้า ๆ และรั้วอาจจะต่ากว่ากาหนดกาหนดเล็กน้อย เมื่อเกิดความชานาญแล้ว
จึงเพิ่มความเร็วและรั้วให้สูงขึ้นตามกติกากาหนด 6.การก้มตัวไปข้างหน้าขณะลอยตัวอยู่กลางอากาศขึ้นอยู่กับความสูงของรั้ว
ถ้ารั้วสูงลาตัวก็ก้มไปข้างหน้าให้มากขึ้น
จัดทาโดย
เด็กชายวิสทธิ์ ผาสุข
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/11 เลขที่ 10
โรงเรียน ประจักษ์ศิลปาคาร อุดรธานี

More Related Content

What's hot

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4Tatthep Deesukon
 
วิจัยร้านอาหารเกาะยอ New
วิจัยร้านอาหารเกาะยอ Newวิจัยร้านอาหารเกาะยอ New
วิจัยร้านอาหารเกาะยอ NewYai Chic
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1yasotornrit
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดNokko Bio
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญsukanya petin
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
Type of forest
Type of forestType of forest
Type of forestpukan19
 
โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1ดอย บาน ลือ
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
ข้อสอบนาฏศิลป์ลีลาศ
ข้อสอบนาฏศิลป์ลีลาศข้อสอบนาฏศิลป์ลีลาศ
ข้อสอบนาฏศิลป์ลีลาศpeter dontoom
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 

What's hot (20)

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
วิจัยร้านอาหารเกาะยอ New
วิจัยร้านอาหารเกาะยอ Newวิจัยร้านอาหารเกาะยอ New
วิจัยร้านอาหารเกาะยอ New
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอลรายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ด
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
Type of forest
Type of forestType of forest
Type of forest
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
ข้อสอบนาฏศิลป์ลีลาศ
ข้อสอบนาฏศิลป์ลีลาศข้อสอบนาฏศิลป์ลีลาศ
ข้อสอบนาฏศิลป์ลีลาศ
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 

