SlideShare a Scribd company logo
ฮีตสิบสอง คองสิบสี่
ฮีตสิบสอง มาจากคาสองคา ได้แก่ ฮีต คือ คาว่า จารีต ซึ่งหมายถึง ความประพฤติ
ธรรมเนียม ประเพณี ความประพฤติที่ดี
สิบสอง หมายถึง สิบสองเดือน
• ดังนั้น ฮีตสิบสองจึงหมายถึงประเพณีที่ประชาชนในภาคอีสานปฏิบัติกันมาในโอกาส
โอกาสต่าง ๆ ทั้งสิบสองเดือนของแต่ละปี
• เป็นการผสมผสานพิธีกรรมที่เกี่ยวกับเรื่องผีและพิธีกรรมทางการเกษตร เข้ากับ
พิธีกรรมทางพุทธศาสนา
เดือนอ้าย-บุญเข้ากรรม
• เดือนเจียง(เดือนอ้าย)
• นิมนต์สังฆเจ้าเข้ากรรมฯ
นิมนต์พระสงฆ์เจ้ามาเข้าปริวาสกรรมหรือเข้ากรรมนั้น เป็นพิธีกรรมเพื่อให้พระภิกษุ
ผู้กระทาความผิดได้สารภาพต่อหน้าคณะสงฆ์ (มิใช่การล้างบาป) เป็นการฝึกความรู้สึก
สานึก วิจัยต่อความบกพร่องของตัวเอง
• ชาวบ้านเลี้ยงผีแถนและผีต่างๆ(บรรพบุรุษหรือบรรพบุรุษผู้ล่วงลับ)
เดือนยี่-บุญคูณลาน
• เดือนยี่ บุญ "คูณข้าว" มีพระสวดมนต์เย็นยันเช้า เพื่อเป็นสิริมงคลแก่
ข้าวเปลือก เมื่อพระฉันเช้าแล้วก็ทาพิธีสู่ขวัญข้าว (ทาขวัญหรือสูตรขวัญ)
• ชาวบ้านเตรียมสะสมเชื้อเพลิงหาฟืนและถ่านมาไว้ในบ้าน
เดือนสาม – บุญข้าวจี่
• เดือนสาม ในมื้อเพ็ง (วันเพ็ญ) ให้ทาบุญข้าวจี่และบุญมาฆะบูชา
• เริ่มพิธีทาบุญข้าวจี่ในตอนเช้าโดยใช้ข้าวเหนียวปั้นหุ้มน้าอ้อยเอาไปปิ้งหรือจี่
พอเกรียมแล้วชุบด้วยไข่ลนไฟจนสุก ตั้งไว้ในหัวแจก(ศาลาวัด)
• นิมนต์พระรับศีล แล้วนาข้าวจี่ใส่บาตรนาถวายแด่พระภิกษุสงฆ์พร้อมด้วย
อาหารอื่น มีการแสดงพระธรรมเทศนา
เดือนสี่ - บุญพระเวส
• มีความเชื่อว่าผู้ใดปรารถนาที่จะได้พบพระศรีอริยเมตไตย์ ให้ฟังธรรมเทศนา
เรื่องพระมหาเวสสันดรชาดกให้จบสิ้นภายในวันเดียวกัน
• ในงานบุญนี้มักจะมีผู้นาของมาถวายพระซึ่งเรียกว่า "กัณฑ์หลอน" หรือ
• ถ้าจะเจาะจงถวายเฉพาะพระนักเทศน์ที่ตนนิมนต์มาก็เรียกว่า "กัณฑ์จอบ"
เพราะต้องแอบซุ่มดูให้แน่เสียก่อน
เดือนห้า - บุญสงกรานต์
ในระหว่างบุญนี้ทุกคนจะหยุดงานธุรกิจประจาวัน โดยเฉพาะมีวันสาคัญดังนี้
คือ
– ก. วันสังขารล่วง เป็นวันแรกของงานจะนาพระพุทธลงมาความสะอาดและตั้งไว้
ณ สถานที่อันสมควร แล้วพากันสรงพระด้วยน้าหอม
– ข. วันสังขารเน่า เป็นวันที่สองของงาน พากันทาบุญอุทิศส่วนกุศลให้บิดามารดาที่
ล่วงลับไปแล้ว
– ค. วันสังขารขึ้น เป็นวันที่สามของงาน ทาบุญตักบาตรถวายภัตตาหารแด่พระ-
เณร แล้วทาการคารวะบิดามารดาและคนแก่ ส่งท้ายด้วยมีพิธีบายศรีสู่ขวัญ แล้วใช้
น้าที่เหลือใช้จากการรดน้าให้ผู้ใหญ่น้า มารดให้แก่ผู้ร่วมงาน ภายหลังจึงแผลงมา
เป็นการวิ่งไล่สาดน้ากลั่นแกล้งกัน
บุญสงกรานต์
เดือนหก - บุญบั้งไฟ
