SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
ความหมายของสื่อประสม
ระบบสื่อประสม คือ เป็นการทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์
สามารถแสดงผลได้หลาย ๆ รูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น ข้อความ
กราฟิก ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ซึ่งจะเป็นการรวมเอาวิชาการ
หลาย ๆ สาขามาประยุกต์เข้าด้วยกัน ปัจจุบันเป็นที่นิยมใช่ใน
งานด้านการศึกษาเป็นอย่างมาก ซึ่งเราเรียกกันว่า การใช้
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted
Instruction: CAI)
ความหมายของสื่อประสม (ต่อ)
ผู้เรียนเรียนสามารถเรียนได้ตามความสามารถของแต่
ละบุคคลโดยจะมีการโต้ตอบกับเครื่องคอมพิวเตอร์ แสดงผล
ให้ผู้เรียนเห็นผ่านทางจอภาพที่สาคัญเทคโนโลยีนี้สามารถใช้
สื่อประสมหลาย ๆ ชนิดเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นข้อความ
กราฟิก ภาพเคลื่อนไหว หรือเสียง สื่อการเรียนรูปแบบนี้จึง
สามารถสร้างแรงจูงใจในการเรียนมากขึ้น
1.ดึงดูดความสนใจ บทเรียนสื่อประสมในลักษณะสื่อ
หลายมิติที่ประกอบด้วยภาพกราฟิก ภาพเคลื่อนไหวแบบวีดีทัศน์
และเสียง นอกเหนือไปจากเนื้อหาตัวอักษร จะดึงดูดความสนใจของ
ผู้เรียนได้เป็นอย่างดี และช่วยในการสื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
ด้วย
2.การสืบค้นเชื่อมโยงฉับไว ด้วยสมรรถนะของการ
เชื่อมโยงหลายมิติทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ในสิ่งต่าง ๆ ได้
กว้างขวางและหลากหลายได้อย่างรวดเร็วโดยไม่จาเป็นเรียนไป
ตามลาดับเนื้อหา
3.การโต้ตอบระหว่างสื่อและผู้เรียน บทเรียนสื่อประสม
จะมีจุดเชื่อมโยงหลายมิติเพื่อให้ผู้เรียนและสื่อมีปฏิสัมพันธ์กันได้ใน
ลักษณะสื่อประสมเชิงโต้ตอบ
4.ให้สารสนเทศหลากหลาย ด้วยการใช้ซีดีและดีวีดีในการ
ให้ข้อมูลและสารสนเทศในปริมาณที่มากมายและหลากหลายรูปแบบ
เกี่ยวกับเนื้อหาบทเรียนที่สอน
5.ทดสอบความเข้าใจ ผู้เรียนบางคนอาจจะไม่กล้าถามข้อ
สงสัยหรือตอบคาถามในห้องเรียน การใช้สื่อประสมจะช่วยแก้ปัญหาใน
สิ่งนี้ได้โดยการใช้ในลักษณะการศึกษารายบุคคล
6.สนับสนุนความคิดรวบยอด สื่อประสมสามารถแสดง
สารสนเทศเพื่อสนับสนุนความคิดรวบยอดของผู้เรียน โดยการเสนอสิ่งที่
ให้ตรวจสอบย้อนหลังและแก้ไขจุดอ่อนในการเรียน
วิธีการนาเสนอเนื้อหา
1. แบบการสอน (Instruction)เพื่อใช้สอนความรู้ใหม่แทน
ครู ซึ่งจะเป็นการพัฒนาแบบ Self Study Package เป็นรูปแบบของ
การศึกษาด้วยตนเอง จะเป็นชุดการสอนที่จะต้องใช้ความระมัดระวัง และ
ทักษะในการพัฒนาที่สูงมาก เพราะจะยากเป็นทวีคูณกว่าการพัฒนาชุดการ