วิ่งข้ามรั้ว

  • 1. วิ่งข้ามรั้ว(Hurdle) การวิ่งข้ามรั้ว หมายถึง การวิ่งที่ต้องวิ่งไปตามลู่วิ่งและกระโดดข้ามรั้วตามระยะทาง และความสูงของรั้วที่กาหนดไว้ ซึ่งระยะทางมาตรฐานที่ใช้ในการแข่งขัน มีดังนี้ ชาย 110 เมตร และ400 เมตร หญิง 100 เมตร และ400 เมตร 1) เทคนิคในการวิ่งข้ามรั้ว การวิ่งข้ามรั้ว ประกอบด้วยท่าตั้งต้นและการออกวิ่ง ลักษณะการจรดเท้ากระโดด ลักษณะของเท้านา ลักษณะของลาตัวและแขน ลักษณะของเท้าตาม ท่าลงสู่พื้นและการเข้าเส้นชัย ทักษะเหล่านี้เป็นพื้นฐานที่นักเรียนต้องเรียนรู้ โดยมีเทคนิคดังนี้ 1.1) ท่าตั้งต้นก่อนออกวิ่งและการออกวิ่ง ท่าตั้งต้นและการออกวิ่งให้ปฏิบัติเหมือนกับการตั้งต้นออกวิ่งระยะสั้น แต่เนื่องจากระยะทางจากเส้นเริ่มไปยังรั้วที่ 1 และรั้วอื่น ๆ ถูกกาหนดไว้ตายตัว จึงมีสิ่งที่ผู้วิ่งต้องปฏิบัติแตกต่างไปจากวิ่งระยะสั้นธรรมดาธรรมดา ซึ่งพอสรุปได้ 2 ประการ ดังนี้ ประการแรก การวางเท้าขณะเข้าที่ตั้งต้น อาจจะต้องสลับเท้าไว้ข้างหน้าหรือข้างหลัง เพื่อให้เท้าที่ถนัดเป็นเท้าที่กระโดดข้ามรั้ว ประการที่สอง การวิ่งข้มรั้วนักวิ่งจะต้องรีบตั้งตัวให้มุมของลาตัวสูงกว่าการวิ่งระยะธรรมดา เพื่อให้การจรดเท้ากระโดดข้ามรัวได้สะดวกยิ่งขึ้น ซึ่งการออกวิ่งสายตาจะมองไปข้างหน้าเส้นเริ่ม และเมื่อออกวิ่งไปได้ประมาณ 5 ก้าวจึงมองตรงไปที่รั้ว ซึ่งจานวนก้าวจากเส้นเริ่มถึงรั้วแรกและจานวนก้าวระหว่างรั้วประเภทรั้วต่า มีดังนี้ ก. ประเภท 100 เมตร ควรวิ่ง 10 ก้าวก้าวที่ 11 เป็นก้าวข้ามรั้ว (สาหรับคนทีใช้เท้าขวาแตะนา แต่เวลาเริ่มต้นใช้เท้าซ้ายไว้ข้างหลังนั้นก็วิ่ง 9 ก้าว หรือ 11 ก้าว และก้าวที่ 10 หรือก้าวที่ 12 เป็นก้าวข้าม) จานวนก้าวระหว่างรั้วควรฝึก 7 ก้าว ก้าวที่ 8 เป็นก้าวข้ามรั้ว แต่ถ้าเป็นคนร่างเตี้ยและช่วงก้าวสั้น อาจใช้ 9 ก้าว ก้าวที่ 10 เป็นก้าวข้ามระยะหลังรั้วสุดท้ายถึงเส้นชัยไม่จากัด จานวนก้าวให้ใช้กาลังที่เหลือ เร่งฝีเท้าให้เต็มที่เข้าสู้เส้นชัย
  • 2. ท่าทางการตั้งต้นออกวิ่ง ข.ประเภท 400 เมตร จากเส้นเริ่มถึงรั้วแรกควรฝึกวิ่ง 24 ก้าวก้าวที่ 25 เป็นก้าวลอยข้ามรั้ว ระยะทางวิ่งระหว่างรั้ว ควรฝึกวิ่ง 15 ก้าว ก้าวที่ 16 เป็นก้าวลอยข้ามรั้ว (สาหรับคนเตี้ยก้าวสั้น อาจเพิ่มจานวนก้าวขึ้นอีก 2 ก้าวก็ได้ แต่ต้องแน่ใจว่าไม่มีการซอยเท้าหรือหยุดชะงัก) จานวนก้าวจากเส้ นเริ่มถึงรั้วแรก จานวนก้าวระหว่างรั้ว 1.2) เทคนิคการจรดเท้ากระโดด เท้าที่จรดพื้นก่อนกระโดดนี้ต้องให้ปลายเท้าชี้ตรงไปข้างหน้า และปลายเท้าจะอยู่ห่างจากรั้ว ประมาณ 7-8 ฟุตเป็นอย่างน้อย เท้าที่จรดพื้นต้องเหยียดเข่าและสปริงข้อเท้าขึ้นอย่างเต็มที่ เพื่อให้เกิดแรงส่งตัวพุ่งไปข้างหน้า 1.3) เทคนิคการควบคุมเท้านา เท้าข้างที่ยกแตะขึ้นข้ามรั้วเรียกว่า “ เท้านา” โดยยกเข่าขึ้นให้ขาท่อนบนขนานกับพื้น เข่างอแล้วเหยียดขาออก ตั้งปลายเท้าขึ้นไปข้างหน้าเหนือระดับรั้ว
  • 3. 1.4) เทคนิคการควบคุมลาตัวและแขน ขณะที่กระโดดลอยตัวอยู่เหนือรั้ว ซึ่งเป็นรั้วต่านี้ ไม่ต้องก้มลาตัวลงมาก ไม่ต้องยกเข่าขึ้นสูงมาก ถ้าสามารถก้าวข้ามไปเลยยิ่งดี เพราะไม่ต้องเสียเวลาลอยตัว ลักษณะของลาตัวจะโน้มไปข้างหน้าเล็กน้อย แต่ถ้าเป็นรั้วสูงจะต้องโน้มลาตัวไปข้างหน้าให้มากที่สุด ศีรษะจะก้มลงข้างหน้าเล็กน้อย แขนข้างตรงกันข้ามกับเท้านาจะเหวี่ยงไปข้างหน้าพร้อมกับเท้านา หันฝ่ามือลงสู่พื้น ข้อศอกงอขึ้นเกือบเสมอแนวไหล่ ขาเตะขึ้นเฉียดรั้วให้มากที่สุด 1.5) เทคนิคการควบคุมเท้าตาม เท้าข้างที่กระตุกเข่าขึ้นหลังเท้านาเรียกว่า “ เท้าตาม” คือ เท้าข้างที่จรดพื้นก่อนข้ามรั้วนั่นเอง เท้าข้างต่าจรดพื้น เมื่อสปริงส่งตัวขึ้นสูงสุดแล้วให้กระตุกเข่าขึ้นมาจนเป็นมุมฉากกับขาท่อนบน ปลายเท้าชี้ออกข้างลาตัว เข่าและข้อเท้าอยู่ในแนวเดียวกัน ลักษณะคล้ายกับท่าพับเพียบ 1.6) เทคนิคการลงสู่พื้น เมื่อเท้านาเลยระดับรั้วไปแล้ว ให้กดฝ่าเท้าลง สู้พื้นโดยเร็วและแรง ตามปกติเท้านาจะลงสู่พื้นรั้วห่างออกไปประมาณ 4-5 ฟุต เมื่อเท้านาแตะพื้นแล้วให้รีบกระตุกแขนให้แกว่งสลับกับเท้า เตรียมออกวิ่งต่อไป ลักษณะท่าทางการลงสู่พื้นเมื่อเท้านาแตะพื้นแล้วให้รีบกระตุกเข่าตามไปข้างหน้าพร้อมกับการกระตุกแขนแกว่งสลับกับเท้าเพื่อ เตรียมวิ่งต่อไป 1.7) เทคนิคการวิ่งเข้าเส้นชัย การวิ่งเข้าเส้นชัยให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับการวิ่งระยะสั้นเพราะระยะทางหลังรั้วสุดท้ายถึงเส้นชัยไม่จากัด จานวนก้าว ให้ใช้กาลังที่เหลือเร่งฝีเท้าให้เต็มที่พุ่งตัวเข้าสู่เส้นชัยในลักษณะท่าทางที่ตนถนัด
  • 4. ลักษณะท่าทางการวิ่งข้ามรั้วต่า โดยใช้เท้าซ้ายเป็นเท้านา ลักษณะท่าทางการวิ่งข้ามรั้วต่าโดยใช้เท้าขวาเป็นเท้านา 2) กติกาการแข่งขันเบื้องต้น ควรปฏิบัติตามดังนี้  รั้วแต่ละรั้วจะต้องวางบนลู่โดยให้ขาตั้งอยู่ริมขอบช่องวิ่ง  การแข่งขันทั้งหมดจะต้องวิ่งในช่องวิ่งและผู้เข้าแข่งขันแต่ละคนจะต้องวิ่งในช่องของตนตลอดระ ยะทาง  ผู้เข้าแข่งขันที่ใช้ขาหรือเท้าข้ามข้างรั้วหรือกระโดดข้ามรั้วใด ๆ ที่ไม่ได้อยู่ในช่องวิ่งของตนเอง หรือผู้ชี้ขาดเห็นว่ามีเจตนาทาให้รั้วล้มด้วยมือหรือเท้า จะถูกตัดสิทธิ์จากการแข่งขัน การข้ามรั้วที่ถูกกติกา ผู้แข่งขันใช้ขาหรือเท้าข้ามข้างรั้ว เป็นการข้ามรั้วที่ผิดกติกา 3) การฝึ กทักษะการวิ่งข้ามรั้ว เมื่อผู้เล่นสามารถทาท่าทางการวิ่งกระโดดข้ามรั้ว ได้แล้วก็ตั้งกล่องและรั้วห่างกันพอสมควร เสริมสาระ การวิ่งข้ามเครื่องกีดขวาง มีลักษณะคล้ายการวิ่งข้ามรั้ว แต่มีบ่อน้ากว้างอยู่นักกรีฑาจะต้องกระโดดหรือวิ่งลุยน้าไปโดยการข้ามรั้ว แต่ละรั้วอาจใช้การกระโดดหรือใช้เท้าเหยียบแล้วจึงกระโดดลงพื้นหรือกระโดดข้ามน้าอีกต่อหนึ่งก็ได้ ระยะทางที่นิยมใช้ในการแข่งขันกันมี 2,000 เมตร และ3,000 เมตร
  • 5. โดยความสูงของรั้วสูงเท่ากับกล่อง เพื่อให้ผู้เล่นคุ้นเคย กับความสูง โดยค่อย ๆ เปลี่ยนไปหรือจะตั้งเป็น 3 แถวดังนี้ 1. วางสองกล่องชิดซ้อนกันในการกระโดดรั้วแรกและรั้วสุดท้าย รั้วอื่นใช้รั้วจริง 2. วางสองกล่องชิดซ้อนกันรั้วแรก รั้วอื่นใช้รั้วจริง 3. ตั้งรั้วจริงทั้งหมด ระยะห่างระหว่างรั้ว ใช้ก้าวยาว ๆ3 ก้าว รายงาน วิชา พละศึกษา พ. 22104 เรื่อง ประวัติ วิ่งข้ามรั้ว เสนอ คุณครูวัลลาภา ไชยวาน ข้อเสนอแนะ 1. การวิ่งข้ามรั้วให้จาไว้เป็นสูตรว่า “ กระโดดเตะขาข้ามรั้ว กดตัวกระตุกเข่าหลังข้ามรั้ว” 2. ขณะวิ่งกระโดดข้ามรั้ว ไม่ควรเหลียวหลังดูคู่แข่งขันจะทาให้เสียการทรงตัว เกิดล้มได้ง่ายที่สุด 3. ฝึกวิ่งให้พอดีกับจานวนก้าวที่กาหนดไว้แต่ละช่วง 4. ปรับระยะก้าวระหว่างรั้วให้เหมาะสมกับตนเอง 5. การฝึกใหม่ ๆ ควรวิ่งช้า ๆ และรั้วอาจจะต่ากว่ากาหนดกาหนดเล็กน้อย เมื่อเกิดความชานาญแล้ว จึงเพิ่มความเร็วและรั้วให้สูงขึ้นตามกติกากาหนด 6.การก้มตัวไปข้างหน้าขณะลอยตัวอยู่กลางอากาศขึ้นอยู่กับความสูงของรั้ว ถ้ารั้วสูงลาตัวก็ก้มไปข้างหน้าให้มากขึ้น
  • 6. จัดทาโดย เด็กชายวิสทธิ์ ผาสุข ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/11 เลขที่ 10 โรงเรียน ประจักษ์ศิลปาคาร อุดรธานี