SlideShare a Scribd company logo
1 of 63
Download to read offline
จัดพอร์ตเชิงรุกด้วยกลยุทธ์แบบ
Momentum Trading
(ฉบับทดลองอ่าน)
By Investmentory
1
มาร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการเดินทางไปสู่ Financial Freedom ด้วยกัน
หรือจะแนะนาติชมเพื่อนาไปปรับปรุงกับเราได้ที่ Facebook
https://www.facebook.com/I2invest?ref=hl
By Investmentory 2
คาแนะนา
• เมื่อตลาดเป็นขาขึ้นมีวิธีใดบ้างที่สามารถทากาไรในตลาดหุ้นได้ พร้อม
อธิบายรูปแบบแนวโน้ม ที่สามารถใช้ในการเทรดในแต่ละรูปแบบเพื่อการทา
กาไรในตลาดขาขึ้นที่มีลักษณะเป็นรอบตาม momentum ของหุ้น
หมายเหตุ : เนื้อหาที่เขียนเป็นเพียงแนวทางในการศึกษาเท่านั้น ผู้อ่าน
ควรศึกษาเพิ่มเติมด้วยตนเองเพื่อเพิ่มความแม่นยาและความมั่นใจ
ของตนเอง
หุ้นที่กล่าวถึงในหนังสือนั้นมิได้เป็นการชี้นาในการซื้อ-ขายแต่อย่างใด
การลงทุนมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรศึกษาก่อนการตัดสินใจลงทุน
By Investmentory 3
ความหมายของการจัดพอร์ตเชิงรุก
• ผู้ลงทุนที่ใช้กลยุทธ์เชิงรุกในการบริหารพอร์ตมีความเชื่อว่า ตลาดนั้น
เป็นตลาดแบบไม่มีประสิทธิภาพ(inefficient market) ฉะนั้น
ในตลาดจึงยังมีหุ้นที่ราคายังต่ากว่ามูลค่าที่แท้จริง(Undervalued
Stock)ซึ่งผู้ลงทุนมีเป้ าหมายในการสร้างผลตอบแทนที่มากกว่าตลาด
• ผู้ลงทุนที่ใช้กลยุทธ์เชิงรุกนี้จึงต้องใช้การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน
(Fundamental Analysis)ในการเลือกหุ้นที่คาดว่าราคาใน
ตลาดยังต่ากว่ามูลค่าที่แท้จริง ควบคู่ไปกับการวิเคราะห์ปัจจัยทาง
เทคนิค(Technical Analysis) เพื่อหาจังหวะเวลาที่เหมาะสมใน
การลงทุนในหุ้น
By Investmentory 4
ความหมายของ Momentum Trading
• Momentum Trading มีเป้ าหมายที่จะทากาไรจากแนวโน้มที่
เกิดขึ้น ซึ่งกลยุทธ์ Momentum Trading มีความเชื่อว่า
แนวโน้มดังกล่าวจะเคลื่อนที่ไปในทิศทางนั้นไปสักระยะหนึ่ง เนื่องจาก
แนวโน้มที่เกิดขึ้นนั้นยังมีแรงกระตุ้นที่ทาให้ราคาหุ้นเคลื่อนที่ไปใน
ทิศทางนั้นได้
• จากความหมายของ Momentum Trading อาจสรุปได้ว่าแรง
กระตุ้นที่ทาให้ราคาหุ้นเคลื่อนที่ ก็คือ แรงซื้อ-แรงขาย นั่นเอง ซึ่งถ้า
หากเราสามารถเลือกหุ้นถูกตัว(ที่ยังมีมูลค่าต่ากว่าที่ควรจะเป็น)และ
เข้า-ออกได้ถูกจังหวะก็จะสามารถทากาไรจากตลาดหุ้นได้
By Investmentory 5
แนวคิดเพื่อการลงมือปฏิบัติ
• จากความหมายของ การจัดพอร์ตเชิงรุก และ Momentum
Trading ดูเหมือนจะมีความหมายใกล้เคียงกัน ฉะนั้นเมื่อนาทั้งสอง
มารวมกัน ในทางปฏิบัติก็คือ เราจะต้องหาหุ้นที่มีพื้นฐานดีและมีการ
เติบโตในอนาคตพร้อมทั้งคาดการณ์ว่า หุ้นดังกล่าวควรจะมีมูลค่าเป็น
เท่าใด(ควรเพิ่มขึ้นจากปีก่อน)ซึ่งเราอาจใช้บทวิเคราะห์จากหลายๆ
บริษัทหลักทรัพย์ทั้งในและต่างประเทศในการช่วยค้นหาได้เพื่อลด
ระยะเวลาลงหรืออาจจะวิเคราะห์และคาดการณ์เองก็ได้
• จากนั้นก็นามาวิเคราะห์ทางเทคนิคเพื่อการหาจังหวะซื้อ-ขาย
By Investmentory 6
ตัวอย่างการหาหุ้นเข้า Watch List เบื้องต้น
• ตัวอย่างเช่นในปี 2554 หุ้น BGH เป็นหุ้นใน Sector Health
By Investmentory 7
ปี 2553 ปี 2554
Equity
(ส่วนของผู้ถือหุ้น)
15,634.49 ล้านบาท 31,995.19 ล้านบาท
Debt Equity Ratio
(หนี้สินต่อส่วนทุน)
1.02 เท่า 0.79 เท่า
Revenue
(ยอดขาย)
24,350.96 ล้านบาท 37,752.98 ล้านบาท
Net Profit
(กาไรสุทธิ)
2,295.06 ล้านบาท 4,385.99 ล้านบาท
Net Profit Margin
(อัตรากาไรสุทธิ)
9.42% 11.62%
EPS
(กาไรต่อหุ้น)
1.88 บาท/หุ้น 3.00 บาท/หุ้น
• จากตัวอย่างจะเห็นได้ว่า ส่วนของผู้ถือหุ้น(Equity) เพิ่มขึ้น, D/E
Ratio ลดลงแสดงว่าบริษัทมีหนี้สินต่อส่วนทุนลดลง, Revenue,
Net Profit เพิ่มขึ้น แสดงว่าบริษัทมีรายได้เพิ่มมากขึ้นจากปีก่อน ,
Net Profit Margin เพิ่มขึ้น แสดงว่าบริษัทสามารถควบคุม
ค่าใช้จ่ายได้ดีขึ้น, EPS ของหุ้น BGH มีการเติบโตอย่างมาก ส่งผล
ให้มูลค่าของหุ้นเพิ่มขึ้นจากปีก่อน และ BGH เป็นธุรกิจโรงพยาบาล
หากวิเคราะห์เชิงคุณภาพจะเห็นว่าเป็นธุรกิจที่ค่อนข้างมีความมั่นคง
และประเทศไทยยังเป็นหนึ่งในศูนย์กลางทางการแพทย์ในเอเชียและใน
ปี 2554 ยังมีการซื้อกิจการ(M&A)โรงพยาบาลอื่นอีกด้วย
การวิเคราะห์ดังกล่าวเป็นเพียงตัวอย่างเท่านั้น ผู้อ่านควรศึกษาการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานของหุ้น
เพิ่มเติมเพื่อเพิ่มความแม่นยาในการเลือกหุ้นด้วยตนเองด้วย
By Investmentory 8
• ซึ่งในวันที่ 4/1/54 หากเราลงทุนซื้อราคาปิดอยู่ที่ 48.75 บาท ณ
วันที่ 30/12/54 ราคาอยู่ที่ 85 บาท ผลตอบแทนจากส่วนต่างอยู่
ประมาณ 68% ในขณะที่ SET Index ในระยะเวลาเดียวกันให้
ผลตอบแทนจากส่วนต่างที่ประมาณ -1.6% จะเห็นได้ว่าผลตอบแทน
ที่ได้มากกว่าตลาดและความสัมพันธ์ของหุ้น BGH กับ SET Index
มิได้มีความสัมพันธ์กันแต่อย่างใด แสดงว่าสิ่งที่สาคัญในการลงทุนใน
หุ้นคือ การคัดเลือกหุ้น(Stock Selection) นั่นเอง
การวิเคราะห์ดังกล่าวเป็นเพียงตัวอย่างเท่านั้น ผู้อ่าควรศึกษาการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานของหุ้นเพิ่มเติมเพื่อ
เพิ่มความแม่นยาในการเลือกหุ้นด้วยตนเองด้วย