สอนแบบโมดูลหรือแบบโปรแกรมที่เป็นตารา ซึ่งคาดว่าจะมีบทบาทมากใน
อนาคตอันใกล้นี้โดยเฉพาะ IMMCAI :Interaction Multi
Media CAI บน Internet
2. แบบสอนเสริมหรือทบทวน (Tutorial)เป็นบทเรียนเพื่อ
ทบทวนการเรียนจากห้องเรียนหรือจากผู้สอนโดยวิธีใด ๆ จากทางไกล หรือ
ทางใกล้ก็ตาม การเรียนมักจะไม่ใช่ความรู้ ใหม่ หากแต่จะเป็นความรู้ที่เคย
ได้รับมาแล้วในรูปแบบอื่น ๆแล้วใช้บทเรียนซ่อมเสริมเพื่อตอกย้า ความเข้าใจที่
ถูกต้องและสมบูรณ์ดีขึ้น สามารถใช้ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ดังนั้น
CAI ประเภทนี้จึงไม่สามารถนามาสอนแทนครูได้ทั้งหมด เพียงแต่นามาใช้
สอนเสริมหรือใช้ทบทวนในรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอนมาแล้วในชั้น
เรียนปกติ
วิธีการนาเสนอเนื้อหา (ต่อ)
วิธีการนาเสนอเนื้อหา (ต่อ)
3. แบบฝึกหัดและฝึกปฏิบัติ (Drill and Practice)
เพื่อใช้เสริมการปฏิบัติหรือเสริมทักษะ กระทาบางอย่างให้เข้าใจยิ่งขึ้นและเกิด
ทักษะที่ต้องการได้ เป็นการเสริมประสิทธิผลการเรียนของผู้เรียน สามารถใช้ใน
ห้องเรียน เสริมขณะที่สอนหรือนอกห้องเรียน ณ ที่ใด เวลาใดก็ได้ สามารถใช้
ฝึกหัดทั้งทางด้านทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ รวมทั้ง
ทางช่างอุตสาหกรรมด้วย
วิธีการนาเสนอเนื้อหา (ต่อ)
4. แบบสร้างสถานการณ์จาลอง (Simulation) เพื่อใช้
สาหรับการเรียนรู้ หรือทดลองจากสถานการณ์ที่จาลองจากสถานการณ์จริง
ซึ่งอาจจะหาไม่ได้หรืออยู่ไกล ไม่สามารถนาเข้ามาในห้องเรียนได้ หรือมีสภาพ
อันตราย หรืออาจสิ้นเปลืองมากที่ต้องใช้ของจริงซ้า ๆ สามารถใช้สาธิต
ประกอบการสอน ใช้เสริมการสอนในห้องเรียน หรือใช้ซ่อมเสริมภายหลังการ
เรียนนอกห้องเรียน ที่ใด เวลาใด ก็ได้
วิธีการนาเสนอเนื้อหา (ต่อ)
5. แบบสร้างเป็นเกม (Game) การเรียนรู้บางเรื่อง บางระดับ
บางครั้ง การพัฒนาเป็นลักษณะเกม สามารถเสริมการเรียนรู้ได้ดีกว่า การใช้
เกมเพื่อการเรียน สามารถใช้สาหรับการเรียนรู้ความรู้ใหม่หรือเสริมการเรียนใน
ห้องเรียนก็ได้ รวมทั้งสามารถสอนทดแทนครูในบางเรื่องได้ด้วย จะเป็นการ
เรียนรู้จากความเพลิดเพลิน เหมาะสาหรับผู้เรียนที่มีระยะเวลาความสนใจสั้น
เช่น เด็ก หรือในภาวะสภาพแวดล้อมที่ไม่อานวย เป็นต้น
วิธีการนาเสนอเนื้อหา (ต่อ)
6. แบบการแก้ปัญหา (Problem Solving)เป็นการฝึก
การคิด การตัดสินใจ สามารถใช้กับวิชาการต่างๆ ที่ต้องการให้สามารถคิด
แก้ปัญหา ใช้เพื่อเสริมการสอนในห้องเรียน หรือใช้ในการฝึกทั่วๆไป นอก
ห้องเรียนก็ได้ เป็นสื่อสาหรับการฝึกผู้บริหารได้ดี
วิธีการนาเสนอเนื้อหา (ต่อ)
