SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
SOLVER INSTITUTE © 2008
www.solverenterprise.com
njamras@hotmail.com
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิค
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
“คู่มือการวิเคราะหุ้นทางเทคนิค ฉบับเพื่อประชาชนนี้
ขออุทิศผลบุญนี้ให้แก่บิดามารดาของข้าพเจ้า
ที่ได้เสียสละทั้งกาลังเงิน, กาลังกาย, เวลาและความรัก
และการสนับสนุนข้าพเจ้าตลอดมา”
อ. นราธิป จารัส
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
ตัวชี้วัดทางเทคนิค
Technical Indicators
มีตัวชี้วัดทางเทคนิคมากมายที่มีอยู่ในโปรแกรมแสดงชาร์ตนี้ ที่มากกว่านั้นก็คือคุณยังคงสามารถที่จะทาการ
ออกแบบตัวชี้วัดต่างๆของคุณเองด้วย User Indicator Editor นี้
ในการที่จะใช้งานตัวIndicator ใดๆนั้นก็ให้คลิกปุ่มf(x) บน Chart toolbar หรือเลือกที่ Setup Indicators จากเมนู
ที่ได้ทาการคลิกขวาจากชาร์ตนั้นๆ
ในเมนู Chart Indicators นั้นคุณสามารถที่จะเลือกตัวชี้วัดต่างๆได้จากบ็อกซ์All Indicators และทาการเพื่มมันไป
ที่บ็อกซ์ Active Indicators โดยใช้ปุ่ม > ซึ่ง Active Indicators นั้นก็จะปรากฏออกมาในชาร์ตของคุณ โดยส่วนทางด้านขวา
ของเมนูจะยอมให้คุณทาการปรับค่าตัวชี้วัดอย่างเฉพาะได้
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
ตัวชี้วัดต่างๆที่สามารถใช้ได้ดังต่อไปนี้:
 Accelerator/Decelerator
 Average Directional Movement
 Alligator
 Average True Range
 Awesome Oscillator
 Bollinger Bands
 Commodity Channel Index
 DeMaker
 Envelopes
 Fractals
 Gator
 Linear Regression
 Moving Average Convergence/Divergence
 Momentum
 Moving Average
 Parabolic SAR
 Relative Strength Index
 Standard Deviation
 Stochastic
 Williams’ Percent Range
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
Accelerator Decelerator
(ตัวเร่ง ตัวผ่อน)
Accelerator/Decelerator (AC) นั้นเป็น Oscillator ที่ใช้ในการวัดการกระตุ้น (Activation) หรือการไม่กระตุ้น
(Deactivation) ของแรงขับเคลื่อนของตลาด มันจะเปลี่ยนแปลงทิศทางของมันก่อนหน้าการเปลี่ยนแปลงใดๆในทิศทางของ
ราคาที่เกิดขึ้นนั้น โดย Oscillator นี้จะเหมือนกับ Awesome Oscillator แต่จะไม่เหมือนกับ AO ที่ว่าการตัดผ่านเส้นศูนย์นั้น
ไม่ใช้สัญญาณซื้อ/ขายแต่อย่างใด
Accelerator/Decelerator ส่วนใหญ่นั้นถูกใช้ในการทานายการเปลี่ยนแปลงของแรงขับเคลื่อนของตลาดนั้นๆ เมื่อ
AC ไปที่เส้นศูนย์ (Zero line) มันหมายความที่ว่า แรงขับเคลื่อนนั้นอยู่ที่สมดุลด้านความเร่ง เมื่อ AC นั้นตัดผ่านเส้นศูนย์
และขั้นไปด้านบนหรือลงด้านล่างก็จะมีเพียงสิ่งเดียวที่ควรจะทาการติดตามก็คือการเปลี่ยนแปลงสีของแท่งเหล่านั้น
วิธีการใช้งาน:
1. เมื่อชาร์ตนั้นเคลื่อนที่ไปเหนือเส้นศูนย์และมีแท่งสีเขียวสองแท่งแสดงว่ามันเป็นสัญญาณซื้อ
2. เมื่อชาร์ตนั้นเคลื่อนที่ไปใต้เส้นศูนย์และมีแท่งสีแดงสองแท่งแสดงว่ามันเป็นสัญญาณขาย
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
Average Directional Movement
(ค่าเฉลี่ยทิศทางเคลื่อนที่)
Average Directional Movement (ADX) เป็นตัวชี้วัดที่ถูกใช้ในการหาค่าความเข้มแข็งของเทรนในปัจจุบัน ซึ่ง
ตัวชี้วัดนี้ได้มาจากความแตกต่างของสอง Direction Momentum Indicators (DI) ซึ่งความแตกต่างระหว่าง ADX และ DI
โดยที่อย่างหลังนั้นจะถูกใช้ในการตามทิศทางของเทรนนั้นๆ ในขณะที่ ADX จะทาการวัดค่าความเข้มแข็งของเทรนนั้นๆ
ADX นั้นหลักๆแล้วจะถูกใช้ในการหาเทรนของตลาดต่างๆและมันจะถูกวัดในเสกลจาก 0 ถึง 100 เมื่อตัวชี้วัดนั้นอยู่
ใต้ 20 มันหมายความที่ว่าแนวโน้มนั้นมีความอ่อนแอและเป็นไปได้ที่จะมีการเปลี่ยนทิศทาง เมื่อมันขึ้นไปเหนือกว่า 40 เทรน
นั้นก็จะสามารถถือได้ว่าเป็นแนวโน้มที่มีความเข้มแข็งอย่างหนึ่งด้วยความเป็นไปได้ที่จะมีการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ซึ่ง
ADX บ่อยครั้งจะถูกใช้ร่วมกับ DI ในการทาการตัดสินใจในการซื้อขายต่างๆ
วิธีการใช้งาน:
1. เมื่อ +DI (น้าเงิน) อยู่เหนือ -DI (แดง) นั่นเป็นสัญญาณซื้อ
2. เมื่อ +DI (น้าเงิน) อยู่ใต้ -DI (แดง) นั่นเป็นสัญญาณขาย
หมายเหตุ: ADX จะทาการวัดความเข้มแข็งของเทรนนั้นๆแต่ไม่ใช่ทาการวัดทิศทางของมัน ให้รอจนกระทั่งDI ตัดผ่านซึ่ง
กันและกันก่อนหน้าที่จะทาการตัดสินใจซื้อขายใดๆ
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
Alligator
(จระเข้)
Alligator เป็นตัวชี้วัดที่ประกอบไปด้วยค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ (Moving Averages) สามค่าด้วยตัวเลขที่แตกต่างกัน
ออกไปในบาร์ต่างๆสาหรับ Smoothed MA โดยที่เส้นสีน้าเงิน (ฟันจระเข้ – Alligator jaw) ซึ่งเป็นเส้น Balance Line
สาหรับกรอบเวลาที่ถูกใช้ในการสร้างชาร์ตนั้นๆ (13 bar smoothed average offset by 8 bar)
เส้นดุล (Balance Line) สาหรับกรอบเวลาที่จะถูกใช้ในการสร้างชาร์ตนั้นๆ (13 barj smoothed average offset
by 8 bars) โดยที่เส้นสีแดงก็จะเป็น (ฟันจระเข้ – Alligator teeth) ซึ่งก็จะยังคงเป็นเส้นดุล Balance Line แต่อยู่ระดับที่ต่า
กว่าเส้นสีน้าเงิน (8 bar smoothed average offset by 5 bars) โดยที่เส้นสีเขียว (ปากจระเข้ – Alligator lips) มันก็ยังคง
เป็นเส้นดุล Balance Line โดยอยู่ในระดับที่ต่ากว่าเส้นสีแดง (5 bar smoothed average offset by 3 bars)
Alligator นั้นส่วนมากจะถูกใช้ในการหาแนวโน้มในปัจจุบัน/แนวโน้มที่หายไปและทิศทางของมัน มันยังคงสามารถ
ที่จะถูกใช้ด้วยกันกับ Eliot waves ได้อีกด้วย ถ้าราคานั้นอยู่นอกปากจระเข้ คลื่นกระตุ้นนั้นก็จะถูกสร้างขึ้นมา ถ้ามันอยู่ด้าน
ในปากจระเข้ เส้นที่ถูกต้องก็จะถูกสร้างขึ้นมา
วิธีการใช้งาน:
เมื่อเส้นสีน้าเงิน, แดง, และเขียวนั้นได้ตัดผ่านกันไปแล้วหรือใกล้ที่จะตัดกัน ซึ่งมันมีตลาดที่ราบเรียบ (Flat Market)
ซึ่งจระเข้นั้นกาลังนอน
1. ยิ่งช่วงนี้ยาวมากยิ่งขึ้น ยิ่งทาให้ตลาดเคลื่อนที่ตามหลังจากนั้น
เมื่อสามเส้นทั้งหมดนั้นไม่ตัดผ่านกันหรือไม่ใกล้ที่จะตัดกันและราคานั้นอยู่เหนือปากจระเข้ซึ่งมันเป็น
2. เทรนขึ้น (Uptrend) ในตลาดนั้นๆซึ่งในจุดนี้จระเข้จะตื่นและทาการล่า
เมื่อเส้นสามเส้นนั้นไม่ตัดผ่านกันหรือไม่ไกล้ที่จะตัดผ่านกันและราคานั้นอยู่ใต้ปากจระเข้มันคือ
3. เทรนลง (Downtrend) ในตลาดนั้นๆซึ่งในช่วงนี้จระเข้ก็ยังคงตื่นและทาการล่าอยู่
เมื่อเส้นต่างๆนั้นตัดผ่านหรือใกล้ที่จะตัดผ่านกันมันหมายความว่าตลาดนั้นก็จะราบเรียบอีกครั้งซึ่งในช่วง
นี้จระเข้อิ่มแล้ว
4. และมันเป็นเวลาในการที่จะจัดการกาผลกาไรนั้น
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
Average True Range
(ค่าเฉลี่ยระยะจริง)
Average True Range (ATR) เป็นตัวชี้วัดที่ใช้ในการวัดความผันผวนของตลาดนั้นๆ โดยทั่วไปมันจะเป็นค่าเฉลี่ย
เคลื่อนที่ 14 วันของระยะจริง (14-day Moving Average of the True Range) โดยที่ระยะจริง (True Range – TR) จะอยู่
ในรอบของมันที่ได้กาหนดเอาไว้เป็นความแตกต่างที่มากที่สุดของราคาสูงสุดของวันนี้และราคาต่าสุดของวันนี้ ราคาสูงสุด
ของวันนี้และราคาปิดเมื่อวานและราคาต่าสุดของวันนี้และราคาปิดเมื่อวาน ซึ่งค่าTR ที่มากก็จะทาให้ความผันผวนของ
สินค้าตัวนั้นมีความผันผวนมากขึ้นตามไปด้วย ส่วนค่าTR ที่น้อยค่าความผันผวนก็จะน้อยตาม
วิธีการใช้งาน:
1. ค่าของตัวชี้วัดนี้โดยทั่วไปจะสูงเมื่อราคานั้นมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างทันทีทันใด
2. ถ้าค่าของตัวชี้วัดนั้นไม่สูงราคานั้นก็จะยังคงเสถียรอยู่
3. ก่อนหน้าการเปลี่ยนแปลงขึ้น/ลงที่มีนัยสาคัญ ค่าของตัวชี้วัดนี้โดยทั่วไปมักจะต่า/สูง
หมายเหตุ: เมื่อค่า ATR แสดงถึงความผันผวนในระดับที่แท้จริง(Absolute level) โดยเมื่อราคาสินค้าที่ต่าจะมีระดับATR
ที่ต่ากว่าราคาสินค้าทีสูง
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
Awesome Oscillator
(ตัวแกว่งที่เยี่ยมยอด)
Awesome Oscillator (AO) นั้นเป็นค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่อย่างง่ายในช่วง 34 (34-period simple Moving Average)
นั้นได้ทาการพล็อตผ่านไปยังจุดกลางของบาร์ (H+L)/2 ซึ่งมันถูกลบออกไปจากค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 5 ช่วง (5-period simple
Moving Average) ซึ่งได้ทาการสร้างขึ้นมาผ่านจุดกึ่งกลางของบาร์ (H+L)/2 ซึ่ง AO นั้นได้แสดงสถานะของแรงขับเคลื่อน
ของตลาดในปัจจุบัน
Awesome Oscillator นั้นโดยหลักแล้วจะถูกใช้เมื่อเทรนนั้นไม่สามารถที่จะตามไปได้อย่างชัดเจน ซึ่ง AO นั้นจะมี
สามสัญญาณหลัก : Saucer (Reversed Saucer), การตัดผ่านเส้นศูนย์และมีสองแท่ง ซึ่ง Saucer นั้นเป็นชาร์ตที่จะ
ประกอบไปด้วยสาม Candlesticks ซึ่งเป็นที่เป็นแท่งที่สอง (สีแดง) ที่ต่ากว่าแท่งแรกและแท่งที่สาม (สีเขียว) ที่จะสูงกว่า
อย่างที่สอง ซึ่งจะตัดผ่านเส้นศูนย์ที่จะเกิดขึ้นเมื่อชาร์ตนั้นได้ผ่านมาจากค่าที่เป็นลบไปยังค่าที่เป็นบวกและในทางกลับกันที่
สองแท่งนั้นเป็นชาร์ตที่จะมีจุดสูงสุดที่จะตามมาด้วยจากจุดสูงสุดอื่นๆที่สูงกว่า/ต่ากว่าอย่างแรก ซึ่งจุดสูงสุดทั้งคู่นั้นควรที่
จะอยู่เหนือหรือใต้เส้นศูนย์
วิธีการใช้งาน:
เมื่อสัญญาณ Saucer นั้นได้ถูกสร้างขึ้นมาเหนือเส้นศูนย์หรือเมื่อตัดผ่านของเส้นศูนย์นั้นจากด้วนลบไปยัง
1. ด้านบวกหรือเมื่อสองแท่งที่ได้สร้างขึ้นต่ากว่าเส้นศูนย์ ซึ่งมันเป็นสัญญาณซื้อ
เมื่อสัญญาณ Saucer นั้นได้ถูกสร้างต่ากว่าเส้นศูนย์หรือเมื่อตัดผ่านของเส้นศูนย์จากด้านบวกไปยัง
2. ด้านลบหรือเมื่อสองแท่งได้ถูกสร้างขึ้นมาเหนือเส้นศูนย์ มันก็เป็นสัญญาณขาย
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
Bollinger Bands
(แถบโบลิงเจอร์)
Bollinger Bands (BB) นั้นเป็นตัวชี้วัดที่ใช้ในการเปรียบเทียบความผันผวน(Volatility) และระดับราคาสัมพันธ์
(Relative Price Levels) เหนือช่วงของเวลาหนึ่งๆ ซึ่งBollinger Bands นั้นจะทาการปรับเปลี่ยนไปตามเงื่อนไขของตลาด
ตามที่ตลาดนั้นกลายมาเป็นตลาดที่มีความผันผวนมากขึ้น ซึ่งแถวนั้นก็จะกว้างขึ้นตาม ซึ่งแถบนี้จะแคบลงเมื่อตลาดนั้นมี
ความผันผวนน้อย
การใช้ Bollinger Bands นั้นเป็นพื้นฐานมาจากความเป็นจริงที่ว่าราคานั้นโดยทั่วไปจะยังคงอยู่ภายในขอบเขต
บนสุดและล่างสุด ซึ่ง BB โดยหลักแล้วจะถูกใช้ในการตัดสินใจถ้าค่าในปัจจุบันของฟิลด์ข้อมูลนั้นอยู่อย่างปรกติหรือโดด
ออกไปในทิศทางอื่นๆ โดย BB นั้นยังคงที่จะสามารถถูกใช้สาหรับการระบุเมื่อแนวโน้มนั้นมีการกลับทิศทางซึ่งก็ควรที่จะ
คาดเอาไว้ โดยความกว้างของตัวแปร BB นั้นจะเป็นสาเหตุมาจากความผันผวนของราคานั่นเอง
วิธีการใช้งาน:
1. การเปลี่ยนแปลงอย่างทันทีทันใดของราคานั้นจะเกิดขึ้นหลังจากแถบที่แคบ
2. ถ้าราคานั้นตัดผ่านขอบเขตไป มันเป็นสัญญาณที่ว่าเทรนในปัจจุบันนั้นจะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
3. การเคลื่อนที่ของราคาที่ได้เกิดขึ้นที่ขอบเขตด้านหนึ่งจะมีแนวโน้มที่จะวิ่งไปยังทางขอบเขตอีกด้านหนึ่ง