By Investmentory 9
• จากที่กล่าวมานั้นจะเห็นได้ว่าการวิเคราะห์ด้วยปัจจัยพื้นฐานนั้นจะช่วย
ให้เราเลือกหุ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ในทางปฏิบัติถ้าหาก
จุดที่เราเข้าซื้อไม่ใช่จุดที่ดีที่สุด (ในมุมมองของการวิเคราะห์ด้วย
ปัจจัยพื้นฐาน) แต่หุ้นที่เราเลือกมานั้นเป็นหุ้นที่ดี(มีโอกาสที่ราคาจะ
ปรับตัวสูงขึ้น) แล้วเราจะทาอย่างไร หรือ เราคัดเลือกหุ้นที่ดีแล้วจะรู้ได้
อย่างไรว่าควรจะเข้าซื้อตอนไหน
• สาหรับวิธีแก้ปัญหาเหล่านั้นคือ การวิเคราะห์จังหวะการลงทุนด้วย
ปัจจัยทางเทคนิค การวิเคราะห์ทางเทคนิคมีวิธีการมากมายตามแต่
กลยุทธ์ของผู้คิด แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะการวิเคราะห์ทางเทคนิคที่
จะนาไปใช้ในกลยุทธ์ momentum เท่านั้น
By Investmentory 10
การวิเคราะห์หุ้นด้วยปัจจัยทางเทคนิค
• องค์ประกอบที่ใช้ในการวิเคราะห์ทางเทคนิคมีด้วยกัน 3 ส่วนใหญ่
• ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์หุ้นด้วยปัจจัยทางเทคนิคนั้นมีด้วยกัน 3
อย่าง คือ ราคา, เวลา, และปริมาณซื้อขาย
• การวิเคราะห์ทางเทคนิคนี้ใช้หลักการของสถิติและความน่าจะเป็น
เป็นพื้นฐานของแนวความคิด
• จิตวิทยาในการลงทุนโดยมีความเชื่อหลัก 3 ประการ
– ราคาเป็นผลรวมที่สะท้อนปัจจัยต่างๆไว้แล้ว
– ราคาจะเคลื่อนที่ไปตามแนวโน้ม ณ ช่วงเวลาหนึ่งๆ
– พฤติกรรมการลงทุนของนักลงทุนทั่วไปจะซ้าเดิม
By Investmentory 11
• โดยในการวิเคราะห์ทางเทคนิคที่ในที่นี้จะกล่าวนั้นจะเป็นการวิเคราะห์
กราฟแท่งเทียน และการใช้ดัชนีบ่งชี้(indicator) เพื่อเป็นตัวแทน
ของตลาด(ในด้านราคาเท่านั้น) ใช้สาหรับจับจังหวะการลงทุนหลังจาก
ที่เราได้เลือกหุ้นที่จะลงทุนด้วยปัจจัยพื้นฐานมาแล้ว
• ซึ่งองค์ประกอบที่ใช้ในการวิเคราะห์จะมีด้วยกัน 2 ส่วนคือ
– ส่วนที่เป็นกราฟแท่งเทียน(candlesticks)
– ส่วนที่เป็นดัชนีบ่งชี้(indicator) เช่น ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่(Moving
Average), MACD, Stochastic Oscillator, RSI
– ซึ่งชื่อแปลกๆนี้ที่กล่าวมานี้เป็นชื่อของ indicator ที่ใช้เท่านั้น โดยจะ
กล่าวถึงในส่วนถัดไป เพื่อให้เข้าใจลักษณะและการใช้งานเบื้องต้นของ
indicatorเหล่านี้
By Investmentory 12
• ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่(Moving Average)
ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่เป็นการคานวณหาค่าเฉลี่ยราคาหุ้นหรือค่าเฉลี่ยของ
ดัชนีบ่งชี้(indicator) ในช่วงเวลาหนึ่งๆ ในขณะที่วันต่อมาราคาหุ้น
ได้เปลี่ยนแปลงไปค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่นี้ก็จะเปลี่ยนแปลงขึ้น-ลงตามไป
ด้วย แต่ด้วยอัตราที่ช้ากว่า เพราะต้องเฉลี่ยค่าเก่าในอดีต
ค่าเฉลี่ยนี้อาจใช้ข้อมูลจากราคาปิด ราคาเปิด ราคาสูงสุด ราคาต่าสุด
หรืออาจนาดัชนีบ่งชี้มาคานวณก็ได้ ซึ่งในที่นี้จะใช้ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่
แบบเอ็กโปเน็นเชียล(Exponential Moving Average)
โดยใช้ระยะ 20 วัน และ 50 วัน (EMA20 และ EMA50)
• ประเภทของดัชนี : ใช้บอกแนวโน้มของราคาหุ้น
• สัญญาณซื้อ-ขาย: ซื้อเมื่อ EMA20 ตัด EMA50 ในทิศขึ้น และ
ขายเมื่อ EMA20 ตัด EMA50 ในทิศลง
By Investmentory 13
• Trend indicator
เส้นสีน้าเงิน = EMA20 เส้นสีแดง = EMA50
By Investmentory 14
• Moving Average Convergence &
Divergence(MACD)
MACD ใช้ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ตรวจสอบกาลังของทิศทางมีกาลังมากน้อย
เพียงใด
• ประเภทของดัชนี : ใช้บอกแนวโน้ม และ momentum ของราคาหุ้น
และสามารถดูการทา Divergence ของราคาหุ้นได้
• สัญญาณซื้อ-ขายระยะสั้น สาหรับระยะกลางจะใช้การตัดศูนย์ ขึ้น-ลง
– ซื้อ เมื่อ MACD ตัดขึ้นเหนือเส้นค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 9 วันของตัวมันเอง
– ขาย เมื่อ MACD ตัดลงมาใต้เส้นค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 9 วันของตัวมันเอง
By Investmentory 15
• Trend & Momentum indicator
เส้นสีเหลือง = MACD เส้นสีฟ้ า = เส้นค่าเฉลี่ย 9 วันของ MACD
By Investmentory 16
• Stochastic Oscillator
Stochastic Oscillator เป็นตัวเปรียบเทียบให้เรารู้ว่า ราคาปิด
ของหุ้นอยู่ในสภาพใดเมื่อเทียบกับราคาในช่วงที่เราทาการศึกษา เช่น
ค่อนข้างสูงหรือค่อนข้างต่า สามารถบอก momentum และ
Divergence ของหุ้นได้ และยังสามารถบอกได้ว่า ราคาหุ้นอยู่ใน
เขต Overbought/Oversold ได้คล้ายกับ RSI แต่จะใช้ได้ดี
กับหุ้นที่เคลื่อนที่แบบ Sideway
• สัญญาณซื้อ เมื่อ Oscillator ตกลงมาต่ากว่า 20(Oversold)
และสามารถดีดกลับขึ้นไปได้ หรือ ซื้อเมื่อเส้น %K ตัดเหนือเส้น %D
• สัญญาณขาย ให้ทาตรงข้ามจากที่จุด Overbought(>80)
By Investmentory 17
• Overbought/Oversold, Momentum,
Divergence indicator
By Investmentory 18
• Relative Strength Index(RSI)
เป็นเครื่องมือหรือดัชนีบ่งชี้(indicator) Price Following
Oscillator ที่มีค่าอยู่ระหว่าง 0-100 และสามารถบอกภาวะตลาด
หรือราคาของหุ้นได้ว่าอยู่ในภาวะ Overbought(ซื้อมากเกินไป) หรือ
Oversold(ขายมากเกินไป) โดย