• เดือนหก ทำบุญวันวิสำขบูชำ
• มีกำรเทศน์ตลอดวัน ตลอดกลำงคืนมีกำรเวียนเทียน
• งำนบุญสำคัญอีกบุญหนึ่งคือ บุญสัจจะ หรือบุญบั้งไฟเพื่อถวำยเป็น
พุทธบูชำและขอฝน
• ตอนกลำงคืนมักจะมีกำรตีกลองเอำเสียงดังแข่งกันเรียกว่ำ "กลองเส็ง"
บำงตำรำก็ว่ำต้องมีพิธีสรงน้ำพระพุทธรูปฝ่ำยเหนือและฝ่ำยใต้
ตลอดจนมีกำรถือน้ำพระพิพัฒน์ต่อพระพุทธเจ้ำ พระธรรมเจ้ำ พระสงฆ์
เจ้ำ และต่อแผ่นดิน
ประเพณีบุญบั้งไฟที่มีชื่อเสียงอยู่ที่จังหวัด
ยโสธร
เดือนเจ็ด - บุญซาฮะ
• เดือนเจ็ด ทาบุญบูชาเทวดาอาฮักษ์หลังเมือง (วีรบุรุษ)
• ทาการเซ่นสรวง หลักเมือง หลักเมือง ผีพ่อแม่ ผีปู่ตา ผีเมือง(บรรพบุรุษ) ผี
แฮก(เทวดารักษานาไร่) คล้ายกันกับพิธีแรกนาขวัญ ซึ่งเป็นพิธีกรรมก่อนจะ
มีการทานา
เดือนแปด - บุญเข้าพรรษา
• ทาบุญตักบาตร ถวายภัตตาหารเช้าและเพลแก่พระสงฆ์ บ่ายมีการฟังธรรม
เทศนา
• มีการป่าวร้องให้ชาวบ้านนาขี้ผึ้งมาหล่อเทียนใหญ่ น้อย สาหรับจุดไว้ใน
โบสถ์เป็นพุทธบูชาตลอดฤดูกาลเข้าพรรษา ในเมืองหลวงมีการถวาย "เทียน
จา" แก่อารามสาคัญ
ขบวนแห่เทียนพรรษาที่มีชื่อเสียงของภาคอีสาน อยู่ที่
จังหวัดอุบลราชธานีและนครราชสีมา
โคราช
อุบลราชธานี
เดือนเก้า - บุญข้าวประดับดิน
• ทาบุญข้าว และอาหารความหวานพร้อมทั้งหมากพลูบุหรี่ห่อด้วยใบตอง
กล้วยแล้วนาไปวางไว้ตามต้นไม้และพื้นหญ้า เพื่ออุทิศให้แก่บรรดาญาติผู้
ล่วงลับ
• กาหนดทาใน วันแรมสิบสี่ค่าเดือนเก้า ต่อมาภายหลังนิยมทาภัตตาหารถวาย
แก่พระภิกษุสงฆ์ สามเณร แล้วอุทิศให้ผู้แก่ตามด้วยการหยาดน้า (กรวดน้า)
เดือนสิบ-บุญข้าวสาก
• เดือนสิบ ทาบุญข้าวสากหรือข้าวสลาก (สลากภัตร) ในวันเพ็ญ
• เป็นการอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ตายเช่นเดียวกับบุญข้าวประดับดิน โดยมีเวลา
ห่างกัน 15 วัน เป็นระยะเวลาที่พวกเปรตจะต้องกลับคืนไปเมืองนรก (ตาม
นิทานชาดก)
• โดยผู้ที่ถวายทานจะเขียนชื่อของตนไว้ในภาชนะที่ใส่ของทานไว้แล้วเขียน
ชื่อของตนใส่กระดาษนาไปใส่ไว้อีกบาตร เมื่อภิกษุสามเณรรูปใดจับได้สลาก
ของผู้ใดก็จะเรียกให้เจ้าของสลากนาเอาของถวาย
เดือนสิบเอ็ด - บุญออกพรรษา
• สังฆเจ้าออกวัสสปวารณาฯ
• มีการตามประทีปโคมไฟเรียกว่าทาบุญจุดประทีป นาไปแขวนไว้ตามต้นไม้
เต็มวัด
• นอกจากนั้นบางหมู่บ้านก็ทารั้วลดเลี้ยวไปเรียกว่าคีรีวงกฎ และมีการทา
ปราสาทผึ้งถวายพระด้วย
ปราสาทผึ้งหรือ ผาสาดเผิ้ง ที่มีชื่อเสียงของภาคอีสานที่เมือง
เชียงคานจังหวัดเลยและจังหวัดสกลนคร
สกลนคร
เชียงคาน
เลย
เดือนสิบสอง - บุญกฐิน
• เดือนสิบสอง เป็นเดือนส่งท้ายปีเก่าตามคติเดิม มีการทาบุญกองกฐิน ซึ่งเริ่ม