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
Commodity Channel Index
(ดัชนี)
Commodity Channel Index (CCI) นั้นเป็นออสซิเลเตอร์ที่ให้การบ่งชี้ของตลาดที่เป็นทั้งที่มีการซื้อมากเกินไป
(Overbought Markets) และตลาดที่มีแรงขายมากเกินไป(Oversold Markets) ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ถือได้ว่าจะเกิดOversold
เมื่อ CCI นั้นไปต่ากว่า -100 และจะเกิด Overbought เมื่อมันเกิน +100 ซึ่ง CCI นั้นจะทาการวัดความสัมพันธ์ระหว่าง
ราคาสินทรัพย์ (Asset’s Price), ค่าเฉลี่ยเคลื่อนทื่ (Moving Average) และส่วนเบี่ยงเบนจากค่าเฉลี่ย(Deviations from
the average)
ซึ่ง CCI ส่วนมากนั้นจะถูกใช้ในการหาแนวโน้ม(Cyclical trends) ของ Commodity, Equity และ Currency
Markets ซึ่งมันจะเป็นการกาหนดศักยภาพของค่าสูงสุด(Potential Peaks) และกุบเขาแห่งราคาสินทรัพย์ (Asset’s Price)
และแสดงให้เห็ฯถึงการเปลี่ยแปลงโดยประมาณในทิศทางของการเคลื่อนที่ของราคาสินทรัพย์นั้นๆ
วิธีการใช้งาน:
การเลื่อนที่ของ CCI: เมื่อ CCI เคลื่อนที่กลับหนือ -100 มันสามารถที่จะถือได้ว่าเป็นสัญญาณในการซื้อ(signal to
buy) เมื่อ CCI เคลื่อนที่กลับ
1. ต่ากว่า +100 มันสามารถที่จะถือได้ว่าเป็นสัญญาณขาย(Signal to sell)
ซึ่ง Divergence (เมื่อ Indicator นั้นมีแนวโน้มไปในทิศทางที่ตรงข้ามของราคานั้นๆ):
Positive Divergence จะต่ากว่า -100 ซึ่งจะเป็นการเพิ่มขึ้นของความแข็งแกร่งของสัญญาณที่เป็นฐานในการ
เคลื่อนที่กลับมาเหนือ -100 Negative Divergence จะเหนือ +100 ซึ่งอาจะเป็น
2. การเพิ่มความแข็งแกร่งของสัญญาณที่มีฐานในการเคลื่อนที่กลับมาต่าก่า +100
ซึ่ง Indicator ต่างๆ: ก็จะล่วงหน้าเหนือ -100 และเส้นแนวโน้มก็จะแหวกออกมาแสดงให้เห็นที่ว่าสินค้านั้นๆเกิดการ
ขายมากเกินไป (Oversold) และเป็นแนวโน้มที่สามารถที่จะถือได้ว่าเป็นตลาดกระทิง(Bullish) โดยที่การลดลงต่า
กว่า +100 และเส้นแนวโน้มที่แหวกไปก็จะเป็นการแสดงให้เห็นถึงที่ว่าหุ้นนั้นเกิดการซื้อที่มากเกินไปOverbought)
และเป็นแนวโน้มที่สามารถ
3. ที่สามารถถือได้ว่าเป็นตลาดหมี (Bearish)
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
DeMarker
(ดีมาร์คเกอร์)
DeMarker (Demarker, De Marker, DeM) นั้นเป็น Indicator ที่ใช้ในการบ่งชี้การอ่านแรงของราคา(Price
exhaustion) ก็เหมือนกับค่าต่าสุดและค่าสูงสุดของศักยภาพทางด้านราคา(Potential Price) ซึ่งจะผันผวนระหว่าง 0 และ 1
และทาการเปรียบเทียบกับราคาที่ผ่านมาส่วนมากกับช่วงของราคาที่ผ่านมาเพื่อที่จะทาการวัดความต้องการที่มีอยู่ของ
สินทรัพย์อ้างอิง (Underlying asset)
ซึ่ง DeMarket นั้นถูกใช้ในการระบุระดับความเสี่ยงก่อนที่จะทาการเปิดตาแหน่ง ในกรณีส่วนมากเมื่อราคา
สินทรัพย์นั้นไปเหนือที่ 0.6 ระดับความผันผวน(Volatility) และระดับความเสียง (Risk) นั้นจะต่ากว่า ในขณะที่ทาการอ่าน
ได้ต่ากว่า 0.4 ที่สามารถถือได้ว่าเป็นสัญญาณในการเพิ่มขึ้นของความเสี่ยง ที่มากกว่านั้นก็คือในการใช้ตัวชี้วัดไปเหนือช่วง
ระยะเวลานานๆอย่าง (อาทิตย์, เดือน) ที่จะให้เป็นโอกาสในการที่จะติดตามพฤติกรรมชองตลาดในระยะยาวได้
วิธีการใช้งาน:
1. เมื่อค่าตัวชี้วัดนั้นหล่นไปต่ากว่า 0.3คาดไว้ว่าจะเกิด Bullish Price Reversal
2. เมื่อค่าตัวชี้วัดนั้นขึ้นไปสูงกว่า 0.7 คาดไว้ว่าจะเกิด Bearish Price Reversal
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
Envelopes
(เอนเวโลพ)
Envelopes (Moving Average Envelope, Trading Bands นั้นเป็นตัวชี้วัดทางเทคนิคที่ประกอบไปด้วยค่าเฉลี่ย
เคลื่อนที่สองตัว: ตัวหนึ่งเคลื่อนที่ด้านบน และอีกตัวหนึ่งเคลื่อนที่ด้านล่าง ซึ่งตัวชี้วัดนี้จะเป็นการกาหนดขอบเขตด้านบน
และด้านล่างของระยะราคา ซึ่งมีความผันผวนสูงกว่า (Higher Volatility) ที่ควรจะนาไปยังเปอร์เซ็นต์การเบี่ยงเบนที่สูงกว่า
(Higher Deviation Percentage)
สิ่งหนึ่งที่ควรตระหนักไว้ในใจก็คือที่ว่าเมื่อมีเพียงข้อมูลที่ผ่านมานั้นถูกใช้สาหรับการคานวณตัวชี้วัด ซึ่งมันก็ยังคง
เป็นเพียงเล็กน้อยเบื้องหนังราคาที่แท้จริง ที่เป็นผลลัพธ์ ซึ่งมันไม่ใช้การทานายการเปลี่ยนเปลงใดๆในแนวโน้มนั้นๆ แต่มัน
เป็นเพียงการระบุมันออกมาเท่านั้น
วิธีการใช้งาน:
1. เมื่อตัวชี้วัดนั้นไปถึงจุดต่าทีสุดของมันและหันกลับไปยังทิศทางที่ตรงกันข้ามมันสามารถที่จะถือให้เป็นสัญญาณซื้อ
2. เมื่อตัวชี้วัดนั้นไปถึงจุดสูงที่สุดของมันและหันกลับไปยังทิศทางที่ตรงกันข้ามมันสามารถที่จะถือได้ว่าเป็นสัญญาณ
ขาย
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
Fractals
(แฟรกตัล)
Fractals นั้นเป็นตัวชี้วัดที่ใช้ในการตรวจหาขอบเขตสูง (Higher Limits) และขอบเขตล่าง (Lower Limits) ของ
แนวโน้มในปัจจุบันและสามารถที่จะทาการทานายความเป็นไปได้ของการกลับทิศ (Reversal) ของแนวโน้ม (Trend) ซึ่ง
ตัวชี้วัดนี้เป็นอนุกรมของอย่างน้อยห้าบาร์ที่สาเร็จด้วยจุดสูงสุดที่สูงที่สุดในด้านตรงกลางและสองด้านสูงที่ต่ากว่าท้างสอง
ด้าน โดยที่อนุกรมตรงข้ามนั้นอย่างน้อยมีห้าบาร์ที่สาเร็จกับที่ต่าที่สุดในด้านที่อยู่ตรงกลางและสองด้านต่าที่สูงกว่าทั้งสอง
ด้าน
โดยที่ Fractals นั้นจะถูกใช้โดยส่วนมากในการทานายการกลับทิศ (Reversal) ในแนวโน้มในปัจจุบัน ซึ่งจะเลื่อน
จากแนวโน้มลง (Downtrend) ไปยังแนวโน้มขึ้น (Uptrend) ที่สามารถจะตามได้เมื่อบาร์ที่ต่าที่สุดนั้นอยู่ครงกลางของ
รูปแบบและสองบาร์ด้วยด้านต่าที่สูงกว่าสาเร็จนั้นพบบนด้านไม่ว่าจะเป็นด้านใดด้านหนึ่งของมัน การเลื่อนจากแนวโน้มขึ้น
(Uptrend) ไปเป็นแนวโน้มที่เป็นขาลง (Downtrend) นั้นสามารถถูกหาได้เมื่อบาร์ที่สูงที่สุดนั้นอยู่กลางของรูปแบบและสอง
บาร์ที่มีด้าน Lower high ที่อยู่ทั้งสองด้านของมัน หมายเหตุที่ว่า Fractals นั้นจะมีประสิทธิภาพเมื่อถูกใช้ในการเชื่อมกับ
ตัวชี้วัดอื่นๆอย่าง MA, Fibonacci Retracement และ Alligator
วิธีการใช้งาน:
1. ถ้า BUY Fractal นั้นจะสูงกว่าเส้นสีแดง(Alligator teeth) มันเป็นสัญญาณซื้อ
2. ถ้า SELL fractal นั้นจะต่ากว่าเส้นสีแดง(Alligator teeth) มันเป็นสัญญาณขาย
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
Gator
(เกเตอร์)
Gator นั้นเป็น Oscillator ที่เป็นฐานมาจากตัวชี้วัด Alligator ที่ใช้ในการแสดงระดับของ Divergence /
Convergence ของ Smoothed Moving Averages
โดยที่ Oscillator นี้จะถูกชี้วัดในรูปแบบของสองบาร์ชาร์ท อย่างแรกไม่ว่าจะเป็นด้านเส้นศูนย์ ซึ่งบาร์ชาร์ทด้านบน
นั้นแสดงให้เห็นถึงระยะห่างระหว่างเส้นสีแดงและเส้นสีน้าเงิน โดยที่บาร์ชาร์ทด้านล่างนั้นแสดงให้เห็นถึงระยะห่างระหว่าง
เส้นสีแดงและเส้นสีเขียว โดยที่บาร์ชาร์ทนั้นมีสีแดงและน้าเงิน: บาร์นั้นจะกลายมาเป็นสีแดงเมื่อค่าของมันต่ากว่าบาร์ก่อน
หน้าอันหนึ่งและจะกลายมาเป็นสีเขียวเมื่อค่าของมันนั้นสูงกว่าบาร์ก่อนหน้าอันหนึ่ง
GatorOscillatorนั้นจะช่วยในการทาให้สามาถมองเห็นและทาการตัดสินใจไม่ว่าจะเป็นแนวโน้มในปัจุบันหรืออดีต
ในช่วงเวลาต่างๆ ซึ่งมันก็ยังช่วยในการทาให้สามารถที่จะมองเห็นการเข้าใกล้ (Rapprochement) และการตัดกันของ
Smoothed Moving Averages (Balance Lines)
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
Linear Regression
(เชิงเส้นถดถอย)
Linear Regression นั้นเป็นวิธีการทางสถิติในการติดตามแนวโน้มหนึ่งๆ ซึ่งผลลัพธ์ของมันนั้นโดยทั่วไปแล้วนั้นจะ
ใกล้ๆกับ Moving Average และวิธีการใช้งานของมันนั้นก็คล้ายๆกัน แต่ไม่เหมือนกับMA โดยที่ Linear Regression นั้นจะ
มีดีเลย์น้อยกว่าและนั่นเป็นการตอบรับที่มากขึ้นต่าการเปลี่ยนแปลงของราคา
Linear Regression นั้นถูกใช้ในการบ่งชี้ให้เห็นถึงแนวโน้มที่มีความโดดเด่น(Dominant trend) ในตลาดที่มีการ
ดีเลย์เพียงเล็กน้อยจากราคาจริงของสินทรัพย์ ซึ่งมันยังคงที่จะสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเบี่ยงเบนในอนาคตFuture
Divergence ของแนวโน้มหลักไม่แค่เพียงเมื่อราคานั้นเริ่มเคลื่อนที่ไปไกล้แนวเส้นโน้มภายในระยะแคบๆหนึ่งๆ
วิธีการใช้งาน:
1. ทิศทางของตัวชี้วัดนั้นแสดงให้เห็นถึงไม่ว่าจะเป็นว่ามีแนวโน้มที่เป็นBullish หรือ Bearish ในตลาดขณะนั้นก็ตาม
โดยที่การตัดกันของตัวชี้วัดนั้นและชาร์ดราคานั้นจะเป็นการยืนยันให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของแนวโน้มนั้นๆ ซึ่ง
มันไม่แต่เป็นการยืนยันเพราะว่า
2. การเปลี่ยนแปลงในตัวชี้วัดนี้นั้นจะสายไปสาหรับการเปรียบเทียบกับการเปลี่ยนแปลงของราคาหนึ่งๆ
หมายเหตุ: ถ้าราคาเปลี่ยนแปลงไปอย่างมีรูปแบบไปรอบๆเส้นถดถอย(Regression Line) ซึ่งแนวโน้มตลาดนั้นก็ควรที่จะ
มีการโอนเอียงที่จะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
Moving Average Convergence/Divergence
(ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบคอนเวอร์เจนท์และไดเวอร์เจนท์)
Moving Average Convergence/Divergence (MACD) นั้นเป็นตัวชี้วัดที่จะตามแนวโน้มนั้นๆ ซึ่งมันจะประกอบ
ไปด้วยค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบ12-Period Exponential Moving Average (EMA, สีเขียว), 26-Period Exponential Moving
Average (สี Navy) และบาร์ชาร์ท (สีแดง) ที่แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างมัน โดยที่MACD นั้นถูกใช้เมื่อราคานั้น
ผันผวนในกลไกของราคา
ซึ่ง MACD นั้นโดยหลักจะถูกใช้ในการกาหนดสามสิ่งคือเงื่อนไขของ: Crossover, Overbought/Oversold และ
Divergences โดยที่การ Crossovers นั้นจะเกิดขึ้นได้เมื่อMACD นั้นตกไปต่ากว่าเส้นสัญญาณ(Signal Line) ซึ่งมันจะ
เป็นสัญญาณ Bearish signal (สัญญาณในการขาย) ในทางกลับกันเมื่อMACD นั้นไปเหนือเส้นสัญญาณ(Signal Line)
มันก็จะเป็นสัญญาณBullish Signal (สัญญาณในการซื้อ) โดยเงื่อนไข Overbought/Oversold นั้นจะเกิดขึ้นเมื่อMA นั้น
เกิดการขึ้น/ลงอย่างรุนแรงจากค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ที่ยาวกว่า ซึ่งมันเป็นสัญญาณที่ว่าราคานั้นจะเป็นการขยายไปมากเกินไปบ
และจะกลับมาในเร็วๆนี้ในระดับความเป็นจริง(Realistic Levels) มากยิ่งขึ้น ซึ่ง Divergence นั้นจะเกิดขึ้นเมื่อการ
เบี่ยงเบนของราคา (Price Diverges) จาก MACD ที่จะเป็นสัญญาณของการสิ้นสุดแนวโน้มในปัจจุบัน(Current Trend)
วิธีการใช้งาน:
1. เมื่อ MACD นั้นต่ากว่าเส้นสัญญาณ(Signal line) มันเป็นสัญญาณขาย
2. เมื่อ MACD สูงกว่า Signal Line มันเป็นสัญญาณซื้อ
3. MACD ที่ไปตัดเหนือเส้นศูนย์ในไม่ว่าจะเป็นทิศทางใดก็ตามก็ถูกใช้เป็นสัญญาณในการซื้อ/ขาย
หมายเหตุ:
มันอะไรที่จะแนะนาให้ทาการรอสาหรับการยืนยันในการCross Over ไปยัง Signal Line ก่อนที่จะทาการเข้าไปยัง
ตาแหน่งใดๆ นี่จะช่วยในการหลีกเลี่ยงการเข้าไปตาแหน่งนั้นๆเร็วเกินไป
.
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
Momentum
(โมเมนตั้ม)
Momentum นั้นเป็น Indicator/Oscillator ที่ใช้ในการวัดอัตราของการเปลี่ยนแปลงต่างๆในกระแสราคา (Currency
Prices) ซึ่งมันจะทาการประเมินค่าความแตกต่างระหว่างราคาปิดของวันนี้ (Today’s Closing Price) และราคาปิด n วันที่