7. แบบทดสอบ (Test) เพื่อใช้สาหรับตรวจวัดความสามารถ
ของผู้เรียน สามารถใช้ประกอบการสอนในห้องเรียน หรือใช้ตามความ
ต้องการของครู หรือของผู้เรียนเอง รวมทั้งสามารถใช้นอกห้องเรียน เพื่อ
ตรวจวัดความสามารถของตนเองได้ด้วย
วิธีการนาเสนอเนื้อหา (ต่อ)
8. แบบสร้างสถานการณ์เพื่อให้ค้นพบ (Discovery) เป็น
การจัดทาเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ จากประสบการณ์ของตนเอง โดยการ
ลองผิดลองถูก หรือเป็นการจัดระบบ นาล่องเพื่อชี้นาสู่การเรียนรู้ สามารถใช้
เรียนรู้ความรู้ใหม่หรือเป็นการทบทวนความรู้เดิม และใช้ ประกอบการสอนใน
ห้องเรียนหรือการเรียนนอกห้องเรียน สถานที่ใด เวลาใด ก็ได้
การจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
1. ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
ขั้นตอนนี้จะเริ่มตั้งแต่การทักทายผู้เรียน บอกวิธีการเรียนและบอก
จุดประสงค์ของการเรียน เพื่อที่จะให้ผู้เรียนได้ทราบว่าเมื่อเรียนจบ
บทเรียนนี้แล้วเขาจะสามารถทาอะไรได้บ้าง คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
สามารถเสนอวิธีการในรูปแบบที่น่าสนใจได้ ไม่ว่าจะเป็นลักษณะ
ภาพเคลื่อนไหว เสียงหรือผสมผสานหลาย ๆ อย่างเข้าด้วยกัน
เพื่อเร้าความสนใจของผู้เรียน ให้มุ่งความสนใจเข้าสู่บทเรียน บาง
โปรแกรมอาจจะมีแบบทดสอบวัดความพร้อมของผู้เรียนก่อนหรือมี
รายการ ( Menu ) เพื่อให้ผู้เรียนเลือกเรียนได้ตามความสนใจ และ
ผู้เรียนสามารถจัดลาดับการเรียนก่อนหลังได้ด้วยตนเอง
การจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม (ต่อ)
2. ขั้นการเสนอเนื้อหา
เมื่อผู้เรียนเลือกเรียนในเรื่องใดแล้ว คอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็จะเสนอ
เนื้อหานั้นออกมาเป็นกรอบ ๆ ( Frame ) ในรูปแบบที่เป็น
ตัวอักษร ภาพ เสียง ภาพกราฟฟิกและภาพเคลื่อนไหว เพื่อเร้าความ
สนใจในการเรียน และสร้างความเข้าใจในความคิดรวบยอดต่าง ๆ
แต่ละกรอบ หรือเสนอเนื้อหาเรียงลาดับไปทีละอย่างทีละประเด็น โดย
เริ่มจากง่ายไปหายาก ผู้เรียนจะควบคุมความเร็วในการเรียนด้วย
ตนเอง เพื่อที่จะให้ได้เรียนรู้ได้มากที่สุด ตามความสามารถ และมีการ
ชี้แนะหรือการจัดเนื้อหาสาหรับการช่วยเหลือผู้เรียนให้เกิดการเรียนที่ดีขึ้น
การจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม (ต่อ)
3. ขั้นคาถามและคาตอบ
หลังจากเสนอเนื้อหาของบทเรียนไปแล้ว เพื่อที่จะวัดผู้เรียนว่ามีความรู้
ความเข้าใจเนื้อหาที่เรียนผ่านมาแล้วเพียงใดก็จะมีการทบทวนโดยการให้
ทาแบบฝึกหัด และช่วยเพิ่มพูนความรู้ความชานาญ เช่น ให้ทา