- ถ้า RSI มากกว่า 70 จะเข้าเขต Overbought (อาจเกิด
แรงขายทาให้ราคาหุ้นตกลงมาได้)
- ถ้า RSI น้อยกว่า 30 จะเข้าเขต Oversold (อาจเกิดการซื้อ
กลับทาให้ราคาวิ่งขึ้นได้)
• ประเภทของเครื่องมือ : บอก Overbought, Oversold,
Momentum และ สัญญาณ Divergence ของหุ้น
By Investmentory 19
• Overbought/Oversold, Momentum &
Divergence indicator
By Investmentory 20
รูปแบบของแนวโน้มที่ใช้เทรดแบบ Momentum
• Bullish Strongly Trending
• Bullish Weakly Trending
• Sideway
By Investmentory 21
Bullish Strong Trend
• EMA(20) อยู่เหนือเส้น EMA(50)
• ทั้ง EMA(20) และ EMA(50) มี slope เป็นบวก (ชี้ขึ้นทั้งคู่)
• ระยะห่างระหว่างเส้นทั้งสองกว้าง หรือ ห่างจากกัน
• เมื่อเกิดการ Pullbacks กราฟแท่งเทียนจะลงมาที่เส้น EMA(20)
หรือลงอย่างมากระหว่างเส้นทั้งสอง จะไม่ถึงเส้น EMA(50)
By Investmentory 22
ตัวอย่างกราฟ Bullish Strong trend
By Investmentory 23
• ลักษณะ : จากภาพตัวอย่างแสดงลักษณะของแนวโน้มขาขึ้นที่
แข็งแกร่ง(Bullish Strong Trend) สังเกตได้จาก เส้นค่าเฉลี่ย
เคลื่อนที่ EMA20(เส้นสีน้าเงิน) ตัดขึ้นเหนือ EMA50(เส้นสีแดง)
และเส้นค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ทั้งสอง ยังมีความชัน(Slope) เป็นบวก หรือ
ชี้ขึ้นไปในทิศทางเดียวกัน และระยะห่างระหว่างเส้นทั้งสองนั้นมากขึ้น
รวมทั้งราคาหุ้นที่ตกลงมาไม่หลุดแนวรับ EMA20 หรือไปไม่ถึงเส้น
EMA50
By Investmentory 24
Bullish Weak Trend
• EMA(20) อยู่เหนือเส้น EMA(50) โดยส่วนใหญ่
• EMA(50) มี slope เป็น + (ชี้ขึ้น) แต่ EMA(20) ไม่
จาเป็นต้องมี Slope เป็น +
• ระยะห่างระหว่างเส้นทั้งสอง หรือ ความห่างไม่แน่นอน
• เมื่อเกิดการ Pullbacks กราฟแท่งเทียนจะลงมาที่เส้น EMA(50)
หรือลงมากกว่าเส้น EMA(50) ได้
By Investmentory 25
ตัวอย่างกราฟ Bullish Weak Trend
By Investmentory 26
• ลักษณะ : จากภาพตัวอย่างแสดงลักษณะของแนวโน้มขาขึ้นที่อ่อนแอ
(Bullish Weak Trend) สังเกตได้จาก เส้นค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่
EMA20(เส้นสีน้าเงิน) ตัดขึ้นเหนือ EMA50(เส้นสีแดง) และเส้น
ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ทั้งสอง แต่ระยะห่างระหว่างเส้นค่าเฉลี่ยทั้งสองมี
ระยะห่างกันไม่มากหรือมีแนวโน้มที่จะห่างกันน้อยลงและราคาหุ้นที่ตก
ลงมาหลุดแนวรับ EMA20 หรือไปถึงเส้น EMA50 หรือหลุดเส้น
EMA50 เล็กน้อย
By Investmentory 27
Sideway
• เส้น EMA(20) อยู่ทั้งบนและล่างของ EMA(50)
• EMA(50) ไร้แนวโน้ม โดยเส้น EMA(20) จะมีทิศทางไม่แน่นอน
• ระยะห่างระหว่าง EMA(20) และ EMA(50) ไม่แน่นอน
• การเคลื่อนของแท่งเทียนจะวิ่งทะลุทั้งสองเส้นไปมา
By Investmentory 28
ตัวอย่างกราฟ Sideway
By Investmentory 29
• ลักษณะ : จากภาพตัวอย่างแสดงลักษณะไร้แนวโน้ม (Sideway)
สังเกตได้จาก เส้นค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ EMA20(เส้นสีน้าเงิน) ไม่ได้ตัด
EMA50(เส้นสีแดง)อย่างชัดเจน แต่เป็นลักษณะเคลื่อนที่ขึ้น-ลง
ราคาหุ้นที่มีลักษณะไร้แนวโน้มจึงเคลื่อนที่ขึ้น-ลงตามลักษณะของเส้น
ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ดังกล่าวด้วย
By Investmentory 30
รูปแบบราคา(Price Pattern)ที่ควรรู้จัก
• แม้ว่าราคาหุ้นจะเคลื่อนที่ไปตามแนวโน้ม แต่ก็ควรจะติดตามว่าเมื่อใด
แนวโน้มของราคาหุ้นนั้นจะเปลี่ยนไป เครื่องมือที่จะบอกเราได้นั้นคือ
การใช้รูปแบบราคา(Price Pattern)ซึ่งแบ่งได้ 2 ประเภท
1.รูปแบบที่แสดงการกลับทิศของแนวโน้มของราคา
2.รูปแบบที่แสดงความต่อเนื่องของราคา
ซึ่งรูปแบบราคาในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะรูปแบบที่แสดงความต่อเนื่อง
By Investmentory 31
Bullish Flag
• รูปแบบธงขาขึ้น(Bullish Flag)
By Investmentory 32
• รูปแบบธงขาขึ้น (Bullish Flag) เป็นการพักตัวของราคาหลังจาก
การปรับตัวขึ้นมามากและรวดเร็วเหมือนเป็นเสาธง ช่วงที่ราคาพักตัวนี้
จะมีปริมาณการซื้อขายลดลง แล้วจะเพิ่มมากขึ้นเมื่อราคาทะลุแนวต้าน
ขึ้นไปได้(ขอบบนของธง) แนวโน้มราคาจะปรับตัวขึ้นต่อเนื่องไปตาม
แนวโน้มเดิม
By Investmentory 33
Bull Pennant
• รูปแบบชายธงขาขึ้น(Bullish Pennant)
By Investmentory 34
• รูปแบบชายธงขาขึ้น(Bullish Pennant) เป็นการพักตัวของราคา
หลังจากปรับตัวขึ้นมามากและรวดเร็วเหมือนเป็นเสาธง ช่วงที่ราคาพัก
ตัวนี้จะมีปริมาณซื้อขายลดลง แล้วจะเพิ่มมากขึ้นเมื่อราคาทะลุแนว
ต้านขึ้นไปได้(ขอบบนของชายธง) แนวโน้มราคาจะปรับตัวขึ้นต่อเนื่อง
ไปตามแนวโน้มเดิม
By Investmentory 35
Symmetrical Triangle
• รูปแบบสามเหลี่ยมแบบสมมาตร(Symmetrical Triangle)
By Investmentory 36
• รูปแบบสามเหลี่ยมแบบสมมาตร(Symmetrical Triangle)
เป็นรูปแบบที่เกิดจากการปรับฐานชั่วคราวแล้วจึงจะเคลื่อนที่ไปใน
แนวโน้มเดิม ราคาในช่วงนี้จะมีความสมดุลและปริมาณการซื้อขายก็จะ
น้อยมากๆ จนในที่สุดราคาจะทะลุแนวต้านขึ้นไปได้ด้วยปริมาณการซื้อ
ขายที่มากในแนวโน้มขาขึ้น
By Investmentory 37
รูปแบบแท่งเทียนที่ควรรู้จัก
• แผนภูมิแท่งเทียน(Candlesticks)