ผ่านมา โดยทั่วไปจะเป็นในช่วง 10 วันที่จะถูกใช้สาหรับการคานวณของตัวชี้วัดนี้ ซึ่งในกรณีของโมเมนตั้มนี้จะถูกคานวณ
โดยการนาราคาปิดในปัจจุบันมาทาการลบกับราคาปิดสิบวันที่ผ่านมาและทาการพล็อตผลลัพธ์ไปรอบๆเส้นศูนย์ ซึ่งผลลัพธ์
ของการพล็อตนั้นสามารถที่จะเป็นลบได้เมื่อราคาในปัจจุบันนั้นต่ากว่าราคาเก่าสุดที่ผ่านมา หรือเป็นบวกก็ต่อเมื่อราคาใน
ปัจจุบันนั้นมากกว่าราคาเก่าสุดที่ผ่านมา
ก็จะเหมือนกับ MACD ที่ว่า Momentum นั้นยังคงสามารถที่จะใช้เป็นตัวชี้วัดในการติดตามเทรนใดๆได้ ซึ่ง
สัญญาณซื้อจะเกิดขึ้นเมื่อตัวชี้วัดนั้นไปถึงล่างสุดของแนวโค้งลงและจากนั้นก็จะเริ่มปรับตัวขึ้นมา สัญญาณขายจะเกิดขึ้น
เมื่อตัวชี้วัดนั้นไปถึงด้านบนสุดของแนวโค้งขึ้นและจากนั้นก็จะเริ่มปรับตัวลงมา ด้งตัวชี้วัดที่ผ่านมาที่มันสามารถที่จะใข้ได้
เมื่อความใกล้ของตลาดที่จะไปยังจุดสูงสุด/ต่าสุดที่จะตามมาด้วยการแกว่งตัวอย่างรุนแรงของตัวชี้วัดนั้นๆซึ่งจะตามมาด้วย
การลดลงในค่าของตัวชี้วัดนั้นในขณะที่อัตราต่างๆนั้นก็ได้เริ่มที่จะขึ้น /ลง หรือเคลื่อนที่ในแนวระดับ อย่างในกรณีที่เกิด
Divergence ขึ้นมานั่นเอง
วิธีการใช้งาน:
1. เมื่อดัชนีชี้วัดนั้นไปถึงด้านล่างของแนวโค้งด้านล่างและเริ่มที่จะขึ้นนั่นเป็นสัญญาณซื้อ(Signal to buy)
2. เมื่อดัชนีชี้วัดนั้นไปถึงด้านบนของแนวโค้งด้านบนนั่นเป็นสัญญาณขาย(Signal to buy)
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
Moving Average
(ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่)
ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ (Moving Average (MA)) นั้นเป็นตัวบ่งชี้ (Indicator) ที่แสดงให้เห็นถึงราคาเฉลี่ยภายในช่วงเวลา
ที่ได้กาหนดเอาไว้ ซึ่งมีอยู่ 4 ประเภทของค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่: Simple MA, Exponential MA, Smoothed MA และ Weighted
MA ซึ่งมันต่างกันในแต่อย่างเพียงแค่ในเทอมของน้าหนักของสัมประสิทธ์ (Weight Coefficients) ที่ได้กาหนดเอาไว้เป็น
ข้อมูลล่าสุด
ซึ่งค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่นั้นโดยส่วนมากแล้วจะถูกใช้ในการกาหนดพื้นที่ของแนวรับ (Support) และแนวต้าน
(Resistance) ในการที่จะให้ความสาคัญในด้านทิศทางของแนวโน้มหนึ่งๆและเพื่อความเรียบของความผันผวนของปริมาณ
และราคา ซึ่งทิศทางของตัวชี้วัดนั้นก็จะแสดงออกมาไม่ว่าจะเป็นแนวโน้ม Bullish หรือ Bearish ที่เป็นปัจจุบันในตลาดนั้นๆ
ชั่วขณะหนึ่ง ซึ่งการตัดกันของชาร์ทตัวชี้วัดและราคานั้นจะเป็นการยืนยันที่ว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงของแนวโน้มหนึ่งๆ ซึ่งมัน
ก็จะเป็นเพียงการยืนยันเพราะว่าการเปลี่ยนแปลงนั้นๆของตัวชี้วัดนี้ก็จะสายไปสาหรับการเปรียบเทียบกับการเปลี่ยนแปลง
ของราคาหนึ่งๆได้
วิธีการใช้งาน:
1. เมื่อราคาสินค้าขึ้นไปสูงกว่า MA ของมัน นั่นเป็นสัญญาณซื้อ
2. เมื่อราคาหล่นไปอยู่ต่ากว่า MA ของมัน นั่นเป็นสัญญาณขาย
3. ทิศทางของ MA นั้นจะให้แนวความคิดไม่ว่าจะมีแนวโน้มBearish หรือแนวโน้ม Bullish ในตลาดหรือไม่ก็ตาม
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
Parabolic SAR
(พาราโบลิก เอสเออาร์)
Parabolic SAR (stop-and-reversal) นั้นเป็นตัวชี้วัดที่ถูกใช้สาหรับการวิเคราะห์แนวโน้มของตลาด ซึ่งมันมีมากใน
MA ทั่วไปแต่ไม่เหมือนกับ MA ที่ว่า Parabolic SAR นั้นจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่งที่สูงและอาจที่จะเปลี่ยนตาแหน่งของมัน
ในเทอมต่างๆของราคา ซึ่งนี่คือตัวชี้วัดในอุดมคคิสาหรับการให้จุดออกจากตลาด(Exit Points)
ซึ่ง Parabolic SAR นั้นส่วนมากจะถูกใช้ในตลาดที่มีแนวโน้มสาหรับการสร้างการปิดออเดอร์(closing orders)
และในการทาหยุดการซื้อขาย(Trailing stop order) ซึ่งมันก็ยังคงถูกใช้สาหรับการกาหนดเทรนนั้นๆ: ถ้าพาราโบลานั้นไป
อยู่ที่ต่ากว่าเส้นราคา ตลาดก็จะกลายเป็นBullish แต่ถ้าพาราโบลานั้นไปอยู่หนือเส้นราคาตลาดนั้นก็จะเป็นBearish
วิธีการใช้งาน:
1. ตาแหน่งที่ยาวควรที่จะถูกปิดไปเมื่อราคานั้นหล่นไปต่ากว่าเส้นSAR
2. ตาแหน่งที่สั้นควรที่จะถูกปิดไปเมื่อราคานั้นพุ่งสูงกว่าเส้นSAR
ซึ่งในแต่ละจุดของการกาหนดSAR นั้นจะเป็นระดับของการทาStop-Order สาหรับช่วงการซื้อขายในปัจจุบันและช่วงการ
ซื้อขายที่ไม่เป็น (วัน, ชั่วโมง, ฯลฯ)
หมายเหตุที่ว่า: ตัวชี้วัดนั้นจะใช้ได้เพียงแค่สาหรับตลาดที่มีแนวโน้มเท่านั้น ซึ่งมันไม่เป็นประโยชน์ในเฟสที่เป็น
Sideways Phrases ต่างๆ
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
Relative Strength Index
(ดัชนีความแข็งแกร่งสัมพัทธ์)
Relative Strength Index (RSI) นั้นเป็นราคาหนึ่งๆที่ตามOscillator ที่มีระยะระหว่าง 0 ถึง 100 ซึ่งมีอยู่ 3 โซนที่มี
ความโดยสิ้นเชิงในชาร์ทของตัวชี้วัดนี้: ทางโซนด้านบนนั้นจะเป็นระยะ(Overbought) จาก 70 ถึง 100 และโซนด้านล่างจะ
เป็นระยะ (Oversold) จาก 0 ถึง 30 ซึ่งจะกลางเป็นระยะ 30 ถึง 70
โดยที่ค่า RSI นั้นส่วนมากจะถูกใช้ในการซื้อขายรายวัน(Day trading) ในการหาสถานะของตลาด ไม่ว่าจะมันจะ
เป็น Oversold, Overbought หรือ Stable ถ้ายอดบนของ RSI นั้นอยู่ในโซนด้านบน(Upper zone) (Overbought, >70)
และจากนั้นก็กลับไปยังโซนกลาง โดยที่ราคาก็อาจจะเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน ถ้าด้านล่างของRSI นั้นอยู่ในโซนต่า
(Oversold, <30) และจากนั้นก็จะกลับไปที่โซนกลาง โดยที่ราคาก็จะเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกัน
วิธีการใช้งาน:
1. เมื่อยอดสูงสุดของ RSI นั้นอยู่ในโซน Overbought zone ราคาที่ถูกคาดไว้นั้นก็จะไปตามนั้น ซึ่งเป็นสัญญาณขาย
2. เมื่อยอดสูงสุดของ RSI นั้นอยู่ในโซน Oversold zone ราคาที่ถูกคาดเอาไว้ก็จะไปตามนั้น ซี่งเป็นสัญญาณซื้อ
Divergence: เมื่อราคานั้นไปถึงจุดต่าสุด/สูงสุดใหม่แต่ยังไม่ได้รับการยืนยันจากค่าต่าสุด/สูงสุดใหม่แค่อย่างใด
3. บนชาร์ทค่า RSI ที่ Price Correction นั้นจะเกิดขึ้นตามทิศทางของRSI นั้นๆ
หมายเหตุ: ในชาร์ท RSI นั้นระดับแนวรับ/แนวต้าน และรูปแบบ Reversal Patterns นั้นบางครั้งเห็นได้อย่างชัดเจนกว่าใน
ชาร์ทราคา
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
Standard Deviation
(ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน)
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard Deviation) นั้นเป็นการวัดทางสถิติของความผันผวน(Volatility) ซึ่งมัน
โดยทั่วไปแล้วจะไม่ถูกใช้เป็นตัวบ่งชี้แยกออกมาแต่ว่าจะเป็นส่วนประกอบของตัวชี้วัดอื่นๆ
ซึ่งส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานนั้นส่วนมากจะถูกใช้ในตลาดหุ้นในการทาการระบุระดับของความผันผวนของตลาดหุ้น
ซึ่งตัวชี้วัดนี้ก็ยังคงถูกประยุกต์ใช้ในกองทุนรวม(Mutual Funds) ต่างซึ่งเป็นที่ๆมันแสดงให้เห็นถึงว่าจะมีเงินทุนคืนมาเท่าใด
ที่เป็นการเบี่ยงเบนไปจากที่คาดการณ์เอาไว้ในการคืนเงินทุนในปกติ
วิธีการในการใช้งาน:
1. ค่าของตัวชี้วัดนี้โดยทั่วไปแล้วจะสูงถ้าราคานั้นมีการเปลี่ยนเปลงอย่างทันทีทันใด
2. ถ้าค่าของตัวชี้วัดนี้ไม่สูงราคานั้นก็จะมีความเสถียร
3. ก่อนที่จะมีการขึ้น/ลงของราคาอย่างมีนัยสาคัญนั้นตัวชี้วัดโดยทั่วไปแล้วจะมีค่าที่ต่า
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
Stochastic
(สโตเคสติค)
ตัวชี้วัด Stochastic นั้นเป็น Oscillator ที่ใช้ในการเปรียบเทียบที่ๆราคาสินทรัพย์ (Asset’s Price) นั้นปิดสัมพันธ์กับ
ระยะราคาของมันไปเหนือระยะเวลาที่ให้ ซึ่งมันจะประกอบไปด้วยเส้นสองเส้น: เส้นหลักเรียกว่า %K (สีเขียว) และเส้นรอง
เรียกว่า %D (สี Navy) ซึ่งในเส้นหลัก (%K) ความผันผวนต่างๆโดยทั่วไปนั้นจะมีความชัดเจนมากกว่าในเส้นรอง (%D)
เพราะว่า %D นั้นเป็นเส้นค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ (Moving Average) ของเส้น %K ซึ่ง Stochastic Indicator นั้นได้ทาการวัดใน
สเกลจาก 0% ไปจนถึง 100%
โดยที่ Stochastic Oscillator นั้นส่วนมากจะถูกใช้ในตลาดที่มีแนวโน้ม ถ้าทั้งเส้น (%D และ %K) นั้นอยู่ด้านบน
ของโซนบน (Upper zone) (เหนือเส้นกากับ 80%) และจากนั้นตัวชี้วัดก็กลับมายังโซนกลาง (Middle zone) ซึ่งอัตรานั้นๆก็
จะเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน ถ้าทั้งสองเส้นอยู่ที่ด้านล่างอยู่ในโซนต่า (Lower zone) (ต่ากว่า 20%) และจากนั้นตัวชี้วัดก็
จะกลับมายังโซนกลาง (Middle zone) ซึ่งอัตราก็จะเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน
วิธีการใช้งาน:
เมื่อเส้นหนึ่งๆของ Stochastic หล่นไปอยู่ต่ากว่า 20% และจากนั้นขึ้นไปอยู่เหนือระดับ (A) หรือเมื่อเส้น %K
1. นั้นขึ้นไปเหนือเส้น %D เส้น (B) มันก็เป็นสัญญาณซื้อ
เมื่อเส้นหนึ่งๆของ Stochastic นั้นขึ้นไปเหนือ 80% และจากนั้นก็หลนลงมาใต้ระดับ (C) หรือขายเมื่อเส้น %K
2. นั้นหล่นต่ากว่าเส้น %D ซึ่งมันเป็นสัญญาณขาย
Divergence: ถ้าอัตราในการสร้างอนุกรมของค่าต่าสุด/สูงสุดใหม่และ Oscillator นั้นไม่จากนั้นบางอัตรา
3. ถ้าความถูกต้อง (Correction) นั้นเป็นไปได้ในทิศทางของการเคลื่อนที่ของ Oscillator’s Movement
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
Williams' Percent Range
(วิเลียมเปอร์เซ็นต์เร้น)
Williams' Percent Range (Williams %R, หรือ %R) เป็นตัวชี้วัดทางโมเมนตั้ม (Momentum Indicator) ที่ทาการ
วัดระดับแรงซื้อมากเกินไป (Overbought) และระดับแรงขายมากเกินไป (Oversold) ที่แกว่งขึ้นๆลงๆระหว่าง 0 และ -100%
เมื่อค่าไปถึง 0% มันก็จะหมายความว่าราคาปิดนั้นดูเหมือนว่าจะสูงไป ในทางกลับกันเมื่อค่าไปถึง -100 % มันหมายความ
ว่าราคาปิดนั้นถือได้ว่าต่าไป
โดยที่ค่า Williams %R นั้นโดยส่วนมากจะถูกใช้เป็นการบอกใบ้ถึงเงื่อนไขของตลาดในตลาดในการซื้อขายใดๆ ซึ่ง
มันจะแสดงให้เห็นถึงการหันกลับของราคาสินค้าที่สาคัญแฝงอยู่ บ่อยครั้งที่ตัวชี้วัดนี้จะไปถึงจุดสูงสุดและจะหันกลับลงมา
เล็กน้อยก่อนหน้าราคาสินค้านั้นๆ ก็เหมือนกับว่า %R จะไปถึงจุดต่าสุดและจะหันกลับขึ้นไปเล็กน้อยก่อนหน้าราคาสินค้า
นั้นๆนั่นเอง
วิธีการใช้งาน:
1. ถ้าค่าอ่านได้ใน ระยะ 0 ถึง -20 %: ตลาดนั้นมีแรงซื้อมากเกินไป (Overbought) ซึ่งมันสามารถถือได้ว่าเป็น
สัญญาณขาย
2. ถ้าค่าอ่านได้ใน ระยะ -80 ถึง -100%: ตลาดนั้นมีแรงขายมากเกินไป (Oversold) ซึ่งมันสามารถถือได้ว่าเป็น
สัญญาณซื้อ
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
Note: แนะนาให้รอดูตัวชี้วัดทางราคาในการเปลี่ยนทิศทางก่อนที่จะทาการตัดสินใจทาการซื้อขายใดๆ
อ้างอิง
http://help.sysfx.com/documents/traders_manual/en_US/
“การลงทุนในความรู้คือการลงทุนที่คุ้มค่า”
ท่านผู้สนใจสามารถเข้ารับอบรมกรวิเคราะห์การลงทุนขั้นสูง
กับเราได้ที่
www.solverenterprise.com
Tel.055341081, 0851188440
(ติดต่อ อ.นราธิป จารัส)
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008
การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008