แบบฝึกหัดชนิดคาถาม แบบเลือกตอบ แบบถูกผิด แบบจับคู่และแบบ
เติมคา เป็นต้น
ซึ่งคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสามารถเสนอแบบฝึกหัดแก่ผู้เรียนได้น่าสนใจ
มากกว่าแบบทดสอบธรรมดาและผู้เรียนตอบคาถามผ่านทางแป้ นพิมพ์
หรือเมาท์ ( Mouse ) นอกจากนี้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนยังสามารถจับ
เวลาในการตอบคาถามของผู้เรียนได้ด้วย ถ้าผู้เรียนไม่สามารถตอบ
คาถามได้ในเวลาที่กาหนดไว้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็จะเสนอความ
ช่วยเหลือให้
การจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม (ต่อ)
4. ขั้นการตรวจคาตอบ
เมื่อระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอนได้รับคาตอบจากผู้เรียน
แล้ว คอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็จะตรวจคาตอบและแจ้งผลให้ผู้เรียนได้
ทราบ การแจ้งผลอาจแจ้งเป็นแบบข้อความ กราฟฟิก หรือเสียง ถ้า
ผู้เรียนตอบถูกก็จะได้รับการเสริมแรง
( Reinforcement )
เช่น การให้คาชมเชย เสียงเพลง หรือให้ภาพกราฟฟิกสวย ๆ และถ้า
ผู้เรียนตอบผิด คอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็จะบอกใบ้ให้หรือให้การซ่อมเสริม
เนื้อหาแล้วให้คาถามนั้นใหม่ เมื่อตอบได้ถูกต้อง จึงก้าวไปสู่หัวเรื่องใหม่
ต่อไป ซึ่งจะหมุนเวียนเป็นวงจรอยู่จนกว่าจะหมดบทเรียนในหน่วยนั้น ๆ
การจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม (ต่อ)
5. ขั้นการปิดบทเรียน
เมื่อผู้เรียนเรียนจนจบบทเรียนแล้ว คอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะทาการ
ประเมินผล ผู้เรียนโดยการทาแบบทดสอบ ซึ่งจุดเด่นของ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือ สามารถสุ่มข้อสอบออกมาจากคลังข้อสอบ
ที่ได้สร้างไว้และเสนอให้ผู้เรียนแต่ละคนโดยไม่เหมือนกัน
จึงทาให้ผู้เรียนไม่สามารถจดจาคาตอบจากการที่ทาในครั้งแรก ๆ นั้นได้
หรือแบบไม่รู้คาตอบนั้นมาก่อนเอามาใช้ประโยชน์ เมื่อทาแบบทดสอบ
นั้นเสร็จแล้วผู้เรียนจะได้รับทราบคะแนนการทาแบบทดสอบของตนเอง
ว่าผ่านตามเกณฑ์ที่ได้กาหนดไว้ตั้งแต่แรก อีกทั้งคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะ
บอกเวลาที่ใช้ในการเรียนในหน่วยนั้น ๆ ได้ด้วย เป็นต้น
โมเดล
ขั้นนาเข้าสู่
บทเรียน
ขั้นการเสนอ
เนื้อหา
ขั้นการตรวจ
คาตอบ
ขั้นการปิด
บทเรียน
ขั้นคาถามและ
คาตอบ
อ้างอิงจาก…
• http://www.st.ac.th/av/inno_multimedia
.htm
• https://www.gotoknow.org/posts/21085
6
• https://sornordon.wordpress.com/2011
/08/31/
จัดทาโดย
นางสาวกมลชนก เวชสิทธิ์
5615871001 ภาษาอังกฤษ คบ.