แผนภูมิแท่งเทียนได้ถูกพัฒนาขึ้นโดยชาวญี่ปุ่นมาตั้งแต่ ค.ศ.1600
เพื่อนามาคาดคะเนราคาพืชผลทางการเกษตร โดยข้อมูลในกราฟแท่ง
เทียนจะประกอบด้วย ราคาเปิด ราคาปิด ราคาสูงสุด และราคาต่าสุด
By Investmentory 38
ราคาสูงสุด
ราคาปิด
ราคาเปิด
ราคาต่าสุด
รูปแบบแท่งเทียนที่แสดงภาวะกระทิง
• รูปแบบกราฟแท่งเทียนที่แสดงภาวะกระทิงแสดงถึงจุดกลับทิศทางจาก
แนวโน้มขาลงเป็นแนวโน้มขาขึ้น โดยจะใช้ได้ดีเมื่อ Indicator(ดัชนี
บ่งชี้) อยู่ในเขต Oversold(แรงขายมากเกินไป) ซึ่งมักจะเป็นจุด
ต่าสุดของช่วงนั้น ซึ่งรูปแบบแท่งเทียนดังกล่าวแสดงความน่าจะเป็นใน
การกลับทิศ ซึ่งมี 3 รูปแบบ ได้แก่
• รูปแบบที่แสดงการกลับทิศจากขาลงเป็นขาขึ้น
• รูปแบบที่แสดงการกลับทิศเป็นจากขาขึ้นขาลง
• รูปแบบที่แสดงความต่อเนื่องของทิศทางแนวโน้มที่เป็นอยู่
ซึ่งในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะรูปแบบกลับทิศจากขาลงเป็นขาขึ้น
กับแสดงความต่อเนื่องของทิศทางแนวโน้มที่เป็นอยู่
By Investmentory 39
Big White
• ลักษณะ : แท่งยาวสีเขียว มีช่วงระหว่างจุดต่าสุดและสูงสุดห่างกันมาก
• แสดงถึง : พลังของแรงซื้อ โดยราคาเปิดอยู่ใกล้จุดต่าสุดและราคาปิด
อยู่ใกล้จุดสูงสุด
By Investmentory 40
Long Lower Shadow
• ลักษณะ : แท่งสีเขียว หรือ สีแดงขนาดเล็ก มีเงาด้านล่างโดยมีความ
ยาวของเงา 2/3 หรือมากกว่าเมื่อเทียบกับความยาวของแท่ง
• แสดงถึง : รูปแบบภาวะกระทิงเมื่อราคาลงมาถึงแนวรับ(Support)
By Investmentory 41
Hammer
• ลักษณะ : เมื่อราคาต่าลงจนเป็นแท่งเดียวสีเขียว หรือ สีแดง มีขนาด
เล็กอยู่ใกล้ราคาสูงสุด มีเงายาวลงมาก แต่เงาข้างบนมีหรือไม่มีก็ได้ มัก
พบใกล้จุดต่าสุดของช่วงนั้นๆ
• แสดงถึง : การกลับทิศจากขาลงเป็นขาขึ้น เมื่อ indicator อยู่ใน
เขต OverSold
By Investmentory 42
Bullish Harami
• ลักษณะ : แท่งสีเขียวเล็ก อยู่ถัดจากแท่งสีแดงใหญ่
• แสดงถึง : รูปแบบที่น่าจะกลับตัวจากขาลงเป็นขาขึ้น โดยเฉพาะเมื่อ
indicator อยู่ในเขต Oversold
By Investmentory 43
Bullish Harami Cross
• ลักษณะ : แท่ง Doji เล็กๆ อยู่ถัดจากแท่งสีแดงใหญ่
• แสดงถึง : รูปแบบที่น่าจะกลับตัวจากขาลงเป็นขาขึ้น โดยเฉพาะเมื่อ
indicator อยู่ในเขต Oversold
By Investmentory 44
Piercing Line
• ลักษณะ : แท่งสีแดง ตามด้วยแท่งสีเขียวที่มีราคาเปิดต่ากว่าจุดต่าสุด
ของแท่งสีแดง แต่สามารถทาราคาปิดได้สูงกว่าจุดกึ่งกลางของแท่งสีแดง
• แสดงถึง : การกลับทิศจากขาลงเป็นขาขึ้น โดยเฉพาะเมื่อ indicator
อยู่ในเขต Oversold
By Investmentory 45
Engulfing Bullish Line
• ลักษณะ : แท่งสีแดงขนาดเล็ก ตามด้วยแท่งสีเขียวขนาดใหญ่ที่มีจุด
ต่าสุดต่ากว่าแท่งสีแดง และจุดสูงสุดสูงกว่าแท่งสีแดง
• แสดงถึง : การกลับทิศจากขาลงเป็นขาขึ้น โดยเฉพาะเมื่อ
indicator อยู่ในเขต Oversold จะเห็นสัญญาณที่ขึ้นแรง
ถ้ามี Volume หนาแน่น โดยจะเกิดหลังการตกต่าของหุ้น
By Investmentory 46
Morning Star
• ลักษณะ : แท่งสีแดงขนาดใหญ่ตามด้วยแท่งสีแดงหรือสีเขียว ขนาด
เล็ก และแท่งสุดท้ายเป็นแท่งสีเขียวขนาดใหญ่ที่มีราคาปิดสูงกว่าจุด
กึ่งกลางของแท่งสีแดง
• แสดงถึง : การกลับทิศจากขาลงเป็นขาขึ้น โดยเฉพาะเมื่อ
indicator อยู่ในเขต Oversold
By Investmentory 47
Morning Doji Star
• ลักษณะ : แท่งสีแดงขนาดใหญ่ ตามด้วย Doji ส่วนแท่งสุดท้ายเป็น
สีเขียวขนาดใหญ่ที่มีราคาสูงกว่าจุดกึ่งกลางของแท่งสีแดง
• แสดงถึง : การกลับทิศจากขาลงเป็นขาขึ้น โดยเฉพาะเมื่อ
indicator อยู่ในเขต Oversold ซึ่ง Doji จะแสดงภาวะกระทิง
มากกว่า Morning Star ทั่วไป
By Investmentory 48
Three White Soilders
• ลักษณะ : เป็นแท่งเขียวสามแท่งติดต่อกัน มีราคาปิดสูงขึ้นทุกวันและ
ปิดใกล้จุดสูงสุด
• แสดงถึง : การกลับทิศจากขาลงเป็นขาขึ้น
By Investmentory 49
รูปแบบแท่งเทียนที่แสดงความต่อเนื่องแนวโน้มขาขึ้น
• เป็นรูปแบบของแท่งเทียนที่แสดงความน่าจะเป็นที่ราคาจะวิ่งไปใน
แนวโน้มดังกล่าวอีกสักระยะหนึ่ง โดยรูปแบบแท่งเทียนที่แสดงถึงความ
ต่อเนื่องของแนวโน้มนั้น จะไม่เหมือนกับรูปแบบของแท่งเทียนที่แสดง
การกลับทิศจากขาลงเป็นขาขึ้น เพราะไม่มีการบ่งชี้ของดัชนี อื่นๆมา
เกี่ยวข้องด้วยในการพิจารณา
By Investmentory 50
Bullish 3 Method Formation
• ลักษณะ : เป็นแท่งยาวสีเขียวตามด้วยแท่งสีแดงขนาดเล็กๆ 3 แท่ง
จานวน 3 วัน และต่อด้วยแท่งยาวสีเขียว ซึ่งแท่งแดงขนาดเล็ก 3 แท่ง
หมายถึง 3 วันจะอยู่ไม่เกินช่วงสูงสุดและต่าสุดของแท่งยาวสีเขียววันแรก
• แสดงถึง : รูปแบบที่น่าจะขึ้นอย่างต่อเนื่องในแนวโน้มขาขึ้น
By Investmentory 51
Tweezer Bottom
• ลักษณะ : แท่งสองแท่งหรือมากกว่าที่มี Bottom เท่ากัน ขนาด สี
หรือชนิด เป็นอย่างไรก็ได้
• แสดงถึง : สัญญาณการกลับทิศขึ้นย่อยๆ
By Investmentory 52
รูปแบบการเทรด (Trading Pattern)
• หลังจากที่ได้ศึกษาองค์ประกอบที่ใช้ในการวิเคราะห์ทางเทคนิคแล้ว ไม่
ว่าจะเป็น ดัชนีบ่งชี้ต่างๆ(Indicator), รูปแบบราคา(Price
Pattern), แนวโน้ม(Trend) และรูปแบบแท่งเทียน
(Candlesticks Pattern) จากนี้จะเป็นการนาความรู้ต่างๆมา
สร้างเป็นรูปแบบการเทรดหรือการลงทุนในหุ้น เพื่อสร้างผลตอบแทน
ให้กับเรา ซึ่งรูปแบบการเทรด(Trading Pattern) นี้สามารถนาไป
ประยุกต์ใช้ได้กับหุ้นหลายๆ ตัวในตลาด หรือแม้กระทั่งสามารถนา
แนวคิดไปประยุกต์ใช้กับตลาดอื่นได้ ซึ่งในที่นี้จะขอกล่าวถึงรูปแบบเทรด
เพียง 3 แบบ ได้แก่ รูปแบบ Pullback, รูปแบบ Price Pattern
และรูปแบบ Bullish Divergence ซึ่งเป็นรูปแบบที่เข้าใจและ
ประยุกต์ใช้ได้ง่ายอีกด้วย
By Investmentory 53
รูปแบบ Pullback
• ใช้กับ Bullish strong trend และ Bullish Weak trend
markets
• Characteristic of Pullback
– ควรบอกได้ว่าหุ้นนั้นเป็นขาขึ้น(แข็งแกร่ง,อ่อนแอ) และถ้าเกิดที่เส้น
EMA(20) จะดี
– STO. ควรอยู่ในเขต Oversold และมีการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว
– แท่งเทียนควรมีรูปแบบที่แสดงถึงการเป็นขาขึ้นหรือการกลับทิศ เช่น
hammer, engulfing, piercing, or doji เป็นต้น
– ถ้าแท่งเทียนยังคงแสดงรูปแบบ Bearish ควรรอดูต่อไปก่อนจนแน่ใจ
By Investmentory 54
ตัวอย่างกราฟ Pullback พร้อมสัญญาณซื้อ
By Investmentory 55
• จากภาพจะเห็นได้ว่า หุ้นดังกล่าวมีแนวโน้มเป็นขาขึ้นที่แข็งแกร่ง
(Bullish Storng Trend) สังเกตได้จากราคาหุ้นลงมาที่แนวรับ
เส้นค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ EMA20(เส้นสีน้าเงิน) เท่านั้น จากนั้นราคาก็
เด้งขึ้นกลับไปตามแนวโน้มเดิม ซึ่งมีดัชนีบ่งชี้(Indicator)
Stochastic oscillator บ่งชี้ว่า ณ จุดดังกล่าวเกิดสภาวะ
Oversold(ขายมากเกินไป) ประกอบกับหุ้นตัวดังกล่าวเมื่อวิเคราะห์
ด้วยปัจจัยพื้นฐานแล้วเป็นหุ้นที่เติบโตและมีพื้นฐานที่ดี ซึ่งลักษณะ
ดังกล่าวนี้เป็นลักษณะของรูปแบบการเทรดแบบ Pullback
• จุดซื้อ : บริเวณที่ Stochastic เกิดการกลับตัว(วงกลมสีเหลือง)
รูปแบบเทรดที่กล่าวมาเป็นเพียงแนวทางในการศึกษาที่อยู่บนพื้นฐานของความน่าจะเป็น มิได้ต้องเกิดขึ้นเสมอ ผู้ศึกษา
ต้องศึกษาหลายๆองค์ประกอบในการตัดสินในลงทุนเพิ่มเติมด้วย
By Investmentory 56
รูปแบบ Price Pattern
• ใช้กับ Bullish strong trend, Bullish Weak trend,
และ Sideway
• ซึ่ง Price Pattern ที่ควรรู้จักได้แก่ bull flag, bull
pennant, และ symmetical triangle pattern
• Characteristic of Continuation Price Pattern
– ต้องค้นหาหุ้นที่เป็นขาขึ้น(แข็งแกร่ง,อ่อนแอ) และควรเกิด new high
ภายในระยะเวลาอย่างน้อย 3 เดือน
– ลากเส้น trend line โดยลากให้เกิดเป็นรูปแบบราคา(Price
Pattern) ซึ่งแท่งเทียนไม่ควรหลุด EMA(50)
– จุดซื้อคือราคาทะลุเส้น trend line ขึ้นไป สาหรับ sideway ให้เล่นใน
กรอบ trend line ที่ลากไว้ หรือ เล่นในกรอบ price pattern
By Investmentory 57
ตัวอย่างกราฟ Price Pattern พร้อมสัญญาณซื้อ
By Investmentory 58
• ลักษณะ : จากภาพตัวอย่างจะเห็นได้ว่าราคาของหุ้นมีแนวโน้มเป็นขา
ขึ้นที่อ่อนแอ สังเกตได้จากราคาหุ้นลงมาที่แนวรับ เส้น EMA50 (เส้น
สีแดง) โดยราคาหุ้นวิ่งอยู่ในกรอบเส้นขนานสีฟ้ าสองเส้นที่เป็นรูปแบบ
ของ Bull Flag ซึ่งลักษณะดังกล่าว เป็นรูปแบบของรูปแบบการเทรด
ที่ใช้รูปแบบของราคา(Price Pattern)มากาหนดจุดซื้อ-ขายของ
หุ้นนั้น
• จุดซื้อ : บริเวณแนวรับของรูปแบบราคา โดยบริเวณดังกล่าวควรมี
สัญญาณซื้อของดัชนีบ่งชี้(Indicator) ด้วย
รูปแบบเทรดที่กล่าวมาเป็นเพียงแนวทางในการศึกษาที่อยู่บนพื้นฐานของความน่าจะเป็น มิได้ต้องเกิดขึ้นเสมอ ผู้ศึกษา
ต้องศึกษาหลายๆองค์ประกอบในการตัดสินในลงทุนเพิ่มเติมด้วย
By Investmentory 59
รูปแบบ Bullish Divergence
• ใช้กับ Sideway, Bullish weak trend, Bearish weak
trend
• Characteristic of Bullish Divergence
– ควรหาหุ้นที่เป็นแนวโมขาขึ้นมายาวนาน EMA(50) > EMA(200)
– เทรดราคาต่ากว่า EMA(50) และเกิด Low ที่ใกล้กัน(ง่ายต่อการ
เปรียบเทียบ)
– แท่งเทียนกับ indicator(ที่ดู divergence ได้) มีทิศตรงข้ามกัน
– ถ้าราคาอยู่ที่แนวรับ EMA(200) จะยิ่งดี
By Investmentory 60
ตัวอย่างกราฟ Bullish Divergence
พร้อมสัญญาณซื้อ
By Investmentory 61
By Investmentory 62
• ลักษณะ : จากภาพจะเห็นว่าราคามีแนวโน้มขาขึ้นที่อ่อนแอ สังเกตได้
จากราคาวิ่งเลยเส้นแนวรับ EMA50 (เส้นสีแดง) และเด้งกลับมา
ตามแนวโน้มเดิมได้ ซึ่งถ้าหากราคาวิ่งทะลุ EMA50 ทาจุดต่าสุด
และเด้งกลับขึ้นมา แล้วลงไปทาจุดต่าสุดใหม่(New Low) แต่ดัชนี
บ่งชี้(Indicator) ไม่ทา New low ด้วย แล้วราคาเด้งกลับขึ้นมา
ตามแนวโน้มเดิม ลักษณะดังกล่าวเป็นลักษณะของการเกิด Bullish
Divergence หรืออาจเรียกว่าเป็นรูปแบบเทรดแบบ Bullish
Divergence
• จุดซื้อ : เมื่อเกิดสัญญาณกลับตัวของ indicator และเกิดสัญญาณ
Bullish Divergence เป็นเครื่องยืนยัน
รูปแบบทรดที่กล่าวมาเป็นเพียงแนวทางในการศึกษาที่อยู่บนพื้นฐานของความน่าจะเป็น มิได้ต้องเกิดขึ้นเสมอ
ผู้ศึกษาต้องศึกษาหลายๆองค์ประกอบในการตัดสินในลงทุนเพิ่มเติมด้วย
อ้างอิง
• www.investopedia.com
• Trend Trading for a living Book
• Trade your way to financial freedom Book
• มหัศจรรย์แห่งเทคนิค เพื่อให้เข้าถึงหัวใจของการวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิค
• 365+1…คาศัพท์การเงินและการลงทุน
By Investmentory 63

More Related Content

What's hot

ทำไมเทรดโดยใช้ Indicator จึงไม่ประสบความสำเร็จ
ทำไมเทรดโดยใช้ Indicator จึงไม่ประสบความสำเร็จทำไมเทรดโดยใช้ Indicator จึงไม่ประสบความสำเร็จ
ทำไมเทรดโดยใช้ Indicator จึงไม่ประสบความสำเร็จAkarawat Thanachitnawarat
 
Bollinger bands strategy - With Moving Averaga (BBMA)
Bollinger bands strategy - With Moving Averaga (BBMA)Bollinger bands strategy - With Moving Averaga (BBMA)
Bollinger bands strategy - With Moving Averaga (BBMA)pipsumo traderfx
 
Secrets to Smart trading with Binary.com
Secrets to Smart trading with Binary.comSecrets to Smart trading with Binary.com
Secrets to Smart trading with Binary.comVince Stanzione
 
High Probability Trading Setups
High Probability Trading SetupsHigh Probability Trading Setups
High Probability Trading Setupsbtrader
 
Simple scalping secret strategy
Simple scalping secret strategySimple scalping secret strategy
Simple scalping secret strategyHeri Valiant
 
Master trend-following
Master trend-followingMaster trend-following
Master trend-followingVarlei Rezer
 
Best Swing Trading Indicators and Oscillators
Best Swing Trading Indicators and OscillatorsBest Swing Trading Indicators and Oscillators
Best Swing Trading Indicators and OscillatorsSwingTradingBootCamp
 
4 hour macd forex strategy
4 hour macd forex strategy4 hour macd forex strategy
4 hour macd forex strategyErnani Dias
 
14.Read The Market เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf
14.Read The Market เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf14.Read The Market เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf
14.Read The Market เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdfMicro4you
 
9.Dow Theory เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf
9.Dow Theory เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf9.Dow Theory เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf
9.Dow Theory เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdfMicro4you
 
Astro+fx+training+book 1 1
Astro+fx+training+book 1 1Astro+fx+training+book 1 1
Astro+fx+training+book 1 1AnselmyJohb
 
How to Become a Professional Trader
How to Become a Professional TraderHow to Become a Professional Trader
How to Become a Professional Trader My Trading Skills
 
Oliver velez swing trading tactics
Oliver velez   swing trading tacticsOliver velez   swing trading tactics
Oliver velez swing trading tacticsAislan Pereira
 
การวิเคราะห์ทางเทคนิค อ.นราธิป
การวิเคราะห์ทางเทคนิค อ.นราธิปการวิเคราะห์ทางเทคนิค อ.นราธิป
การวิเคราะห์ทางเทคนิค อ.นราธิปAkarawat Thanachitnawarat
 
How to build a trading system
How to build a trading systemHow to build a trading system
How to build a trading systemFXstreet.com
 
Forex Trading - How to Create a Trading Strategy
Forex Trading - How to Create a Trading StrategyForex Trading - How to Create a Trading Strategy
Forex Trading - How to Create a Trading StrategyBlueMax Capital
 
A Look Back at 11 Stock Trading Setups
A Look Back at 11 Stock Trading SetupsA Look Back at 11 Stock Trading Setups
A Look Back at 11 Stock Trading SetupsInvestingWithOptions
 

What's hot (20)

ทำไมเทรดโดยใช้ Indicator จึงไม่ประสบความสำเร็จ
ทำไมเทรดโดยใช้ Indicator จึงไม่ประสบความสำเร็จทำไมเทรดโดยใช้ Indicator จึงไม่ประสบความสำเร็จ
ทำไมเทรดโดยใช้ Indicator จึงไม่ประสบความสำเร็จ
 
Bollinger bands strategy - With Moving Averaga (BBMA)
Bollinger bands strategy - With Moving Averaga (BBMA)Bollinger bands strategy - With Moving Averaga (BBMA)
Bollinger bands strategy - With Moving Averaga (BBMA)
 
Secrets to Smart trading with Binary.com
Secrets to Smart trading with Binary.comSecrets to Smart trading with Binary.com
Secrets to Smart trading with Binary.com
 
High Probability Trading Setups
High Probability Trading SetupsHigh Probability Trading Setups
High Probability Trading Setups
 
Simple scalping secret strategy
Simple scalping secret strategySimple scalping secret strategy
Simple scalping secret strategy
 
Master trend-following
Master trend-followingMaster trend-following
Master trend-following
 
Best Swing Trading Indicators and Oscillators
Best Swing Trading Indicators and OscillatorsBest Swing Trading Indicators and Oscillators
Best Swing Trading Indicators and Oscillators
 
634268797027443776(1)
634268797027443776(1)634268797027443776(1)
634268797027443776(1)
 
4 hour macd forex strategy
4 hour macd forex strategy4 hour macd forex strategy
4 hour macd forex strategy
 
CANDLESTICK PROFITS.pdf
CANDLESTICK PROFITS.pdfCANDLESTICK PROFITS.pdf
CANDLESTICK PROFITS.pdf
 
14.Read The Market เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf
14.Read The Market เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf14.Read The Market เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf
14.Read The Market เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf
 
9.Dow Theory เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf
9.Dow Theory เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf9.Dow Theory เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf
9.Dow Theory เพจ กัปตัน เทรดดิ้ง.pdf
 
Astro+fx+training+book 1 1
Astro+fx+training+book 1 1Astro+fx+training+book 1 1
Astro+fx+training+book 1 1
 
How to Become a Professional Trader
How to Become a Professional TraderHow to Become a Professional Trader
How to Become a Professional Trader
 
How i won
How i wonHow i won
How i won
 
Oliver velez swing trading tactics
Oliver velez   swing trading tacticsOliver velez   swing trading tactics
Oliver velez swing trading tactics
 
การวิเคราะห์ทางเทคนิค อ.นราธิป
การวิเคราะห์ทางเทคนิค อ.นราธิปการวิเคราะห์ทางเทคนิค อ.นราธิป
การวิเคราะห์ทางเทคนิค อ.นราธิป
 
How to build a trading system
How to build a trading systemHow to build a trading system
How to build a trading system
 
Forex Trading - How to Create a Trading Strategy
Forex Trading - How to Create a Trading StrategyForex Trading - How to Create a Trading Strategy
Forex Trading - How to Create a Trading Strategy
 
A Look Back at 11 Stock Trading Setups
A Look Back at 11 Stock Trading SetupsA Look Back at 11 Stock Trading Setups
A Look Back at 11 Stock Trading Setups
 

More from Akarawat Thanachitnawarat

More from Akarawat Thanachitnawarat (11)

Set+technical+update+besic
Set+technical+update+besicSet+technical+update+besic
Set+technical+update+besic
 
สรุป Master the market
สรุป  Master the marketสรุป  Master the market
สรุป Master the market
 
Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4
Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4
Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4
 
Chapter 3 ฝึกลากรูปแบบต่างๆ
Chapter 3 ฝึกลากรูปแบบต่างๆChapter 3 ฝึกลากรูปแบบต่างๆ
Chapter 3 ฝึกลากรูปแบบต่างๆ
 
Chapter 2 รู้แนวรับแนวต้าน
Chapter 2 รู้แนวรับแนวต้านChapter 2 รู้แนวรับแนวต้าน
Chapter 2 รู้แนวรับแนวต้าน
 
Chapter 1 มองแนวโน้มให้ออกก่อน
Chapter 1 มองแนวโน้มให้ออกก่อนChapter 1 มองแนวโน้มให้ออกก่อน
Chapter 1 มองแนวโน้มให้ออกก่อน
 
Candlesticks
CandlesticksCandlesticks
Candlesticks
 
The 3 duck's trading system.
The 3 duck's trading system.The 3 duck's trading system.
The 3 duck's trading system.
 
Powerband
PowerbandPowerband
Powerband
 
Ichimoku
IchimokuIchimoku
Ichimoku
 
Elliot wave thai by Kitty version
Elliot wave thai   by Kitty versionElliot wave thai   by Kitty version
Elliot wave thai by Kitty version
 