More Related Content

What's hot

Candlesticks, fibonacci, and chart pattern trading forex factory ( pdf drive )
Candlesticks, fibonacci, and chart pattern trading   forex factory ( pdf drive )Candlesticks, fibonacci, and chart pattern trading   forex factory ( pdf drive )
Candlesticks, fibonacci, and chart pattern trading forex factory ( pdf drive )wijitha gayan
 
การลงทะเบียนหนังสือ58
การลงทะเบียนหนังสือ58การลงทะเบียนหนังสือ58
การลงทะเบียนหนังสือ58Supaporn Khiewwan
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 
9.Dow Theory เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf
9.Dow Theory เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf9.Dow Theory เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf
9.Dow Theory เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdfMicro4you
 
11.วิธีสร้างระบบเทรด เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf
11.วิธีสร้างระบบเทรด เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf11.วิธีสร้างระบบเทรด เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf
11.วิธีสร้างระบบเทรด เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdfMicro4you
 
40 pip parabolic sar forex strategy (1)
40 pip parabolic sar forex strategy (1)40 pip parabolic sar forex strategy (1)
40 pip parabolic sar forex strategy (1)pipsumo traderfx
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
14.Read The Market เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf
14.Read The Market เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf14.Read The Market เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf
14.Read The Market เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdfMicro4you
 
Forex Trading - How to Create a Trading Strategy
Forex Trading - How to Create a Trading StrategyForex Trading - How to Create a Trading Strategy
Forex Trading - How to Create a Trading StrategyBlueMax Capital
 
Chapter 7 trend line แค่ลากเป็นก็ทำกำไรได้แล้ว
Chapter 7 trend line แค่ลากเป็นก็ทำกำไรได้แล้วChapter 7 trend line แค่ลากเป็นก็ทำกำไรได้แล้ว
Chapter 7 trend line แค่ลากเป็นก็ทำกำไรได้แล้วAkarawat Thanachitnawarat
 
Kahoot สร้างง่าย เร้าใจผู้เรียน (Kahoot Makes Learning Awesome)
Kahoot สร้างง่าย เร้าใจผู้เรียน (Kahoot Makes Learning Awesome)Kahoot สร้างง่าย เร้าใจผู้เรียน (Kahoot Makes Learning Awesome)
Kahoot สร้างง่าย เร้าใจผู้เรียน (Kahoot Makes Learning Awesome)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2พัน พัน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูราทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูราhoossanee
 
Master binary options trading ebook
Master binary options trading ebookMaster binary options trading ebook
Master binary options trading ebookMasterBinary
 

What's hot (20)

Alligator Hunter2016
Alligator Hunter2016Alligator Hunter2016
Alligator Hunter2016
 
Candlesticks, fibonacci, and chart pattern trading forex factory ( pdf drive )
Candlesticks, fibonacci, and chart pattern trading   forex factory ( pdf drive )Candlesticks, fibonacci, and chart pattern trading   forex factory ( pdf drive )
Candlesticks, fibonacci, and chart pattern trading forex factory ( pdf drive )
 
การลงทะเบียนหนังสือ58
การลงทะเบียนหนังสือ58การลงทะเบียนหนังสือ58
การลงทะเบียนหนังสือ58
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
 
Elliot wave thai by Kitty version
Elliot wave thai   by Kitty versionElliot wave thai   by Kitty version
Elliot wave thai by Kitty version
 
ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2
 
9.Dow Theory เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf
9.Dow Theory เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf9.Dow Theory เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf
9.Dow Theory เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf
 
11.วิธีสร้างระบบเทรด เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf
11.วิธีสร้างระบบเทรด เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf11.วิธีสร้างระบบเทรด เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf
11.วิธีสร้างระบบเทรด เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf
 
40 pip parabolic sar forex strategy (1)
40 pip parabolic sar forex strategy (1)40 pip parabolic sar forex strategy (1)
40 pip parabolic sar forex strategy (1)
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
ใบงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
ใบงาน     หน่วยการเรียนรู้ที่ 2ใบงาน     หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
ใบงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
14.Read The Market เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf
14.Read The Market เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf14.Read The Market เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf
14.Read The Market เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf
 
Forex Trading - How to Create a Trading Strategy
Forex Trading - How to Create a Trading StrategyForex Trading - How to Create a Trading Strategy
Forex Trading - How to Create a Trading Strategy
 
Chapter 7 trend line แค่ลากเป็นก็ทำกำไรได้แล้ว
Chapter 7 trend line แค่ลากเป็นก็ทำกำไรได้แล้วChapter 7 trend line แค่ลากเป็นก็ทำกำไรได้แล้ว
Chapter 7 trend line แค่ลากเป็นก็ทำกำไรได้แล้ว
 
Kahoot สร้างง่าย เร้าใจผู้เรียน (Kahoot Makes Learning Awesome)
Kahoot สร้างง่าย เร้าใจผู้เรียน (Kahoot Makes Learning Awesome)Kahoot สร้างง่าย เร้าใจผู้เรียน (Kahoot Makes Learning Awesome)
Kahoot สร้างง่าย เร้าใจผู้เรียน (Kahoot Makes Learning Awesome)
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูราทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
 
Master binary options trading ebook
Master binary options trading ebookMaster binary options trading ebook
Master binary options trading ebook
 
Trading plan
Trading planTrading plan
Trading plan
 

Viewers also liked

Chapter 1 มองแนวโน้มให้ออกก่อน
Chapter 1 มองแนวโน้มให้ออกก่อนChapter 1 มองแนวโน้มให้ออกก่อน
Chapter 1 มองแนวโน้มให้ออกก่อนAkarawat Thanachitnawarat
 
Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4
Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4
Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4Akarawat Thanachitnawarat
 
Millionaire thailand คังเก้นไทย
Millionaire thailand คังเก้นไทยMillionaire thailand คังเก้นไทย
Millionaire thailand คังเก้นไทยRangsiman Thianhirun
 
Zalora Affiliate Program Guide 2014
Zalora Affiliate Program Guide 2014Zalora Affiliate Program Guide 2014
Zalora Affiliate Program Guide 2014Press Trade
 
Ebooksint จัดพอร์ตเชิงรุกด้วยกลยุทธ์แบบ momentum trading
Ebooksint จัดพอร์ตเชิงรุกด้วยกลยุทธ์แบบ momentum tradingEbooksint จัดพอร์ตเชิงรุกด้วยกลยุทธ์แบบ momentum trading
Ebooksint จัดพอร์ตเชิงรุกด้วยกลยุทธ์แบบ momentum tradingRose Banioki
 
Pabarazia ekonomike
Pabarazia ekonomikePabarazia ekonomike
Pabarazia ekonomikeKathy Rama
 
6-8-2015 AACC Poster HIV p24 S-PLEX - Stengelin_final
6-8-2015 AACC Poster HIV p24 S-PLEX - Stengelin_final6-8-2015 AACC Poster HIV p24 S-PLEX - Stengelin_final
6-8-2015 AACC Poster HIV p24 S-PLEX - Stengelin_finalLawrence Hwang
 
"อายุน้อยร้อยล้านด้วย e-Commerce" โดย คุณอนัญพร มงคล
"อายุน้อยร้อยล้านด้วย e-Commerce" โดย คุณอนัญพร มงคล"อายุน้อยร้อยล้านด้วย e-Commerce" โดย คุณอนัญพร มงคล
"อายุน้อยร้อยล้านด้วย e-Commerce" โดย คุณอนัญพร มงคลPisit S
 
The Convergence of the BuySide and SellSide
The Convergence of the BuySide and SellSideThe Convergence of the BuySide and SellSide
The Convergence of the BuySide and SellSideShihab Khalil
 
Presentation 10เทคนิค พิชิต Gold Futures
Presentation   10เทคนิค พิชิต  Gold  FuturesPresentation   10เทคนิค พิชิต  Gold  Futures
Presentation 10เทคนิค พิชิต Gold FuturesPk Daily Watch
 
Ai operating results q2 2013
Ai operating results q2 2013Ai operating results q2 2013
Ai operating results q2 2013Pk Daily Watch
 
Anshoff's Product market expansion grid model
Anshoff's Product market expansion grid modelAnshoff's Product market expansion grid model
Anshoff's Product market expansion grid modelSatyajeet Mishra
 
eMarketing - BrainAsset (20101216)
eMarketing - BrainAsset (20101216)eMarketing - BrainAsset (20101216)
eMarketing - BrainAsset (20101216)Navik Numsiang
 

Viewers also liked (18)

Chapter 1 มองแนวโน้มให้ออกก่อน
Chapter 1 มองแนวโน้มให้ออกก่อนChapter 1 มองแนวโน้มให้ออกก่อน
Chapter 1 มองแนวโน้มให้ออกก่อน
 
Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4
Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4
Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4
 
Millionaire thailand คังเก้นไทย
Millionaire thailand คังเก้นไทยMillionaire thailand คังเก้นไทย
Millionaire thailand คังเก้นไทย
 
E commerce1
E commerce1E commerce1
E commerce1
 
Zalora Affiliate Program Guide 2014
Zalora Affiliate Program Guide 2014Zalora Affiliate Program Guide 2014
Zalora Affiliate Program Guide 2014
 
Ebooksint จัดพอร์ตเชิงรุกด้วยกลยุทธ์แบบ momentum trading
Ebooksint จัดพอร์ตเชิงรุกด้วยกลยุทธ์แบบ momentum tradingEbooksint จัดพอร์ตเชิงรุกด้วยกลยุทธ์แบบ momentum trading
Ebooksint จัดพอร์ตเชิงรุกด้วยกลยุทธ์แบบ momentum trading
 
สรุป Master the market
สรุป  Master the marketสรุป  Master the market
สรุป Master the market
 
Pabarazia ekonomike
Pabarazia ekonomikePabarazia ekonomike
Pabarazia ekonomike
 
6-8-2015 AACC Poster HIV p24 S-PLEX - Stengelin_final
6-8-2015 AACC Poster HIV p24 S-PLEX - Stengelin_final6-8-2015 AACC Poster HIV p24 S-PLEX - Stengelin_final
6-8-2015 AACC Poster HIV p24 S-PLEX - Stengelin_final
 
"อายุน้อยร้อยล้านด้วย e-Commerce" โดย คุณอนัญพร มงคล
"อายุน้อยร้อยล้านด้วย e-Commerce" โดย คุณอนัญพร มงคล"อายุน้อยร้อยล้านด้วย e-Commerce" โดย คุณอนัญพร มงคล
"อายุน้อยร้อยล้านด้วย e-Commerce" โดย คุณอนัญพร มงคล
 
The Convergence of the BuySide and SellSide
The Convergence of the BuySide and SellSideThe Convergence of the BuySide and SellSide
The Convergence of the BuySide and SellSide
 
Make Money by Anya Mongkol
Make Money by Anya MongkolMake Money by Anya Mongkol
Make Money by Anya Mongkol
 
Presentation 10เทคนิค พิชิต Gold Futures
Presentation   10เทคนิค พิชิต  Gold  FuturesPresentation   10เทคนิค พิชิต  Gold  Futures
Presentation 10เทคนิค พิชิต Gold Futures
 
Ai operating results q2 2013
Ai operating results q2 2013Ai operating results q2 2013
Ai operating results q2 2013
 
Anshoff's Product market expansion grid model
Anshoff's Product market expansion grid modelAnshoff's Product market expansion grid model
Anshoff's Product market expansion grid model
 
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
 
Matrix53
Matrix53Matrix53
Matrix53
 
eMarketing - BrainAsset (20101216)
eMarketing - BrainAsset (20101216)eMarketing - BrainAsset (20101216)
eMarketing - BrainAsset (20101216)
 

More from Akarawat Thanachitnawarat

Chapter 3 ฝึกลากรูปแบบต่างๆ
Chapter 3 ฝึกลากรูปแบบต่างๆChapter 3 ฝึกลากรูปแบบต่างๆ
Chapter 3 ฝึกลากรูปแบบต่างๆAkarawat Thanachitnawarat
 
Chapter 2 รู้แนวรับแนวต้าน
Chapter 2 รู้แนวรับแนวต้านChapter 2 รู้แนวรับแนวต้าน
Chapter 2 รู้แนวรับแนวต้านAkarawat Thanachitnawarat
 
หุ้นซิ่ง (รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับหุ้นซิ่งจากอินเตอร์เน็ท)
หุ้นซิ่ง (รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับหุ้นซิ่งจากอินเตอร์เน็ท)หุ้นซิ่ง (รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับหุ้นซิ่งจากอินเตอร์เน็ท)
หุ้นซิ่ง (รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับหุ้นซิ่งจากอินเตอร์เน็ท)Akarawat Thanachitnawarat
 

More from Akarawat Thanachitnawarat (8)

Set+technical+update+besic
Set+technical+update+besicSet+technical+update+besic
Set+technical+update+besic
 
Chapter 3 ฝึกลากรูปแบบต่างๆ
Chapter 3 ฝึกลากรูปแบบต่างๆChapter 3 ฝึกลากรูปแบบต่างๆ
Chapter 3 ฝึกลากรูปแบบต่างๆ
 
Chapter 2 รู้แนวรับแนวต้าน
Chapter 2 รู้แนวรับแนวต้านChapter 2 รู้แนวรับแนวต้าน
Chapter 2 รู้แนวรับแนวต้าน
 
Candlesticks
CandlesticksCandlesticks
Candlesticks
 
หุ้นซิ่ง (รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับหุ้นซิ่งจากอินเตอร์เน็ท)
หุ้นซิ่ง (รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับหุ้นซิ่งจากอินเตอร์เน็ท)หุ้นซิ่ง (รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับหุ้นซิ่งจากอินเตอร์เน็ท)
หุ้นซิ่ง (รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับหุ้นซิ่งจากอินเตอร์เน็ท)
 
The 3 duck's trading system.
The 3 duck's trading system.The 3 duck's trading system.
The 3 duck's trading system.
 