ตั้งแต่วันแรมหนึ่งค่าเดือนสิบเอ็ดถึงกลางเดือนสิบเอ็ดถึงกลางเดือนสิบสอง
• ชาวอีสานครั้งก่อนนิยมเริ่มทาตั้งแต่วันแรมหนึ่งค่าเดือนสิบสอง จึงมักเรียกว่าบุญ
กฐินว่าเป็นบุญเดือนสิบสอง มีทั้งมหากฐิน(กองใหญ่) และบุญจุลกฐิน(กองเล็ก)
• อัฎฐะบริขารที่จาเป็นต้องทอดเป็นองค์กฐิน ขาดมิได้ คือบาตร สังฆาฏิ จีวร สบง
มีโกนหรือมีดตัดเล็บ สายรัดประคด ผ้ากรองน้า และเข็ม นอกจากนั้นเป็นเพียง
องค์ประกอบ
• หลังจากวันเพ็ญเดือนสิบสองแล้วจะทอดกฐินไม่ได้อีก จึงต้องทาบุญกอง
บัง(บังสุกุลหรือทอดผ้าป่า) และทาบุญกองอัฏฐะ คือการถวายอัฏฐะบริขารแปด
อย่างแก่พระสงฆ์
• บุญเดือนสิบสองที่สาคัญของชุมชนริมแม่น้าก็คือการ "ซ่วงเฮือ" (แข่งเรือ) เพื่อ
บูชาอุสุพญานาค 15 ตระกูล และราลึกถึงพระยาฟ้ างุ้มที่นาพระไตรปิฎกขึ้นมา
แต่เมืองอินทปัตถะนคร (เขมร)
กำรแห่กฐินของภำค
อีสำน
การแข่งเรือหลังออก
พรรษา โคราช
คองสิบสี่ เป็นคาและข้อปฏิบัติคู่กับฮีตสิบสอง
คอง แปลว่า แนวทาง หรือ ครรลอง ซึ่งหมายถึง ธรรมเนียมประเพณี
สิบสี่ หมายถึง ข้อวัตรหรือแนวทางปฏิบัติสิบสี่ข้อ
ดังนั้น คองสิบสี่ จึงหมายถึง ข้อวัตรหรือแนวทางที่ประชาชนทุกระดับ
นับตั้งแต่พระมหากษัตริย์ ผู้มีหน้าที่ปกครองบ้านเมือง พระสงฆ์ และคนธรรมดา
ธรรมดาสามัญพึงปฏิบัติสิบสี่ข้อ อาจสรุปได้หลายมุมมองดังนี้
•เป็นหลักปฏิบัติกล่าวถึงครอบครัวในสังคมตลอดจนผู้ปกครองบ้านเมือง
•เป็นหลักปฏิบัติของพระมหากษัตริย์ในการปกครองบ้านเมืองและหลักปฏิบัติของประชาชนต่อพระมหากษัตริย์
•เป็นหลักปฏิบัติที่พระราชายึดถือปฏิบัติ เน้นให้ประชาชนปฏิบัติตามจารีตประเพณี และคนในครอบครัวที่ปฏิบัติต่อกัน
•เป็นหลักปฏิบัติในการปกครองบ้านเมืองให้อยู่เป็นสุขตามจารีตประเพณี
•เป็นหลักปฏิบัติกล่ำวถึงครอบครัวในสังคม ตลอดจนผู้ปกครอง
บ้ำนเมือง
•เป็นหลักปฏิบัติของพระมหำกษัตริย์ในกำรปกครองบ้ำนเมือง และ
หลักปฏิบัติของประชำชนต่อพระมหำกษัตริย์
•เป็นหลักปฏิบัติที่พระรำชำยึดถือปฏิบัติ เน้นให้ประชำชนปฏิบัติตำม
จำรีตประเพณี และคนในครอบครัวที่ปฏิบัติต่อกัน
•เป็นหลักปฏิบัติในกำรปกครองบ้ำนเมืองให้อยู่เป็นสุขตำมจำรีต
ประเพณี
• ฮีตเจ้ำคองขุน
• ฮีตท้ำวคองเพีย
• ฮีตไพร่คองนำย
• ฮีตบ้ำนคองเมือง
• ฮีตปู่คลองย่ำ
• ฮีตตำคองยำย
• ฮีตพ่อคองแม่
• ฮีตใภ้คองเขย
• ฮีตป้ ำคองลุง
• ฮีตลูกคองหลำน
• ฮีตเถ้ำคองแก่
• ฮีตปีคองเดือน (ฮีตสิบสอง)
• ฮีตไฮ่คองนำ
• ฮีตวัดคองสงฆ์
๑. ฮีตเจ้ำคองขุน หลักกำรปฏิบัติ
ระหว่ำงพระเจ้ำแผ่นดินกับขุนนำง
๒. ฮีตท้ำวคองเพีย หลักกำรปฏิบัติ
ระหว่ำงเจ้ำนำยชั้นผู้ใหญ่กับขุนนำงชั้น
ผู้ใหญ่
๓. ฮีตไพร่คองนำย หลักกำรปฏิบัติของ
รำษฎรต่อนำยของตน
๔. ฮีตบ้ำนคองเมือง คือกฎระเบียบของ
บ้ำนเมือง
๕-๙ เป็นธรรมเนียมที่พึงปฏิบัติระหว่ำงคนใน
ครอบครัว
๕. ฮีตปู่คองย่ำ หลักกำรปฏิบัติของปู่ย่ำตำยำย ให้เป็นร่มโพธ์ร่มไทรต่อ
ลูกหลำน
๖. ฮีตพ่อคองแม่ หลักกำรปฏิบัติของผู้ครองเรือนต่อลูกหลำน
๗. ฮีตสะใภ้คองเขย หลักกำรปฏิบัติของสะใภ้ต่อญำติผู้ใหญ่และพ่อแม่
สำมี
๘. ฮีตป้ ำคองลุง หลักกำรปฏิบัติของ ลุง ป้ ำ น้ำ อำ ต่อลูกหลำน
๙. ฮีตลูกคองหลำน หลักกำรปฏิบัติของ ลูกหลำนต่อบุพกำรี
๑๐. ฮีตเฒ่ำคองแก่ เป็นธรรมเนียมที่พึงปฏิบัติของผู้เฒ่ำผู้แก่ ซึ่งถือเป็นผู้
หลักผู้ใหญ่ที่จะต้องวำงตนให้เป็นที่เคำรพของลูกหลำน
๑๑. ฮีตปีคองฮีตเดือน หมำยถึง กำรปฏิบัติตำมขนบธรรมเนียมประเพณี
ใน ๑๒ เดือน
๑๒. ฮีตไร่คองนำ หมำยถึง ธรรมเนียมที่ต้องปฏิบัติในกำรทำไร่ทำนำ
๑๓. ฮีตวัดคองสงฆ์ เป็นหลักสำหรับบุคคลที่ต้องปฏิบัติต่อพระศำสนำ
๑๔. ฮีตเจ้ำคองเมือง เป็นแบบแผนสำหรับผู้ปกครอง
๑. เมื่อได้ข้ำวใหม่หรือผลหมำกรำกไม้ ให้บริจำคทำนแก่ผู้มีศีลแล้วตนจึงบริโภคและแจกจ่ำย
แบ่งญำติพี่น้องด้วย
๒. อย่ำโลภมำก อย่ำจ่ำยเงินแดงแปงเงินคว้ำง และอย่ำกล่ำวคำหยำบช้ำกล้ำแข็ง
๓ ให้ทำป้ ำยหรือกำแพงเฮือนของตน แล้วปลูกหอบูชำเทวดำไว้ในสี่แจ(มุม)บ้ำนหรือแจเฮือน
๔ ให้ล้ำงตีนก่อนขึ้นเฮือน ๕ เมื่อถึงวันศีล ๗-๘ ค่ำ ๑๔-๑๕ ค่ำ ให้สมมำก้อนเส้ำ สมมำไฟ สม
มำขั้นบันได สมมำผักตู(ประตู)เฮือนที่ตนอำศัยอยู่
๖. ให้ล้ำงตีนก่อนเข้ำนอนตอนกลำงคืน
๗. ถึงวันศีล ให้เมียเอำดอกไม้ธูปเทียนมำสมมำสำมี แล้วให้เอำดอกไม้ ไปถวำยสังฆเจ้ำ
๘. ถึงวันศีลดับ ศีลเพ็ง ให้นิมนต์พระสงฆ์มำสูดมนต์เฮือน แล้วทำบุญตักบำตร
๙. เมื่อภิกษุมำคลุมบำตร อย่ำให้เพิ่นคอย เวลำใส่บำตรอย่ำซุน(แตะ)บำตร อย่ำซุนภิกษุ
สำมเณร
๑๐. เมื่อภิกษุเข้ำปริวำสกรรม ให้เอำขันขันข้ำวตอกดอกไม้ธูปเทียน และเครื่องอัฐบริขำรไป
ถวำยเพิ่ม
๑๑. เมื่อเห็นภิกษุ เดินผ่ำนมำให้นั่งลงยกมือไหว้แล้วจึงค่อยเจรจำ
๑๒. อย่ำเงียบ(เหยียบ)เงำพระสงฆ์
๑๓. อย่ำเอำอำกำรเงื่อน(อำหำรที่เหลือจำกกำรบริโภค)ทำนแก่สังฆเจ้ำและอย่ำเอำอำหำรเงื่อน
ให้สำมีตัวเองกิน
๑๔. อย่ำเสพกำมคุณในวันศีล วันเข้ำวัดสำ วัดออกพรรษำ วันมหำสงกรำนต์และวันเกิดของตน
ขอขอบคุณ
•www.gotoknow.org/posts/134655
•www.lib.ru.ac.th/journal/isan/hitsbsong-
kongsibsee/hit12.html
•www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?NewsID=95200
00000288
•www.prapayneethai.com
•th.wikipedia.org/wiki/ฮีตสิบสอง_คลองสิบสี่
•www.ubonpra.com

More Related Content

What's hot

รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
Chavalit Deeudomwongsa
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
Ocean'Funny Haha
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
Gawewat Dechaapinun
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha
 

What's hot (20)

ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัย
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 

More from PitchyJelly Matee

More from PitchyJelly Matee (10)

IESAC
IESACIESAC
IESAC
 
Pretest
PretestPretest
Pretest
 
Posttest
PosttestPosttest
Posttest
 
สรุปยาใหม่กลุ่ม 8 sec2
สรุปยาใหม่กลุ่ม 8 sec2สรุปยาใหม่กลุ่ม 8 sec2
สรุปยาใหม่กลุ่ม 8 sec2
 
ภาษาไทย (2)
ภาษาไทย (2)ภาษาไทย (2)
ภาษาไทย (2)
 
ทบทวนก่อนสอบปลายภาค ความเข้มข้น
ทบทวนก่อนสอบปลายภาค ความเข้มข้นทบทวนก่อนสอบปลายภาค ความเข้มข้น
ทบทวนก่อนสอบปลายภาค ความเข้มข้น
 
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัยดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
 
คุณครู บุญยงค์ เกตุคง
คุณครู บุญยงค์ เกตุคงคุณครู บุญยงค์ เกตุคง
คุณครู บุญยงค์ เกตุคง
 
คำถามMicrobiology
คำถามMicrobiologyคำถามMicrobiology
คำถามMicrobiology
 
คำถามอนาฉบับไหวพริบ
คำถามอนาฉบับไหวพริบคำถามอนาฉบับไหวพริบ
คำถามอนาฉบับไหวพริบ
 

ฮีตสิบสอง คองสิบสี่