More Related Content

Viewers also liked

ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้guestfc034
 
mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
ส่วนประกอบของหนังสือเล่มเล็ก
ส่วนประกอบของหนังสือเล่มเล็กส่วนประกอบของหนังสือเล่มเล็ก
ส่วนประกอบของหนังสือเล่มเล็กPor Lio
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้Rainbow Tiwa
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์Mod DW
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)Mamoss CM
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismคน ขี้เล่า
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กGed Gis
 
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์chanchirajap
 

Viewers also liked (12)

Behavioral theories
Behavioral theoriesBehavioral theories
Behavioral theories
 
แม บการเช _อมต_ออ_นเทอร_เน_ต
แม บการเช _อมต_ออ_นเทอร_เน_ตแม บการเช _อมต_ออ_นเทอร_เน_ต
แม บการเช _อมต_ออ_นเทอร_เน_ต
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
09 10-14 cognitive constructivismv2
09 10-14 cognitive constructivismv209 10-14 cognitive constructivismv2
09 10-14 cognitive constructivismv2
 
mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้
 
ส่วนประกอบของหนังสือเล่มเล็ก
ส่วนประกอบของหนังสือเล่มเล็กส่วนประกอบของหนังสือเล่มเล็ก
ส่วนประกอบของหนังสือเล่มเล็ก
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
 

Similar to วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม

Cai คืออะไร
Cai คืออะไรCai คืออะไร
Cai คืออะไรSudkamon Play
 
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดียใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดียคีตะบลู รักคำภีร์
 
งานกลุ่มเทคโนโลยี5/1
งานกลุ่มเทคโนโลยี5/1งานกลุ่มเทคโนโลยี5/1
งานกลุ่มเทคโนโลยี5/1ITitle A'lohaa
 
งานกลุ่มเทคโนโลยี5/1
งานกลุ่มเทคโนโลยี5/1งานกลุ่มเทคโนโลยี5/1
งานกลุ่มเทคโนโลยี5/1ITitle A'lohaa
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสม
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสมแผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสม
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสมkrunueng1
 
เทคโนโลยีสื่อประสม
เทคโนโลยีสื่อประสมเทคโนโลยีสื่อประสม
เทคโนโลยีสื่อประสมchavala
 
2 multimedia property
2 multimedia property2 multimedia property
2 multimedia propertyApida Runvat
 
งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6Pronsawan Petklub
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 
Innovation2
Innovation2Innovation2
Innovation2btusek53
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาbtusek53
 
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2parnee
 

Similar to วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม (20)

นาย อัฒพล เจริญรัตน์ 538144213
นาย อัฒพล เจริญรัตน์ 538144213นาย อัฒพล เจริญรัตน์ 538144213
นาย อัฒพล เจริญรัตน์ 538144213
 
Cai คืออะไร
Cai คืออะไรCai คืออะไร
Cai คืออะไร
 
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดียใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
 
Title
TitleTitle
Title
 
งานกลุ่มเทคโนโลยี5/1
งานกลุ่มเทคโนโลยี5/1งานกลุ่มเทคโนโลยี5/1
งานกลุ่มเทคโนโลยี5/1
 
งานกลุ่มเทคโนโลยี5/1
งานกลุ่มเทคโนโลยี5/1งานกลุ่มเทคโนโลยี5/1
งานกลุ่มเทคโนโลยี5/1
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสม
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสมแผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสม
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสม
 
เทคโนโลยีสื่อประสม
เทคโนโลยีสื่อประสมเทคโนโลยีสื่อประสม
เทคโนโลยีสื่อประสม
 
2 multimedia property
2 multimedia property2 multimedia property
2 multimedia property
 
งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6
 
2
22
2
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
07
0707
07
 
Multi2
Multi2Multi2
Multi2
 
Multi
MultiMulti
Multi
 
Innovation2
Innovation2Innovation2
Innovation2
 
1 multimedia
1 multimedia1 multimedia
1 multimedia
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
 
Innovation2
Innovation2Innovation2
Innovation2
 
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
 

วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม