SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
สรุปยาใหม่ “ Sacubitril/Valsartan” (Entresto®)
กลุ่ม 8 Sec 02 (สัมมนายาใหม่ : New drug )
ภาวะหัวใจล้มเหลว (Heart failure) และสาเหตุการเกิดโรค
ความสามารถของหัวใจที่จะสูบฉีดเลือดออกไปเลี้ยงส่วน
ต่างๆของร่างกาย หรือรับเลือดจากส่วนต่างๆ กลับเข้าสู่หัวใจผิดปกติไป
ส่งผลให้ปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายลดลงไม่เพียงพอ
แต่เดิมเรียก ภาวะหัวใจวายที่มีเลือดคั่ง หรือ Congestive Heart Failure,
CHF มักเกิดจากความผิดปกติในการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้าย (left
ventricular systolic dysfunction) ในปัจจุบันจึงนิยมใช้คาว่า heart
failure (HF)
หัวใจล้มเหลวทาให้เกิดอาการหรืออาการแสดงที่เกิดจากการที่เลือดออกจากหั
วใจไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
หรือเกิดจากการคั่งของเลือดในหัวใจห้องซ้าย และปอด เรียกว่า pulmonary
venous congestion ทาให้เกิดอาการเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้
หรือเกิดจากการคั่งของเลือดในหัวใจห้องขวา ทาให้หลอดเลือดดาที่คอโป่ง
ตับโต จุกแน่นท้องบริเวณลิ้นปี่ และบวม
ชนิดของภาวะหัวใจล้มเหลว
กลไกการปรับชดเชยเมื่อมีภาวะหัวใจ
ล้มเหลว (Compensatory
Mechanisms)
การกระตุ้นการทางานของระบบ
renin-angiotensin-aldosterone
system ทาให้เกิดการดูดซึมน้าและเกลือโซเดียมกลับเข้าสู่ร่างกายเพิ่มขึ้น
เกิดการคั่งน้าและเกลือในร่างกาย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการเกิดภาวะedema
ผลของการกระตุ้นระบบ renin angiotensin aldosterone
system(RAAS) ทาให้มีการสร้าง Angiotensin II เพิ่มขึ้น Angiotensin
II และ aldosterone ทาเกิดภาวะ vascular remodeling และ cardiac
remodeling
ระบบ sympathetic nervous system (SNS)
ทาให้ผู้ป่วยมีอาการหัวใจเต้นเร็ว (tachycardia) และหลอดเลือดตีบตัว
(vasoconstriction) ซึ่งผลจากการที่หลอดเลือดแดงตีบตัวจะทาให้
afterload ของหัวใจเพิ่มขึ้น หัวใจทางานหนักขึ้น แต่ได้ cardiac output
ลดลง ทาให้มีเลือดไปยังไตลดลง ส่งผลให้มีการกระตุ้นระบบ renin-
angiotensin-aldosterone เพิ่มขึ้น นอกจากนี้
ในภาวะมีเลือดคั่งอยู่ในหัวใจมากจะทาให้กล้ามเนื้อหัวใจห้องบนยืดตัวออกด้ว
ยส่งผลให้มีการปลดปล่อยสาร Atrial natriuretic peptide (ANP) และ
Arginine vasopressin (AVP) เพิ่มขึ้น โดย AVP เป็นสารประเภท
antidiuretic hormone ส่วน ANP และ BNP มีฤทธิ์ขยายหลอดเลือด
ขับปัสสาวะและขับโซเดียม
กลไกของยา
ระบบที่มีความเกี่ยวข้องกับการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวนั่นก็คือ
Natriuretic peptide system ยา
กลุ่มใหม่ที่มีชื่อว่า Neprilysin inhibitor จะมีผลไปยับยั้ง เอนไซม์
neprilysin เพื่อเพิ่มปริมาณ Natriuretic peptides
อย่างไรก็ตามการยับยั้งเอนไซม์นี้ จะไปมีผลเพิ่มปริมาณ Angiotensin II
ด้วย จึงต้องให้ยา neprilysin inhibitor ควบคู่ไปกับยาที่ยับยั้ง RAAS
จึงเกิดการศึกษาประสิทธิภาพของยา Angiotensin II Receptor Blocker
(ARB) รวมกับ Neprilysin inhibitor
sacubitril เป็นยากลุ่ม neprilysin inhibitor โดยมี active form คือ
LBQ657 ซึ่งจะไปยับยั้งneprilysin ทาให้ปริมาณ Natriuretic Peptide
ในร่างกายสูงขึ้นเกิด vasodilation ส่วนยาในกลุ่มที่มีผล block
ฤทธิ์ของAngiotensin II คือ
valsartan ที่เป็นยากลุ่ม ARBs
จึงเกิดเป็นcombination drugs
Doses recommend ของยาคือ
sacubitril 49mg และ valsartan 51
mg 2ครั้งต่อวัน และเมื่อผ่านไป2-
4สัปดาห์จะปรับปริมาณยาขึ้นเป็น
sacubitril 97mg และ valsartan
103 mg 2ครั้งต่อวัน
Drug interaction
-ห้ามใช้ยาsacubitril/valsartanร่วมกับยากลุ่ม ACEI
เนื่องจากอาจจะทาให้เกิด angioedema
-ห้ามใช้ยาร่วมกับ potassium sparing diuretic เนื่องจากจะทาให้เกิด
hyperkalemia
-ห้ามใช้ยาร่วมกับยากลุ่มNSAIDS จะทาให้
ความสามารถในการทางานของไตลดลง
Pharmacokinetic
ADRs >10% : Hypotension (18%) ,Hyperkalemia (12%)
1-10% : ไอ มึนงง ความดันต่าจากการเปลี่ยนท่าทาง เป็นลม
<1% : Angioedema
ข้อควรระวังในการใช้ยา sacubitril/valsartan
- ผู้ป่วยที่มีอาการ hypersensitivity
- ผู้ป่วยที่เคยมีประวัติ angioedema จากรักษาด้วยยา ACEIs หรือ
ARBs
- ห้ามใช้ร่วมกับยา ACEI โดยต้องหยุดยา sacubitril/valsatan
อย่างน้อย 36 ชั่วโมง ถึงจะเปลี่ยนมาใช้ ACEIs ได้
- ในผู้ป่วยเบาหวาน ที่กาลังรับยา Aliskiren
US FDA Approve PARADIGM-HF trial
เปรียบเทียบประสิทธิภาพของยา Angiotensin receptor-neprilysin
inhibitor กับ Enalapril ในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว
สรุป จากการวิจัยในการรักษาผู้ป่วย HFrEF พบว่า Sacubitril/Valsartan
เหนือกว่า Enalapril ในด้านของ ประสิทธิภาพและความทนต่อยา
โดยสามารถลดอัตราตาย และการเข้ารักษาในโรงพยาบาลด้วยภาวะ HF
และลดผลข้างเคียงจากการใช้ยา ได้แก่ ไอแห้ง Hyperkalemia
ภาวะไตบกพร่อง ส่วนภาวะ hypotension จะเกิดขึ้นมากกว่า Enalapril
แต่ผู้ป่วยสามารถทนต่อภาวะดังกล่าวและไม่หยุดการใช้ยา นอกจากนี้
Angioedema ซึ่งเป็น ADRที่สาคัญ จะเกิดไม่แตกต่างกันทางสถิติ ภาวะ
angioedema ที่เกิดขึ้นพบว่าไม่เป็นอันตรายถึงชีวิต
งานวิจัยที่นามาอ้างอิง
ขอขอบคุณภาพประกอบ จาก google.co.th

More Related Content

What's hot

Sistema circulatório
Sistema circulatórioSistema circulatório
Sistema circulatóriorukka
 
1.chave para o entendimento dos ecg's
1.chave para o entendimento dos ecg's1.chave para o entendimento dos ecg's
1.chave para o entendimento dos ecg'sMickael Gomes
 
Drogas vasoativas
Drogas  vasoativasDrogas  vasoativas
Drogas vasoativasdagma30
 
Valvopatia
ValvopatiaValvopatia
Valvopatiadapab
 
Medicamentos utilizados no tratamento da insuficiência cardíaca
Medicamentos utilizados no tratamento da insuficiência cardíacaMedicamentos utilizados no tratamento da insuficiência cardíaca
Medicamentos utilizados no tratamento da insuficiência cardíacaDanilo Alves
 
Aula Anestesia em pacientes com doença valvar avançada
Aula Anestesia em pacientes com doença valvar avançadaAula Anestesia em pacientes com doença valvar avançada
Aula Anestesia em pacientes com doença valvar avançadaCarlos Galhardo Junior
 
Angina de peito final
Angina de peito finalAngina de peito final
Angina de peito finalCarla Borges
 
Manual Cardiologia Cardiopapers
Manual Cardiologia CardiopapersManual Cardiologia Cardiopapers
Manual Cardiologia Cardiopapersgalegoo
 
Aula antihipertensivos
Aula  antihipertensivosAula  antihipertensivos
Aula antihipertensivosRenato Santos
 
Laporan kegiatan pkk rt 03 rw 02
Laporan kegiatan pkk rt 03 rw 02Laporan kegiatan pkk rt 03 rw 02
Laporan kegiatan pkk rt 03 rw 02JoniSetiawan17
 

What's hot (13)

Sistema circulatório
Sistema circulatórioSistema circulatório
Sistema circulatório
 
1.chave para o entendimento dos ecg's
1.chave para o entendimento dos ecg's1.chave para o entendimento dos ecg's
1.chave para o entendimento dos ecg's
 
Drogas vasoativas
Drogas  vasoativasDrogas  vasoativas
Drogas vasoativas
 
Valvopatia
ValvopatiaValvopatia
Valvopatia
 
Medicamentos utilizados no tratamento da insuficiência cardíaca
Medicamentos utilizados no tratamento da insuficiência cardíacaMedicamentos utilizados no tratamento da insuficiência cardíaca
Medicamentos utilizados no tratamento da insuficiência cardíaca
 
Aines
AinesAines
Aines
 
Aula Anestesia em pacientes com doença valvar avançada
Aula Anestesia em pacientes com doença valvar avançadaAula Anestesia em pacientes com doença valvar avançada
Aula Anestesia em pacientes com doença valvar avançada
 
Reação
 Reação Reação
Reação
 
Angina de peito final
Angina de peito finalAngina de peito final
Angina de peito final
 
Manual Cardiologia Cardiopapers
Manual Cardiologia CardiopapersManual Cardiologia Cardiopapers
Manual Cardiologia Cardiopapers
 
Aula antihipertensivos
Aula  antihipertensivosAula  antihipertensivos
Aula antihipertensivos
 
Infarto
InfartoInfarto
Infarto
 
Laporan kegiatan pkk rt 03 rw 02
Laporan kegiatan pkk rt 03 rw 02Laporan kegiatan pkk rt 03 rw 02
Laporan kegiatan pkk rt 03 rw 02
 

Viewers also liked (17)

Oasis advert analysis
Oasis advert analysisOasis advert analysis
Oasis advert analysis
 
M2
M2M2
M2
 
Week 1
Week 1Week 1
Week 1
 
Blur advert analysis
Blur advert analysisBlur advert analysis
Blur advert analysis
 
303 facebook
303 facebook303 facebook
303 facebook
 
Actividad de prueba
Actividad de prueba Actividad de prueba
Actividad de prueba
 
269 mario c
269 mario c269 mario c
269 mario c
 
Com music
Com musicCom music
Com music
 
Escritores e novas mídias
Escritores e novas mídiasEscritores e novas mídias
Escritores e novas mídias
 
ประชาคมอาเซี่ยน
ประชาคมอาเซี่ยนประชาคมอาเซี่ยน
ประชาคมอาเซี่ยน
 
Pulp album analysis
Pulp album analysisPulp album analysis
Pulp album analysis
 
The pipelined processors
The pipelined processorsThe pipelined processors
The pipelined processors
 
Prezi
PreziPrezi
Prezi
 
Rfid
RfidRfid
Rfid
 
Cloud Computing
Cloud ComputingCloud Computing
Cloud Computing
 
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัยดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
 
Hackers manual 2015 revised edition
Hackers manual 2015 revised editionHackers manual 2015 revised edition
Hackers manual 2015 revised edition
 

More from PitchyJelly Matee

ทบทวนก่อนสอบปลายภาค ความเข้มข้น
ทบทวนก่อนสอบปลายภาค ความเข้มข้นทบทวนก่อนสอบปลายภาค ความเข้มข้น
ทบทวนก่อนสอบปลายภาค ความเข้มข้นPitchyJelly Matee
 
คุณครู บุญยงค์ เกตุคง
คุณครู บุญยงค์ เกตุคงคุณครู บุญยงค์ เกตุคง
คุณครู บุญยงค์ เกตุคงPitchyJelly Matee
 
คำถามอนาฉบับไหวพริบ
คำถามอนาฉบับไหวพริบคำถามอนาฉบับไหวพริบ
คำถามอนาฉบับไหวพริบPitchyJelly Matee
 
ฮีตสิบสอง คองสิบสี่
ฮีตสิบสอง คองสิบสี่ฮีตสิบสอง คองสิบสี่
ฮีตสิบสอง คองสิบสี่PitchyJelly Matee
 

More from PitchyJelly Matee (9)

IESAC
IESACIESAC
IESAC
 
Pretest
PretestPretest
Pretest
 
Posttest
PosttestPosttest
Posttest
 
ภาษาไทย (2)
ภาษาไทย (2)ภาษาไทย (2)
ภาษาไทย (2)
 
ทบทวนก่อนสอบปลายภาค ความเข้มข้น
ทบทวนก่อนสอบปลายภาค ความเข้มข้นทบทวนก่อนสอบปลายภาค ความเข้มข้น
ทบทวนก่อนสอบปลายภาค ความเข้มข้น
 
คุณครู บุญยงค์ เกตุคง
คุณครู บุญยงค์ เกตุคงคุณครู บุญยงค์ เกตุคง
คุณครู บุญยงค์ เกตุคง
 
คำถามMicrobiology
คำถามMicrobiologyคำถามMicrobiology
คำถามMicrobiology
 
คำถามอนาฉบับไหวพริบ
คำถามอนาฉบับไหวพริบคำถามอนาฉบับไหวพริบ
คำถามอนาฉบับไหวพริบ
 
ฮีตสิบสอง คองสิบสี่
ฮีตสิบสอง คองสิบสี่ฮีตสิบสอง คองสิบสี่
ฮีตสิบสอง คองสิบสี่
 

สรุปยาใหม่กลุ่ม 8 sec2

  • 1. สรุปยาใหม่ “ Sacubitril/Valsartan” (Entresto®) กลุ่ม 8 Sec 02 (สัมมนายาใหม่ : New drug ) ภาวะหัวใจล้มเหลว (Heart failure) และสาเหตุการเกิดโรค ความสามารถของหัวใจที่จะสูบฉีดเลือดออกไปเลี้ยงส่วน ต่างๆของร่างกาย หรือรับเลือดจากส่วนต่างๆ กลับเข้าสู่หัวใจผิดปกติไป ส่งผลให้ปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายลดลงไม่เพียงพอ แต่เดิมเรียก ภาวะหัวใจวายที่มีเลือดคั่ง หรือ Congestive Heart Failure, CHF มักเกิดจากความผิดปกติในการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้าย (left ventricular systolic dysfunction) ในปัจจุบันจึงนิยมใช้คาว่า heart failure (HF) หัวใจล้มเหลวทาให้เกิดอาการหรืออาการแสดงที่เกิดจากการที่เลือดออกจากหั วใจไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย หรือเกิดจากการคั่งของเลือดในหัวใจห้องซ้าย และปอด เรียกว่า pulmonary venous congestion ทาให้เกิดอาการเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้ หรือเกิดจากการคั่งของเลือดในหัวใจห้องขวา ทาให้หลอดเลือดดาที่คอโป่ง ตับโต จุกแน่นท้องบริเวณลิ้นปี่ และบวม ชนิดของภาวะหัวใจล้มเหลว กลไกการปรับชดเชยเมื่อมีภาวะหัวใจ ล้มเหลว (Compensatory Mechanisms) การกระตุ้นการทางานของระบบ renin-angiotensin-aldosterone
  • 2. system ทาให้เกิดการดูดซึมน้าและเกลือโซเดียมกลับเข้าสู่ร่างกายเพิ่มขึ้น เกิดการคั่งน้าและเกลือในร่างกาย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการเกิดภาวะedema ผลของการกระตุ้นระบบ renin angiotensin aldosterone system(RAAS) ทาให้มีการสร้าง Angiotensin II เพิ่มขึ้น Angiotensin II และ aldosterone ทาเกิดภาวะ vascular remodeling และ cardiac remodeling ระบบ sympathetic nervous system (SNS) ทาให้ผู้ป่วยมีอาการหัวใจเต้นเร็ว (tachycardia) และหลอดเลือดตีบตัว (vasoconstriction) ซึ่งผลจากการที่หลอดเลือดแดงตีบตัวจะทาให้ afterload ของหัวใจเพิ่มขึ้น หัวใจทางานหนักขึ้น แต่ได้ cardiac output ลดลง ทาให้มีเลือดไปยังไตลดลง ส่งผลให้มีการกระตุ้นระบบ renin- angiotensin-aldosterone เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ในภาวะมีเลือดคั่งอยู่ในหัวใจมากจะทาให้กล้ามเนื้อหัวใจห้องบนยืดตัวออกด้ว ยส่งผลให้มีการปลดปล่อยสาร Atrial natriuretic peptide (ANP) และ Arginine vasopressin (AVP) เพิ่มขึ้น โดย AVP เป็นสารประเภท antidiuretic hormone ส่วน ANP และ BNP มีฤทธิ์ขยายหลอดเลือด ขับปัสสาวะและขับโซเดียม กลไกของยา ระบบที่มีความเกี่ยวข้องกับการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวนั่นก็คือ Natriuretic peptide system ยา กลุ่มใหม่ที่มีชื่อว่า Neprilysin inhibitor จะมีผลไปยับยั้ง เอนไซม์ neprilysin เพื่อเพิ่มปริมาณ Natriuretic peptides อย่างไรก็ตามการยับยั้งเอนไซม์นี้ จะไปมีผลเพิ่มปริมาณ Angiotensin II ด้วย จึงต้องให้ยา neprilysin inhibitor ควบคู่ไปกับยาที่ยับยั้ง RAAS
  • 3. จึงเกิดการศึกษาประสิทธิภาพของยา Angiotensin II Receptor Blocker (ARB) รวมกับ Neprilysin inhibitor sacubitril เป็นยากลุ่ม neprilysin inhibitor โดยมี active form คือ LBQ657 ซึ่งจะไปยับยั้งneprilysin ทาให้ปริมาณ Natriuretic Peptide ในร่างกายสูงขึ้นเกิด vasodilation ส่วนยาในกลุ่มที่มีผล block ฤทธิ์ของAngiotensin II คือ valsartan ที่เป็นยากลุ่ม ARBs จึงเกิดเป็นcombination drugs Doses recommend ของยาคือ sacubitril 49mg และ valsartan 51 mg 2ครั้งต่อวัน และเมื่อผ่านไป2- 4สัปดาห์จะปรับปริมาณยาขึ้นเป็น sacubitril 97mg และ valsartan 103 mg 2ครั้งต่อวัน Drug interaction -ห้ามใช้ยาsacubitril/valsartanร่วมกับยากลุ่ม ACEI เนื่องจากอาจจะทาให้เกิด angioedema -ห้ามใช้ยาร่วมกับ potassium sparing diuretic เนื่องจากจะทาให้เกิด hyperkalemia -ห้ามใช้ยาร่วมกับยากลุ่มNSAIDS จะทาให้ ความสามารถในการทางานของไตลดลง Pharmacokinetic ADRs >10% : Hypotension (18%) ,Hyperkalemia (12%)
  • 4. 1-10% : ไอ มึนงง ความดันต่าจากการเปลี่ยนท่าทาง เป็นลม <1% : Angioedema ข้อควรระวังในการใช้ยา sacubitril/valsartan - ผู้ป่วยที่มีอาการ hypersensitivity - ผู้ป่วยที่เคยมีประวัติ angioedema จากรักษาด้วยยา ACEIs หรือ ARBs - ห้ามใช้ร่วมกับยา ACEI โดยต้องหยุดยา sacubitril/valsatan อย่างน้อย 36 ชั่วโมง ถึงจะเปลี่ยนมาใช้ ACEIs ได้ - ในผู้ป่วยเบาหวาน ที่กาลังรับยา Aliskiren US FDA Approve PARADIGM-HF trial เปรียบเทียบประสิทธิภาพของยา Angiotensin receptor-neprilysin inhibitor กับ Enalapril ในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว สรุป จากการวิจัยในการรักษาผู้ป่วย HFrEF พบว่า Sacubitril/Valsartan เหนือกว่า Enalapril ในด้านของ ประสิทธิภาพและความทนต่อยา โดยสามารถลดอัตราตาย และการเข้ารักษาในโรงพยาบาลด้วยภาวะ HF และลดผลข้างเคียงจากการใช้ยา ได้แก่ ไอแห้ง Hyperkalemia ภาวะไตบกพร่อง ส่วนภาวะ hypotension จะเกิดขึ้นมากกว่า Enalapril แต่ผู้ป่วยสามารถทนต่อภาวะดังกล่าวและไม่หยุดการใช้ยา นอกจากนี้ Angioedema ซึ่งเป็น ADRที่สาคัญ จะเกิดไม่แตกต่างกันทางสถิติ ภาวะ angioedema ที่เกิดขึ้นพบว่าไม่เป็นอันตรายถึงชีวิต งานวิจัยที่นามาอ้างอิง