Powerband
PowerbandPowerband
Powerband
 
Ichimoku
IchimokuIchimoku
Ichimoku
 

การวิเคราะห์ทางเทคนิค อ.นราธิป

  • 1. SOLVER INSTITUTE © 2008 www.solverenterprise.com njamras@hotmail.com การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิค
  • 2. การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008 “คู่มือการวิเคราะหุ้นทางเทคนิค ฉบับเพื่อประชาชนนี้ ขออุทิศผลบุญนี้ให้แก่บิดามารดาของข้าพเจ้า ที่ได้เสียสละทั้งกาลังเงิน, กาลังกาย, เวลาและความรัก และการสนับสนุนข้าพเจ้าตลอดมา” อ. นราธิป จารัส
  • 3. การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008 ตัวชี้วัดทางเทคนิค Technical Indicators มีตัวชี้วัดทางเทคนิคมากมายที่มีอยู่ในโปรแกรมแสดงชาร์ตนี้ ที่มากกว่านั้นก็คือคุณยังคงสามารถที่จะทาการ ออกแบบตัวชี้วัดต่างๆของคุณเองด้วย User Indicator Editor นี้ ในการที่จะใช้งานตัวIndicator ใดๆนั้นก็ให้คลิกปุ่มf(x) บน Chart toolbar หรือเลือกที่ Setup Indicators จากเมนู ที่ได้ทาการคลิกขวาจากชาร์ตนั้นๆ ในเมนู Chart Indicators นั้นคุณสามารถที่จะเลือกตัวชี้วัดต่างๆได้จากบ็อกซ์All Indicators และทาการเพื่มมันไป ที่บ็อกซ์ Active Indicators โดยใช้ปุ่ม > ซึ่ง Active Indicators นั้นก็จะปรากฏออกมาในชาร์ตของคุณ โดยส่วนทางด้านขวา ของเมนูจะยอมให้คุณทาการปรับค่าตัวชี้วัดอย่างเฉพาะได้
  • 4. การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008 ตัวชี้วัดต่างๆที่สามารถใช้ได้ดังต่อไปนี้:  Accelerator/Decelerator  Average Directional Movement  Alligator  Average True Range  Awesome Oscillator  Bollinger Bands  Commodity Channel Index  DeMaker  Envelopes  Fractals  Gator  Linear Regression  Moving Average Convergence/Divergence  Momentum  Moving Average  Parabolic SAR  Relative Strength Index  Standard Deviation  Stochastic  Williams’ Percent Range
  • 5. การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008 Accelerator Decelerator (ตัวเร่ง ตัวผ่อน) Accelerator/Decelerator (AC) นั้นเป็น Oscillator ที่ใช้ในการวัดการกระตุ้น (Activation) หรือการไม่กระตุ้น (Deactivation) ของแรงขับเคลื่อนของตลาด มันจะเปลี่ยนแปลงทิศทางของมันก่อนหน้าการเปลี่ยนแปลงใดๆในทิศทางของ ราคาที่เกิดขึ้นนั้น โดย Oscillator นี้จะเหมือนกับ Awesome Oscillator แต่จะไม่เหมือนกับ AO ที่ว่าการตัดผ่านเส้นศูนย์นั้น ไม่ใช้สัญญาณซื้อ/ขายแต่อย่างใด Accelerator/Decelerator ส่วนใหญ่นั้นถูกใช้ในการทานายการเปลี่ยนแปลงของแรงขับเคลื่อนของตลาดนั้นๆ เมื่อ AC ไปที่เส้นศูนย์ (Zero line) มันหมายความที่ว่า แรงขับเคลื่อนนั้นอยู่ที่สมดุลด้านความเร่ง เมื่อ AC นั้นตัดผ่านเส้นศูนย์ และขั้นไปด้านบนหรือลงด้านล่างก็จะมีเพียงสิ่งเดียวที่ควรจะทาการติดตามก็คือการเปลี่ยนแปลงสีของแท่งเหล่านั้น วิธีการใช้งาน: 1. เมื่อชาร์ตนั้นเคลื่อนที่ไปเหนือเส้นศูนย์และมีแท่งสีเขียวสองแท่งแสดงว่ามันเป็นสัญญาณซื้อ 2. เมื่อชาร์ตนั้นเคลื่อนที่ไปใต้เส้นศูนย์และมีแท่งสีแดงสองแท่งแสดงว่ามันเป็นสัญญาณขาย
  • 6. การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008 Average Directional Movement (ค่าเฉลี่ยทิศทางเคลื่อนที่) Average Directional Movement (ADX) เป็นตัวชี้วัดที่ถูกใช้ในการหาค่าความเข้มแข็งของเทรนในปัจจุบัน ซึ่ง ตัวชี้วัดนี้ได้มาจากความแตกต่างของสอง Direction Momentum Indicators (DI) ซึ่งความแตกต่างระหว่าง ADX และ DI โดยที่อย่างหลังนั้นจะถูกใช้ในการตามทิศทางของเทรนนั้นๆ ในขณะที่ ADX จะทาการวัดค่าความเข้มแข็งของเทรนนั้นๆ ADX นั้นหลักๆแล้วจะถูกใช้ในการหาเทรนของตลาดต่างๆและมันจะถูกวัดในเสกลจาก 0 ถึง 100 เมื่อตัวชี้วัดนั้นอยู่ ใต้ 20 มันหมายความที่ว่าแนวโน้มนั้นมีความอ่อนแอและเป็นไปได้ที่จะมีการเปลี่ยนทิศทาง เมื่อมันขึ้นไปเหนือกว่า 40 เทรน นั้นก็จะสามารถถือได้ว่าเป็นแนวโน้มที่มีความเข้มแข็งอย่างหนึ่งด้วยความเป็นไปได้ที่จะมีการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ซึ่ง ADX บ่อยครั้งจะถูกใช้ร่วมกับ DI ในการทาการตัดสินใจในการซื้อขายต่างๆ วิธีการใช้งาน: 1. เมื่อ +DI (น้าเงิน) อยู่เหนือ -DI (แดง) นั่นเป็นสัญญาณซื้อ 2. เมื่อ +DI (น้าเงิน) อยู่ใต้ -DI (แดง) นั่นเป็นสัญญาณขาย หมายเหตุ: ADX จะทาการวัดความเข้มแข็งของเทรนนั้นๆแต่ไม่ใช่ทาการวัดทิศทางของมัน ให้รอจนกระทั่งDI ตัดผ่านซึ่ง กันและกันก่อนหน้าที่จะทาการตัดสินใจซื้อขายใดๆ
  • 7. การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008 Alligator (จระเข้) Alligator เป็นตัวชี้วัดที่ประกอบไปด้วยค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ (Moving Averages) สามค่าด้วยตัวเลขที่แตกต่างกัน ออกไปในบาร์ต่างๆสาหรับ Smoothed MA โดยที่เส้นสีน้าเงิน (ฟันจระเข้ – Alligator jaw) ซึ่งเป็นเส้น Balance Line สาหรับกรอบเวลาที่ถูกใช้ในการสร้างชาร์ตนั้นๆ (13 bar smoothed average offset by 8 bar) เส้นดุล (Balance Line) สาหรับกรอบเวลาที่จะถูกใช้ในการสร้างชาร์ตนั้นๆ (13 barj smoothed average offset by 8 bars) โดยที่เส้นสีแดงก็จะเป็น (ฟันจระเข้ – Alligator teeth) ซึ่งก็จะยังคงเป็นเส้นดุล Balance Line แต่อยู่ระดับที่ต่า กว่าเส้นสีน้าเงิน (8 bar smoothed average offset by 5 bars) โดยที่เส้นสีเขียว (ปากจระเข้ – Alligator lips) มันก็ยังคง เป็นเส้นดุล Balance Line โดยอยู่ในระดับที่ต่ากว่าเส้นสีแดง (5 bar smoothed average offset by 3 bars) Alligator นั้นส่วนมากจะถูกใช้ในการหาแนวโน้มในปัจจุบัน/แนวโน้มที่หายไปและทิศทางของมัน มันยังคงสามารถ ที่จะถูกใช้ด้วยกันกับ Eliot waves ได้อีกด้วย ถ้าราคานั้นอยู่นอกปากจระเข้ คลื่นกระตุ้นนั้นก็จะถูกสร้างขึ้นมา ถ้ามันอยู่ด้าน ในปากจระเข้ เส้นที่ถูกต้องก็จะถูกสร้างขึ้นมา วิธีการใช้งาน: เมื่อเส้นสีน้าเงิน, แดง, และเขียวนั้นได้ตัดผ่านกันไปแล้วหรือใกล้ที่จะตัดกัน ซึ่งมันมีตลาดที่ราบเรียบ (Flat Market) ซึ่งจระเข้นั้นกาลังนอน 1. ยิ่งช่วงนี้ยาวมากยิ่งขึ้น ยิ่งทาให้ตลาดเคลื่อนที่ตามหลังจากนั้น เมื่อสามเส้นทั้งหมดนั้นไม่ตัดผ่านกันหรือไม่ใกล้ที่จะตัดกันและราคานั้นอยู่เหนือปากจระเข้ซึ่งมันเป็น 2. เทรนขึ้น (Uptrend) ในตลาดนั้นๆซึ่งในจุดนี้จระเข้จะตื่นและทาการล่า เมื่อเส้นสามเส้นนั้นไม่ตัดผ่านกันหรือไม่ไกล้ที่จะตัดผ่านกันและราคานั้นอยู่ใต้ปากจระเข้มันคือ 3. เทรนลง (Downtrend) ในตลาดนั้นๆซึ่งในช่วงนี้จระเข้ก็ยังคงตื่นและทาการล่าอยู่ เมื่อเส้นต่างๆนั้นตัดผ่านหรือใกล้ที่จะตัดผ่านกันมันหมายความว่าตลาดนั้นก็จะราบเรียบอีกครั้งซึ่งในช่วง นี้จระเข้อิ่มแล้ว 4. และมันเป็นเวลาในการที่จะจัดการกาผลกาไรนั้น
  • 9. การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008 Average True Range (ค่าเฉลี่ยระยะจริง) Average True Range (ATR) เป็นตัวชี้วัดที่ใช้ในการวัดความผันผวนของตลาดนั้นๆ โดยทั่วไปมันจะเป็นค่าเฉลี่ย เคลื่อนที่ 14 วันของระยะจริง (14-day Moving Average of the True Range) โดยที่ระยะจริง (True Range – TR) จะอยู่ ในรอบของมันที่ได้กาหนดเอาไว้เป็นความแตกต่างที่มากที่สุดของราคาสูงสุดของวันนี้และราคาต่าสุดของวันนี้ ราคาสูงสุด ของวันนี้และราคาปิดเมื่อวานและราคาต่าสุดของวันนี้และราคาปิดเมื่อวาน ซึ่งค่าTR ที่มากก็จะทาให้ความผันผวนของ สินค้าตัวนั้นมีความผันผวนมากขึ้นตามไปด้วย ส่วนค่าTR ที่น้อยค่าความผันผวนก็จะน้อยตาม วิธีการใช้งาน: 1. ค่าของตัวชี้วัดนี้โดยทั่วไปจะสูงเมื่อราคานั้นมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างทันทีทันใด 2. ถ้าค่าของตัวชี้วัดนั้นไม่สูงราคานั้นก็จะยังคงเสถียรอยู่ 3. ก่อนหน้าการเปลี่ยนแปลงขึ้น/ลงที่มีนัยสาคัญ ค่าของตัวชี้วัดนี้โดยทั่วไปมักจะต่า/สูง หมายเหตุ: เมื่อค่า ATR แสดงถึงความผันผวนในระดับที่แท้จริง(Absolute level) โดยเมื่อราคาสินค้าที่ต่าจะมีระดับATR ที่ต่ากว่าราคาสินค้าทีสูง
  • 10. การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008 Awesome Oscillator (ตัวแกว่งที่เยี่ยมยอด) Awesome Oscillator (AO) นั้นเป็นค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่อย่างง่ายในช่วง 34 (34-period simple Moving Average) นั้นได้ทาการพล็อตผ่านไปยังจุดกลางของบาร์ (H+L)/2 ซึ่งมันถูกลบออกไปจากค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 5 ช่วง (5-period simple Moving Average) ซึ่งได้ทาการสร้างขึ้นมาผ่านจุดกึ่งกลางของบาร์ (H+L)/2 ซึ่ง AO นั้นได้แสดงสถานะของแรงขับเคลื่อน ของตลาดในปัจจุบัน Awesome Oscillator นั้นโดยหลักแล้วจะถูกใช้เมื่อเทรนนั้นไม่สามารถที่จะตามไปได้อย่างชัดเจน ซึ่ง AO นั้นจะมี สามสัญญาณหลัก : Saucer (Reversed Saucer), การตัดผ่านเส้นศูนย์และมีสองแท่ง ซึ่ง Saucer นั้นเป็นชาร์ตที่จะ ประกอบไปด้วยสาม Candlesticks ซึ่งเป็นที่เป็นแท่งที่สอง (สีแดง) ที่ต่ากว่าแท่งแรกและแท่งที่สาม (สีเขียว) ที่จะสูงกว่า อย่างที่สอง ซึ่งจะตัดผ่านเส้นศูนย์ที่จะเกิดขึ้นเมื่อชาร์ตนั้นได้ผ่านมาจากค่าที่เป็นลบไปยังค่าที่เป็นบวกและในทางกลับกันที่ สองแท่งนั้นเป็นชาร์ตที่จะมีจุดสูงสุดที่จะตามมาด้วยจากจุดสูงสุดอื่นๆที่สูงกว่า/ต่ากว่าอย่างแรก ซึ่งจุดสูงสุดทั้งคู่นั้นควรที่ จะอยู่เหนือหรือใต้เส้นศูนย์ วิธีการใช้งาน: เมื่อสัญญาณ Saucer นั้นได้ถูกสร้างขึ้นมาเหนือเส้นศูนย์หรือเมื่อตัดผ่านของเส้นศูนย์นั้นจากด้วนลบไปยัง 1. ด้านบวกหรือเมื่อสองแท่งที่ได้สร้างขึ้นต่ากว่าเส้นศูนย์ ซึ่งมันเป็นสัญญาณซื้อ เมื่อสัญญาณ Saucer นั้นได้ถูกสร้างต่ากว่าเส้นศูนย์หรือเมื่อตัดผ่านของเส้นศูนย์จากด้านบวกไปยัง 2. ด้านลบหรือเมื่อสองแท่งได้ถูกสร้างขึ้นมาเหนือเส้นศูนย์ มันก็เป็นสัญญาณขาย
  • 11. การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008 Bollinger Bands (แถบโบลิงเจอร์) Bollinger Bands (BB) นั้นเป็นตัวชี้วัดที่ใช้ในการเปรียบเทียบความผันผวน(Volatility) และระดับราคาสัมพันธ์ (Relative Price Levels) เหนือช่วงของเวลาหนึ่งๆ ซึ่งBollinger Bands นั้นจะทาการปรับเปลี่ยนไปตามเงื่อนไขของตลาด ตามที่ตลาดนั้นกลายมาเป็นตลาดที่มีความผันผวนมากขึ้น ซึ่งแถวนั้นก็จะกว้างขึ้นตาม ซึ่งแถบนี้จะแคบลงเมื่อตลาดนั้นมี ความผันผวนน้อย การใช้ Bollinger Bands นั้นเป็นพื้นฐานมาจากความเป็นจริงที่ว่าราคานั้นโดยทั่วไปจะยังคงอยู่ภายในขอบเขต บนสุดและล่างสุด ซึ่ง BB โดยหลักแล้วจะถูกใช้ในการตัดสินใจถ้าค่าในปัจจุบันของฟิลด์ข้อมูลนั้นอยู่อย่างปรกติหรือโดด ออกไปในทิศทางอื่นๆ โดย BB นั้นยังคงที่จะสามารถถูกใช้สาหรับการระบุเมื่อแนวโน้มนั้นมีการกลับทิศทางซึ่งก็ควรที่จะ คาดเอาไว้ โดยความกว้างของตัวแปร BB นั้นจะเป็นสาเหตุมาจากความผันผวนของราคานั่นเอง วิธีการใช้งาน: 1. การเปลี่ยนแปลงอย่างทันทีทันใดของราคานั้นจะเกิดขึ้นหลังจากแถบที่แคบ 2. ถ้าราคานั้นตัดผ่านขอบเขตไป มันเป็นสัญญาณที่ว่าเทรนในปัจจุบันนั้นจะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง 3. การเคลื่อนที่ของราคาที่ได้เกิดขึ้นที่ขอบเขตด้านหนึ่งจะมีแนวโน้มที่จะวิ่งไปยังทางขอบเขตอีกด้านหนึ่ง
  • 12. การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008 Commodity Channel Index (ดัชนี) Commodity Channel Index (CCI) นั้นเป็นออสซิเลเตอร์ที่ให้การบ่งชี้ของตลาดที่เป็นทั้งที่มีการซื้อมากเกินไป (Overbought Markets) และตลาดที่มีแรงขายมากเกินไป(Oversold Markets) ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ถือได้ว่าจะเกิดOversold เมื่อ CCI นั้นไปต่ากว่า -100 และจะเกิด Overbought เมื่อมันเกิน +100 ซึ่ง CCI นั้นจะทาการวัดความสัมพันธ์ระหว่าง ราคาสินทรัพย์ (Asset’s Price), ค่าเฉลี่ยเคลื่อนทื่ (Moving Average) และส่วนเบี่ยงเบนจากค่าเฉลี่ย(Deviations from the average) ซึ่ง CCI ส่วนมากนั้นจะถูกใช้ในการหาแนวโน้ม(Cyclical trends) ของ Commodity, Equity และ Currency Markets ซึ่งมันจะเป็นการกาหนดศักยภาพของค่าสูงสุด(Potential Peaks) และกุบเขาแห่งราคาสินทรัพย์ (Asset’s Price) และแสดงให้เห็ฯถึงการเปลี่ยแปลงโดยประมาณในทิศทางของการเคลื่อนที่ของราคาสินทรัพย์นั้นๆ วิธีการใช้งาน: การเลื่อนที่ของ CCI: เมื่อ CCI เคลื่อนที่กลับหนือ -100 มันสามารถที่จะถือได้ว่าเป็นสัญญาณในการซื้อ(signal to buy) เมื่อ CCI เคลื่อนที่กลับ 1. ต่ากว่า +100 มันสามารถที่จะถือได้ว่าเป็นสัญญาณขาย(Signal to sell) ซึ่ง Divergence (เมื่อ Indicator นั้นมีแนวโน้มไปในทิศทางที่ตรงข้ามของราคานั้นๆ): Positive Divergence จะต่ากว่า -100 ซึ่งจะเป็นการเพิ่มขึ้นของความแข็งแกร่งของสัญญาณที่เป็นฐานในการ เคลื่อนที่กลับมาเหนือ -100 Negative Divergence จะเหนือ +100 ซึ่งอาจะเป็น 2. การเพิ่มความแข็งแกร่งของสัญญาณที่มีฐานในการเคลื่อนที่กลับมาต่าก่า +100 ซึ่ง Indicator ต่างๆ: ก็จะล่วงหน้าเหนือ -100 และเส้นแนวโน้มก็จะแหวกออกมาแสดงให้เห็นที่ว่าสินค้านั้นๆเกิดการ ขายมากเกินไป (Oversold) และเป็นแนวโน้มที่สามารถที่จะถือได้ว่าเป็นตลาดกระทิง(Bullish) โดยที่การลดลงต่า กว่า +100 และเส้นแนวโน้มที่แหวกไปก็จะเป็นการแสดงให้เห็นถึงที่ว่าหุ้นนั้นเกิดการซื้อที่มากเกินไปOverbought) และเป็นแนวโน้มที่สามารถ 3. ที่สามารถถือได้ว่าเป็นตลาดหมี (Bearish)
  • 14. การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008 DeMarker (ดีมาร์คเกอร์) DeMarker (Demarker, De Marker, DeM) นั้นเป็น Indicator ที่ใช้ในการบ่งชี้การอ่านแรงของราคา(Price exhaustion) ก็เหมือนกับค่าต่าสุดและค่าสูงสุดของศักยภาพทางด้านราคา(Potential Price) ซึ่งจะผันผวนระหว่าง 0 และ 1 และทาการเปรียบเทียบกับราคาที่ผ่านมาส่วนมากกับช่วงของราคาที่ผ่านมาเพื่อที่จะทาการวัดความต้องการที่มีอยู่ของ สินทรัพย์อ้างอิง (Underlying asset) ซึ่ง DeMarket นั้นถูกใช้ในการระบุระดับความเสี่ยงก่อนที่จะทาการเปิดตาแหน่ง ในกรณีส่วนมากเมื่อราคา สินทรัพย์นั้นไปเหนือที่ 0.6 ระดับความผันผวน(Volatility) และระดับความเสียง (Risk) นั้นจะต่ากว่า ในขณะที่ทาการอ่าน ได้ต่ากว่า 0.4 ที่สามารถถือได้ว่าเป็นสัญญาณในการเพิ่มขึ้นของความเสี่ยง ที่มากกว่านั้นก็คือในการใช้ตัวชี้วัดไปเหนือช่วง ระยะเวลานานๆอย่าง (อาทิตย์, เดือน) ที่จะให้เป็นโอกาสในการที่จะติดตามพฤติกรรมชองตลาดในระยะยาวได้ วิธีการใช้งาน: 1. เมื่อค่าตัวชี้วัดนั้นหล่นไปต่ากว่า 0.3คาดไว้ว่าจะเกิด Bullish Price Reversal 2. เมื่อค่าตัวชี้วัดนั้นขึ้นไปสูงกว่า 0.7 คาดไว้ว่าจะเกิด Bearish Price Reversal
  • 15. การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008 Envelopes (เอนเวโลพ) Envelopes (Moving Average Envelope, Trading Bands นั้นเป็นตัวชี้วัดทางเทคนิคที่ประกอบไปด้วยค่าเฉลี่ย เคลื่อนที่สองตัว: ตัวหนึ่งเคลื่อนที่ด้านบน และอีกตัวหนึ่งเคลื่อนที่ด้านล่าง ซึ่งตัวชี้วัดนี้จะเป็นการกาหนดขอบเขตด้านบน และด้านล่างของระยะราคา ซึ่งมีความผันผวนสูงกว่า (Higher Volatility) ที่ควรจะนาไปยังเปอร์เซ็นต์การเบี่ยงเบนที่สูงกว่า (Higher Deviation Percentage) สิ่งหนึ่งที่ควรตระหนักไว้ในใจก็คือที่ว่าเมื่อมีเพียงข้อมูลที่ผ่านมานั้นถูกใช้สาหรับการคานวณตัวชี้วัด ซึ่งมันก็ยังคง เป็นเพียงเล็กน้อยเบื้องหนังราคาที่แท้จริง ที่เป็นผลลัพธ์ ซึ่งมันไม่ใช้การทานายการเปลี่ยนเปลงใดๆในแนวโน้มนั้นๆ แต่มัน เป็นเพียงการระบุมันออกมาเท่านั้น วิธีการใช้งาน: 1. เมื่อตัวชี้วัดนั้นไปถึงจุดต่าทีสุดของมันและหันกลับไปยังทิศทางที่ตรงกันข้ามมันสามารถที่จะถือให้เป็นสัญญาณซื้อ 2. เมื่อตัวชี้วัดนั้นไปถึงจุดสูงที่สุดของมันและหันกลับไปยังทิศทางที่ตรงกันข้ามมันสามารถที่จะถือได้ว่าเป็นสัญญาณ ขาย
  • 16. การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008 Fractals (แฟรกตัล) Fractals นั้นเป็นตัวชี้วัดที่ใช้ในการตรวจหาขอบเขตสูง (Higher Limits) และขอบเขตล่าง (Lower Limits) ของ แนวโน้มในปัจจุบันและสามารถที่จะทาการทานายความเป็นไปได้ของการกลับทิศ (Reversal) ของแนวโน้ม (Trend) ซึ่ง ตัวชี้วัดนี้เป็นอนุกรมของอย่างน้อยห้าบาร์ที่สาเร็จด้วยจุดสูงสุดที่สูงที่สุดในด้านตรงกลางและสองด้านสูงที่ต่ากว่าท้างสอง ด้าน โดยที่อนุกรมตรงข้ามนั้นอย่างน้อยมีห้าบาร์ที่สาเร็จกับที่ต่าที่สุดในด้านที่อยู่ตรงกลางและสองด้านต่าที่สูงกว่าทั้งสอง ด้าน โดยที่ Fractals นั้นจะถูกใช้โดยส่วนมากในการทานายการกลับทิศ (Reversal) ในแนวโน้มในปัจจุบัน ซึ่งจะเลื่อน จากแนวโน้มลง (Downtrend) ไปยังแนวโน้มขึ้น (Uptrend) ที่สามารถจะตามได้เมื่อบาร์ที่ต่าที่สุดนั้นอยู่ครงกลางของ รูปแบบและสองบาร์ด้วยด้านต่าที่สูงกว่าสาเร็จนั้นพบบนด้านไม่ว่าจะเป็นด้านใดด้านหนึ่งของมัน การเลื่อนจากแนวโน้มขึ้น (Uptrend) ไปเป็นแนวโน้มที่เป็นขาลง (Downtrend) นั้นสามารถถูกหาได้เมื่อบาร์ที่สูงที่สุดนั้นอยู่กลางของรูปแบบและสอง บาร์ที่มีด้าน Lower high ที่อยู่ทั้งสองด้านของมัน หมายเหตุที่ว่า Fractals นั้นจะมีประสิทธิภาพเมื่อถูกใช้ในการเชื่อมกับ ตัวชี้วัดอื่นๆอย่าง MA, Fibonacci Retracement และ Alligator วิธีการใช้งาน: 1. ถ้า BUY Fractal นั้นจะสูงกว่าเส้นสีแดง(Alligator teeth) มันเป็นสัญญาณซื้อ 2. ถ้า SELL fractal นั้นจะต่ากว่าเส้นสีแดง(Alligator teeth) มันเป็นสัญญาณขาย
  • 17. การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008 Gator (เกเตอร์) Gator นั้นเป็น Oscillator ที่เป็นฐานมาจากตัวชี้วัด Alligator ที่ใช้ในการแสดงระดับของ Divergence / Convergence ของ Smoothed Moving Averages โดยที่ Oscillator นี้จะถูกชี้วัดในรูปแบบของสองบาร์ชาร์ท อย่างแรกไม่ว่าจะเป็นด้านเส้นศูนย์ ซึ่งบาร์ชาร์ทด้านบน นั้นแสดงให้เห็นถึงระยะห่างระหว่างเส้นสีแดงและเส้นสีน้าเงิน โดยที่บาร์ชาร์ทด้านล่างนั้นแสดงให้เห็นถึงระยะห่างระหว่าง เส้นสีแดงและเส้นสีเขียว โดยที่บาร์ชาร์ทนั้นมีสีแดงและน้าเงิน: บาร์นั้นจะกลายมาเป็นสีแดงเมื่อค่าของมันต่ากว่าบาร์ก่อน หน้าอันหนึ่งและจะกลายมาเป็นสีเขียวเมื่อค่าของมันนั้นสูงกว่าบาร์ก่อนหน้าอันหนึ่ง GatorOscillatorนั้นจะช่วยในการทาให้สามาถมองเห็นและทาการตัดสินใจไม่ว่าจะเป็นแนวโน้มในปัจุบันหรืออดีต ในช่วงเวลาต่างๆ ซึ่งมันก็ยังช่วยในการทาให้สามารถที่จะมองเห็นการเข้าใกล้ (Rapprochement) และการตัดกันของ Smoothed Moving Averages (Balance Lines)
  • 18. การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008 Linear Regression (เชิงเส้นถดถอย) Linear Regression นั้นเป็นวิธีการทางสถิติในการติดตามแนวโน้มหนึ่งๆ ซึ่งผลลัพธ์ของมันนั้นโดยทั่วไปแล้วนั้นจะ ใกล้ๆกับ Moving Average และวิธีการใช้งานของมันนั้นก็คล้ายๆกัน แต่ไม่เหมือนกับMA โดยที่ Linear Regression นั้นจะ มีดีเลย์น้อยกว่าและนั่นเป็นการตอบรับที่มากขึ้นต่าการเปลี่ยนแปลงของราคา Linear Regression นั้นถูกใช้ในการบ่งชี้ให้เห็นถึงแนวโน้มที่มีความโดดเด่น(Dominant trend) ในตลาดที่มีการ ดีเลย์เพียงเล็กน้อยจากราคาจริงของสินทรัพย์ ซึ่งมันยังคงที่จะสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเบี่ยงเบนในอนาคตFuture Divergence ของแนวโน้มหลักไม่แค่เพียงเมื่อราคานั้นเริ่มเคลื่อนที่ไปไกล้แนวเส้นโน้มภายในระยะแคบๆหนึ่งๆ วิธีการใช้งาน: 1. ทิศทางของตัวชี้วัดนั้นแสดงให้เห็นถึงไม่ว่าจะเป็นว่ามีแนวโน้มที่เป็นBullish หรือ Bearish ในตลาดขณะนั้นก็ตาม โดยที่การตัดกันของตัวชี้วัดนั้นและชาร์ดราคานั้นจะเป็นการยืนยันให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของแนวโน้มนั้นๆ ซึ่ง มันไม่แต่เป็นการยืนยันเพราะว่า 2. การเปลี่ยนแปลงในตัวชี้วัดนี้นั้นจะสายไปสาหรับการเปรียบเทียบกับการเปลี่ยนแปลงของราคาหนึ่งๆ หมายเหตุ: ถ้าราคาเปลี่ยนแปลงไปอย่างมีรูปแบบไปรอบๆเส้นถดถอย(Regression Line) ซึ่งแนวโน้มตลาดนั้นก็ควรที่จะ มีการโอนเอียงที่จะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
  • 19. การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008 Moving Average Convergence/Divergence (ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบคอนเวอร์เจนท์และไดเวอร์เจนท์) Moving Average Convergence/Divergence (MACD) นั้นเป็นตัวชี้วัดที่จะตามแนวโน้มนั้นๆ ซึ่งมันจะประกอบ ไปด้วยค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบ12-Period Exponential Moving Average (EMA, สีเขียว), 26-Period Exponential Moving Average (สี Navy) และบาร์ชาร์ท (สีแดง) ที่แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างมัน โดยที่MACD นั้นถูกใช้เมื่อราคานั้น ผันผวนในกลไกของราคา ซึ่ง MACD นั้นโดยหลักจะถูกใช้ในการกาหนดสามสิ่งคือเงื่อนไขของ: Crossover, Overbought/Oversold และ Divergences โดยที่การ Crossovers นั้นจะเกิดขึ้นได้เมื่อMACD นั้นตกไปต่ากว่าเส้นสัญญาณ(Signal Line) ซึ่งมันจะ เป็นสัญญาณ Bearish signal (สัญญาณในการขาย) ในทางกลับกันเมื่อMACD นั้นไปเหนือเส้นสัญญาณ(Signal Line) มันก็จะเป็นสัญญาณBullish Signal (สัญญาณในการซื้อ) โดยเงื่อนไข Overbought/Oversold นั้นจะเกิดขึ้นเมื่อMA นั้น เกิดการขึ้น/ลงอย่างรุนแรงจากค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ที่ยาวกว่า ซึ่งมันเป็นสัญญาณที่ว่าราคานั้นจะเป็นการขยายไปมากเกินไปบ และจะกลับมาในเร็วๆนี้ในระดับความเป็นจริง(Realistic Levels) มากยิ่งขึ้น ซึ่ง Divergence นั้นจะเกิดขึ้นเมื่อการ เบี่ยงเบนของราคา (Price Diverges) จาก MACD ที่จะเป็นสัญญาณของการสิ้นสุดแนวโน้มในปัจจุบัน(Current Trend) วิธีการใช้งาน: 1. เมื่อ MACD นั้นต่ากว่าเส้นสัญญาณ(Signal line) มันเป็นสัญญาณขาย 2. เมื่อ MACD สูงกว่า Signal Line มันเป็นสัญญาณซื้อ 3. MACD ที่ไปตัดเหนือเส้นศูนย์ในไม่ว่าจะเป็นทิศทางใดก็ตามก็ถูกใช้เป็นสัญญาณในการซื้อ/ขาย หมายเหตุ: มันอะไรที่จะแนะนาให้ทาการรอสาหรับการยืนยันในการCross Over ไปยัง Signal Line ก่อนที่จะทาการเข้าไปยัง ตาแหน่งใดๆ นี่จะช่วยในการหลีกเลี่ยงการเข้าไปตาแหน่งนั้นๆเร็วเกินไป .
  • 21. การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008 Momentum (โมเมนตั้ม) Momentum นั้นเป็น Indicator/Oscillator ที่ใช้ในการวัดอัตราของการเปลี่ยนแปลงต่างๆในกระแสราคา (Currency Prices) ซึ่งมันจะทาการประเมินค่าความแตกต่างระหว่างราคาปิดของวันนี้ (Today’s Closing Price) และราคาปิด n วันที่ ผ่านมา โดยทั่วไปจะเป็นในช่วง 10 วันที่จะถูกใช้สาหรับการคานวณของตัวชี้วัดนี้ ซึ่งในกรณีของโมเมนตั้มนี้จะถูกคานวณ โดยการนาราคาปิดในปัจจุบันมาทาการลบกับราคาปิดสิบวันที่ผ่านมาและทาการพล็อตผลลัพธ์ไปรอบๆเส้นศูนย์ ซึ่งผลลัพธ์ ของการพล็อตนั้นสามารถที่จะเป็นลบได้เมื่อราคาในปัจจุบันนั้นต่ากว่าราคาเก่าสุดที่ผ่านมา หรือเป็นบวกก็ต่อเมื่อราคาใน ปัจจุบันนั้นมากกว่าราคาเก่าสุดที่ผ่านมา ก็จะเหมือนกับ MACD ที่ว่า Momentum นั้นยังคงสามารถที่จะใช้เป็นตัวชี้วัดในการติดตามเทรนใดๆได้ ซึ่ง สัญญาณซื้อจะเกิดขึ้นเมื่อตัวชี้วัดนั้นไปถึงล่างสุดของแนวโค้งลงและจากนั้นก็จะเริ่มปรับตัวขึ้นมา สัญญาณขายจะเกิดขึ้น เมื่อตัวชี้วัดนั้นไปถึงด้านบนสุดของแนวโค้งขึ้นและจากนั้นก็จะเริ่มปรับตัวลงมา ด้งตัวชี้วัดที่ผ่านมาที่มันสามารถที่จะใข้ได้ เมื่อความใกล้ของตลาดที่จะไปยังจุดสูงสุด/ต่าสุดที่จะตามมาด้วยการแกว่งตัวอย่างรุนแรงของตัวชี้วัดนั้นๆซึ่งจะตามมาด้วย การลดลงในค่าของตัวชี้วัดนั้นในขณะที่อัตราต่างๆนั้นก็ได้เริ่มที่จะขึ้น /ลง หรือเคลื่อนที่ในแนวระดับ อย่างในกรณีที่เกิด Divergence ขึ้นมานั่นเอง วิธีการใช้งาน: 1. เมื่อดัชนีชี้วัดนั้นไปถึงด้านล่างของแนวโค้งด้านล่างและเริ่มที่จะขึ้นนั่นเป็นสัญญาณซื้อ(Signal to buy) 2. เมื่อดัชนีชี้วัดนั้นไปถึงด้านบนของแนวโค้งด้านบนนั่นเป็นสัญญาณขาย(Signal to buy)
  • 22. การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008 Moving Average (ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่) ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ (Moving Average (MA)) นั้นเป็นตัวบ่งชี้ (Indicator) ที่แสดงให้เห็นถึงราคาเฉลี่ยภายในช่วงเวลา ที่ได้กาหนดเอาไว้ ซึ่งมีอยู่ 4 ประเภทของค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่: Simple MA, Exponential MA, Smoothed MA และ Weighted MA ซึ่งมันต่างกันในแต่อย่างเพียงแค่ในเทอมของน้าหนักของสัมประสิทธ์ (Weight Coefficients) ที่ได้กาหนดเอาไว้เป็น ข้อมูลล่าสุด ซึ่งค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่นั้นโดยส่วนมากแล้วจะถูกใช้ในการกาหนดพื้นที่ของแนวรับ (Support) และแนวต้าน (Resistance) ในการที่จะให้ความสาคัญในด้านทิศทางของแนวโน้มหนึ่งๆและเพื่อความเรียบของความผันผวนของปริมาณ และราคา ซึ่งทิศทางของตัวชี้วัดนั้นก็จะแสดงออกมาไม่ว่าจะเป็นแนวโน้ม Bullish หรือ Bearish ที่เป็นปัจจุบันในตลาดนั้นๆ ชั่วขณะหนึ่ง ซึ่งการตัดกันของชาร์ทตัวชี้วัดและราคานั้นจะเป็นการยืนยันที่ว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงของแนวโน้มหนึ่งๆ ซึ่งมัน ก็จะเป็นเพียงการยืนยันเพราะว่าการเปลี่ยนแปลงนั้นๆของตัวชี้วัดนี้ก็จะสายไปสาหรับการเปรียบเทียบกับการเปลี่ยนแปลง ของราคาหนึ่งๆได้ วิธีการใช้งาน: 1. เมื่อราคาสินค้าขึ้นไปสูงกว่า MA ของมัน นั่นเป็นสัญญาณซื้อ 2. เมื่อราคาหล่นไปอยู่ต่ากว่า MA ของมัน นั่นเป็นสัญญาณขาย 3. ทิศทางของ MA นั้นจะให้แนวความคิดไม่ว่าจะมีแนวโน้มBearish หรือแนวโน้ม Bullish ในตลาดหรือไม่ก็ตาม
  • 23. การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008 Parabolic SAR (พาราโบลิก เอสเออาร์) Parabolic SAR (stop-and-reversal) นั้นเป็นตัวชี้วัดที่ถูกใช้สาหรับการวิเคราะห์แนวโน้มของตลาด ซึ่งมันมีมากใน MA ทั่วไปแต่ไม่เหมือนกับ MA ที่ว่า Parabolic SAR นั้นจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่งที่สูงและอาจที่จะเปลี่ยนตาแหน่งของมัน ในเทอมต่างๆของราคา ซึ่งนี่คือตัวชี้วัดในอุดมคคิสาหรับการให้จุดออกจากตลาด(Exit Points) ซึ่ง Parabolic SAR นั้นส่วนมากจะถูกใช้ในตลาดที่มีแนวโน้มสาหรับการสร้างการปิดออเดอร์(closing orders) และในการทาหยุดการซื้อขาย(Trailing stop order) ซึ่งมันก็ยังคงถูกใช้สาหรับการกาหนดเทรนนั้นๆ: ถ้าพาราโบลานั้นไป อยู่ที่ต่ากว่าเส้นราคา ตลาดก็จะกลายเป็นBullish แต่ถ้าพาราโบลานั้นไปอยู่หนือเส้นราคาตลาดนั้นก็จะเป็นBearish วิธีการใช้งาน: 1. ตาแหน่งที่ยาวควรที่จะถูกปิดไปเมื่อราคานั้นหล่นไปต่ากว่าเส้นSAR 2. ตาแหน่งที่สั้นควรที่จะถูกปิดไปเมื่อราคานั้นพุ่งสูงกว่าเส้นSAR ซึ่งในแต่ละจุดของการกาหนดSAR นั้นจะเป็นระดับของการทาStop-Order สาหรับช่วงการซื้อขายในปัจจุบันและช่วงการ ซื้อขายที่ไม่เป็น (วัน, ชั่วโมง, ฯลฯ) หมายเหตุที่ว่า: ตัวชี้วัดนั้นจะใช้ได้เพียงแค่สาหรับตลาดที่มีแนวโน้มเท่านั้น ซึ่งมันไม่เป็นประโยชน์ในเฟสที่เป็น Sideways Phrases ต่างๆ
  • 24. การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008 Relative Strength Index (ดัชนีความแข็งแกร่งสัมพัทธ์) Relative Strength Index (RSI) นั้นเป็นราคาหนึ่งๆที่ตามOscillator ที่มีระยะระหว่าง 0 ถึง 100 ซึ่งมีอยู่ 3 โซนที่มี ความโดยสิ้นเชิงในชาร์ทของตัวชี้วัดนี้: ทางโซนด้านบนนั้นจะเป็นระยะ(Overbought) จาก 70 ถึง 100 และโซนด้านล่างจะ เป็นระยะ (Oversold) จาก 0 ถึง 30 ซึ่งจะกลางเป็นระยะ 30 ถึง 70 โดยที่ค่า RSI นั้นส่วนมากจะถูกใช้ในการซื้อขายรายวัน(Day trading) ในการหาสถานะของตลาด ไม่ว่าจะมันจะ เป็น Oversold, Overbought หรือ Stable ถ้ายอดบนของ RSI นั้นอยู่ในโซนด้านบน(Upper zone) (Overbought, >70) และจากนั้นก็กลับไปยังโซนกลาง โดยที่ราคาก็อาจจะเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน ถ้าด้านล่างของRSI นั้นอยู่ในโซนต่า (Oversold, <30) และจากนั้นก็จะกลับไปที่โซนกลาง โดยที่ราคาก็จะเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกัน วิธีการใช้งาน: 1. เมื่อยอดสูงสุดของ RSI นั้นอยู่ในโซน Overbought zone ราคาที่ถูกคาดไว้นั้นก็จะไปตามนั้น ซึ่งเป็นสัญญาณขาย 2. เมื่อยอดสูงสุดของ RSI นั้นอยู่ในโซน Oversold zone ราคาที่ถูกคาดเอาไว้ก็จะไปตามนั้น ซี่งเป็นสัญญาณซื้อ Divergence: เมื่อราคานั้นไปถึงจุดต่าสุด/สูงสุดใหม่แต่ยังไม่ได้รับการยืนยันจากค่าต่าสุด/สูงสุดใหม่แค่อย่างใด 3. บนชาร์ทค่า RSI ที่ Price Correction นั้นจะเกิดขึ้นตามทิศทางของRSI นั้นๆ หมายเหตุ: ในชาร์ท RSI นั้นระดับแนวรับ/แนวต้าน และรูปแบบ Reversal Patterns นั้นบางครั้งเห็นได้อย่างชัดเจนกว่าใน ชาร์ทราคา
  • 25. การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008 Standard Deviation (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard Deviation) นั้นเป็นการวัดทางสถิติของความผันผวน(Volatility) ซึ่งมัน โดยทั่วไปแล้วจะไม่ถูกใช้เป็นตัวบ่งชี้แยกออกมาแต่ว่าจะเป็นส่วนประกอบของตัวชี้วัดอื่นๆ ซึ่งส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานนั้นส่วนมากจะถูกใช้ในตลาดหุ้นในการทาการระบุระดับของความผันผวนของตลาดหุ้น ซึ่งตัวชี้วัดนี้ก็ยังคงถูกประยุกต์ใช้ในกองทุนรวม(Mutual Funds) ต่างซึ่งเป็นที่ๆมันแสดงให้เห็นถึงว่าจะมีเงินทุนคืนมาเท่าใด ที่เป็นการเบี่ยงเบนไปจากที่คาดการณ์เอาไว้ในการคืนเงินทุนในปกติ วิธีการในการใช้งาน: 1. ค่าของตัวชี้วัดนี้โดยทั่วไปแล้วจะสูงถ้าราคานั้นมีการเปลี่ยนเปลงอย่างทันทีทันใด 2. ถ้าค่าของตัวชี้วัดนี้ไม่สูงราคานั้นก็จะมีความเสถียร 3. ก่อนที่จะมีการขึ้น/ลงของราคาอย่างมีนัยสาคัญนั้นตัวชี้วัดโดยทั่วไปแล้วจะมีค่าที่ต่า
  • 26. การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008 Stochastic (สโตเคสติค) ตัวชี้วัด Stochastic นั้นเป็น Oscillator ที่ใช้ในการเปรียบเทียบที่ๆราคาสินทรัพย์ (Asset’s Price) นั้นปิดสัมพันธ์กับ ระยะราคาของมันไปเหนือระยะเวลาที่ให้ ซึ่งมันจะประกอบไปด้วยเส้นสองเส้น: เส้นหลักเรียกว่า %K (สีเขียว) และเส้นรอง เรียกว่า %D (สี Navy) ซึ่งในเส้นหลัก (%K) ความผันผวนต่างๆโดยทั่วไปนั้นจะมีความชัดเจนมากกว่าในเส้นรอง (%D) เพราะว่า %D นั้นเป็นเส้นค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ (Moving Average) ของเส้น %K ซึ่ง Stochastic Indicator นั้นได้ทาการวัดใน สเกลจาก 0% ไปจนถึง 100% โดยที่ Stochastic Oscillator นั้นส่วนมากจะถูกใช้ในตลาดที่มีแนวโน้ม ถ้าทั้งเส้น (%D และ %K) นั้นอยู่ด้านบน ของโซนบน (Upper zone) (เหนือเส้นกากับ 80%) และจากนั้นตัวชี้วัดก็กลับมายังโซนกลาง (Middle zone) ซึ่งอัตรานั้นๆก็ จะเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน ถ้าทั้งสองเส้นอยู่ที่ด้านล่างอยู่ในโซนต่า (Lower zone) (ต่ากว่า 20%) และจากนั้นตัวชี้วัดก็ จะกลับมายังโซนกลาง (Middle zone) ซึ่งอัตราก็จะเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน วิธีการใช้งาน: เมื่อเส้นหนึ่งๆของ Stochastic หล่นไปอยู่ต่ากว่า 20% และจากนั้นขึ้นไปอยู่เหนือระดับ (A) หรือเมื่อเส้น %K 1. นั้นขึ้นไปเหนือเส้น %D เส้น (B) มันก็เป็นสัญญาณซื้อ เมื่อเส้นหนึ่งๆของ Stochastic นั้นขึ้นไปเหนือ 80% และจากนั้นก็หลนลงมาใต้ระดับ (C) หรือขายเมื่อเส้น %K 2. นั้นหล่นต่ากว่าเส้น %D ซึ่งมันเป็นสัญญาณขาย Divergence: ถ้าอัตราในการสร้างอนุกรมของค่าต่าสุด/สูงสุดใหม่และ Oscillator นั้นไม่จากนั้นบางอัตรา 3. ถ้าความถูกต้อง (Correction) นั้นเป็นไปได้ในทิศทางของการเคลื่อนที่ของ Oscillator’s Movement
  • 27. การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008 Williams' Percent Range (วิเลียมเปอร์เซ็นต์เร้น) Williams' Percent Range (Williams %R, หรือ %R) เป็นตัวชี้วัดทางโมเมนตั้ม (Momentum Indicator) ที่ทาการ วัดระดับแรงซื้อมากเกินไป (Overbought) และระดับแรงขายมากเกินไป (Oversold) ที่แกว่งขึ้นๆลงๆระหว่าง 0 และ -100% เมื่อค่าไปถึง 0% มันก็จะหมายความว่าราคาปิดนั้นดูเหมือนว่าจะสูงไป ในทางกลับกันเมื่อค่าไปถึง -100 % มันหมายความ ว่าราคาปิดนั้นถือได้ว่าต่าไป โดยที่ค่า Williams %R นั้นโดยส่วนมากจะถูกใช้เป็นการบอกใบ้ถึงเงื่อนไขของตลาดในตลาดในการซื้อขายใดๆ ซึ่ง มันจะแสดงให้เห็นถึงการหันกลับของราคาสินค้าที่สาคัญแฝงอยู่ บ่อยครั้งที่ตัวชี้วัดนี้จะไปถึงจุดสูงสุดและจะหันกลับลงมา เล็กน้อยก่อนหน้าราคาสินค้านั้นๆ ก็เหมือนกับว่า %R จะไปถึงจุดต่าสุดและจะหันกลับขึ้นไปเล็กน้อยก่อนหน้าราคาสินค้า นั้นๆนั่นเอง วิธีการใช้งาน: 1. ถ้าค่าอ่านได้ใน ระยะ 0 ถึง -20 %: ตลาดนั้นมีแรงซื้อมากเกินไป (Overbought) ซึ่งมันสามารถถือได้ว่าเป็น สัญญาณขาย 2. ถ้าค่าอ่านได้ใน ระยะ -80 ถึง -100%: ตลาดนั้นมีแรงขายมากเกินไป (Oversold) ซึ่งมันสามารถถือได้ว่าเป็น สัญญาณซื้อ
  • 28. การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคด้วยโปรแกรม GCI Trader SOLVER INSTUITUTE © 2008 Note: แนะนาให้รอดูตัวชี้วัดทางราคาในการเปลี่ยนทิศทางก่อนที่จะทาการตัดสินใจทาการซื้อขายใดๆ อ้างอิง http://help.sysfx.com/documents/traders_manual/en_US/ “การลงทุนในความรู้คือการลงทุนที่คุ้มค่า” ท่านผู้สนใจสามารถเข้ารับอบรมกรวิเคราะห์การลงทุนขั้นสูง กับเราได้ที่ www.solverenterprise.com Tel.055341081, 0851188440 (ติดต่อ อ.นราธิป จารัส)