จัดพอร์ทหุ้นด้วยเทคนิค Momentum

  • 2. มาร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการเดินทางไปสู่ Financial Freedom ด้วยกัน หรือจะแนะนาติชมเพื่อนาไปปรับปรุงกับเราได้ที่ Facebook https://www.facebook.com/I2invest?ref=hl By Investmentory 2
  • 3. คาแนะนา • เมื่อตลาดเป็นขาขึ้นมีวิธีใดบ้างที่สามารถทากาไรในตลาดหุ้นได้ พร้อม อธิบายรูปแบบแนวโน้ม ที่สามารถใช้ในการเทรดในแต่ละรูปแบบเพื่อการทา กาไรในตลาดขาขึ้นที่มีลักษณะเป็นรอบตาม momentum ของหุ้น หมายเหตุ : เนื้อหาที่เขียนเป็นเพียงแนวทางในการศึกษาเท่านั้น ผู้อ่าน ควรศึกษาเพิ่มเติมด้วยตนเองเพื่อเพิ่มความแม่นยาและความมั่นใจ ของตนเอง หุ้นที่กล่าวถึงในหนังสือนั้นมิได้เป็นการชี้นาในการซื้อ-ขายแต่อย่างใด การลงทุนมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรศึกษาก่อนการตัดสินใจลงทุน By Investmentory 3
  • 4. ความหมายของการจัดพอร์ตเชิงรุก • ผู้ลงทุนที่ใช้กลยุทธ์เชิงรุกในการบริหารพอร์ตมีความเชื่อว่า ตลาดนั้น เป็นตลาดแบบไม่มีประสิทธิภาพ(inefficient market) ฉะนั้น ในตลาดจึงยังมีหุ้นที่ราคายังต่ากว่ามูลค่าที่แท้จริง(Undervalued Stock)ซึ่งผู้ลงทุนมีเป้ าหมายในการสร้างผลตอบแทนที่มากกว่าตลาด • ผู้ลงทุนที่ใช้กลยุทธ์เชิงรุกนี้จึงต้องใช้การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน (Fundamental Analysis)ในการเลือกหุ้นที่คาดว่าราคาใน ตลาดยังต่ากว่ามูลค่าที่แท้จริง ควบคู่ไปกับการวิเคราะห์ปัจจัยทาง เทคนิค(Technical Analysis) เพื่อหาจังหวะเวลาที่เหมาะสมใน การลงทุนในหุ้น By Investmentory 4
  • 5. ความหมายของ Momentum Trading • Momentum Trading มีเป้ าหมายที่จะทากาไรจากแนวโน้มที่ เกิดขึ้น ซึ่งกลยุทธ์ Momentum Trading มีความเชื่อว่า แนวโน้มดังกล่าวจะเคลื่อนที่ไปในทิศทางนั้นไปสักระยะหนึ่ง เนื่องจาก แนวโน้มที่เกิดขึ้นนั้นยังมีแรงกระตุ้นที่ทาให้ราคาหุ้นเคลื่อนที่ไปใน ทิศทางนั้นได้ • จากความหมายของ Momentum Trading อาจสรุปได้ว่าแรง กระตุ้นที่ทาให้ราคาหุ้นเคลื่อนที่ ก็คือ แรงซื้อ-แรงขาย นั่นเอง ซึ่งถ้า หากเราสามารถเลือกหุ้นถูกตัว(ที่ยังมีมูลค่าต่ากว่าที่ควรจะเป็น)และ เข้า-ออกได้ถูกจังหวะก็จะสามารถทากาไรจากตลาดหุ้นได้ By Investmentory 5
  • 6. แนวคิดเพื่อการลงมือปฏิบัติ • จากความหมายของ การจัดพอร์ตเชิงรุก และ Momentum Trading ดูเหมือนจะมีความหมายใกล้เคียงกัน ฉะนั้นเมื่อนาทั้งสอง มารวมกัน ในทางปฏิบัติก็คือ เราจะต้องหาหุ้นที่มีพื้นฐานดีและมีการ เติบโตในอนาคตพร้อมทั้งคาดการณ์ว่า หุ้นดังกล่าวควรจะมีมูลค่าเป็น เท่าใด(ควรเพิ่มขึ้นจากปีก่อน)ซึ่งเราอาจใช้บทวิเคราะห์จากหลายๆ บริษัทหลักทรัพย์ทั้งในและต่างประเทศในการช่วยค้นหาได้เพื่อลด ระยะเวลาลงหรืออาจจะวิเคราะห์และคาดการณ์เองก็ได้ • จากนั้นก็นามาวิเคราะห์ทางเทคนิคเพื่อการหาจังหวะซื้อ-ขาย By Investmentory 6
  • 7. ตัวอย่างการหาหุ้นเข้า Watch List เบื้องต้น • ตัวอย่างเช่นในปี 2554 หุ้น BGH เป็นหุ้นใน Sector Health By Investmentory 7 ปี 2553 ปี 2554 Equity (ส่วนของผู้ถือหุ้น) 15,634.49 ล้านบาท 31,995.19 ล้านบาท Debt Equity Ratio (หนี้สินต่อส่วนทุน) 1.02 เท่า 0.79 เท่า Revenue (ยอดขาย) 24,350.96 ล้านบาท 37,752.98 ล้านบาท Net Profit (กาไรสุทธิ) 2,295.06 ล้านบาท 4,385.99 ล้านบาท Net Profit Margin (อัตรากาไรสุทธิ) 9.42% 11.62% EPS (กาไรต่อหุ้น) 1.88 บาท/หุ้น 3.00 บาท/หุ้น
  • 8. • จากตัวอย่างจะเห็นได้ว่า ส่วนของผู้ถือหุ้น(Equity) เพิ่มขึ้น, D/E Ratio ลดลงแสดงว่าบริษัทมีหนี้สินต่อส่วนทุนลดลง, Revenue, Net Profit เพิ่มขึ้น แสดงว่าบริษัทมีรายได้เพิ่มมากขึ้นจากปีก่อน , Net Profit Margin เพิ่มขึ้น แสดงว่าบริษัทสามารถควบคุม ค่าใช้จ่ายได้ดีขึ้น, EPS ของหุ้น BGH มีการเติบโตอย่างมาก ส่งผล ให้มูลค่าของหุ้นเพิ่มขึ้นจากปีก่อน และ BGH เป็นธุรกิจโรงพยาบาล หากวิเคราะห์เชิงคุณภาพจะเห็นว่าเป็นธุรกิจที่ค่อนข้างมีความมั่นคง และประเทศไทยยังเป็นหนึ่งในศูนย์กลางทางการแพทย์ในเอเชียและใน ปี 2554 ยังมีการซื้อกิจการ(M&A)โรงพยาบาลอื่นอีกด้วย การวิเคราะห์ดังกล่าวเป็นเพียงตัวอย่างเท่านั้น ผู้อ่านควรศึกษาการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานของหุ้น เพิ่มเติมเพื่อเพิ่มความแม่นยาในการเลือกหุ้นด้วยตนเองด้วย By Investmentory 8
  • 9. • ซึ่งในวันที่ 4/1/54 หากเราลงทุนซื้อราคาปิดอยู่ที่ 48.75 บาท ณ วันที่ 30/12/54 ราคาอยู่ที่ 85 บาท ผลตอบแทนจากส่วนต่างอยู่ ประมาณ 68% ในขณะที่ SET Index ในระยะเวลาเดียวกันให้ ผลตอบแทนจากส่วนต่างที่ประมาณ -1.6% จะเห็นได้ว่าผลตอบแทน ที่ได้มากกว่าตลาดและความสัมพันธ์ของหุ้น BGH กับ SET Index มิได้มีความสัมพันธ์กันแต่อย่างใด แสดงว่าสิ่งที่สาคัญในการลงทุนใน หุ้นคือ การคัดเลือกหุ้น(Stock Selection) นั่นเอง การวิเคราะห์ดังกล่าวเป็นเพียงตัวอย่างเท่านั้น ผู้อ่าควรศึกษาการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานของหุ้นเพิ่มเติมเพื่อ เพิ่มความแม่นยาในการเลือกหุ้นด้วยตนเองด้วย By Investmentory 9
  • 10. • จากที่กล่าวมานั้นจะเห็นได้ว่าการวิเคราะห์ด้วยปัจจัยพื้นฐานนั้นจะช่วย ให้เราเลือกหุ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ในทางปฏิบัติถ้าหาก จุดที่เราเข้าซื้อไม่ใช่จุดที่ดีที่สุด (ในมุมมองของการวิเคราะห์ด้วย ปัจจัยพื้นฐาน) แต่หุ้นที่เราเลือกมานั้นเป็นหุ้นที่ดี(มีโอกาสที่ราคาจะ ปรับตัวสูงขึ้น) แล้วเราจะทาอย่างไร หรือ เราคัดเลือกหุ้นที่ดีแล้วจะรู้ได้ อย่างไรว่าควรจะเข้าซื้อตอนไหน • สาหรับวิธีแก้ปัญหาเหล่านั้นคือ การวิเคราะห์จังหวะการลงทุนด้วย ปัจจัยทางเทคนิค การวิเคราะห์ทางเทคนิคมีวิธีการมากมายตามแต่ กลยุทธ์ของผู้คิด แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะการวิเคราะห์ทางเทคนิคที่ จะนาไปใช้ในกลยุทธ์ momentum เท่านั้น By Investmentory 10
  • 11. การวิเคราะห์หุ้นด้วยปัจจัยทางเทคนิค • องค์ประกอบที่ใช้ในการวิเคราะห์ทางเทคนิคมีด้วยกัน 3 ส่วนใหญ่ • ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์หุ้นด้วยปัจจัยทางเทคนิคนั้นมีด้วยกัน 3 อย่าง คือ ราคา, เวลา, และปริมาณซื้อขาย • การวิเคราะห์ทางเทคนิคนี้ใช้หลักการของสถิติและความน่าจะเป็น เป็นพื้นฐานของแนวความคิด • จิตวิทยาในการลงทุนโดยมีความเชื่อหลัก 3 ประการ – ราคาเป็นผลรวมที่สะท้อนปัจจัยต่างๆไว้แล้ว – ราคาจะเคลื่อนที่ไปตามแนวโน้ม ณ ช่วงเวลาหนึ่งๆ – พฤติกรรมการลงทุนของนักลงทุนทั่วไปจะซ้าเดิม By Investmentory 11
  • 12. • โดยในการวิเคราะห์ทางเทคนิคที่ในที่นี้จะกล่าวนั้นจะเป็นการวิเคราะห์ กราฟแท่งเทียน และการใช้ดัชนีบ่งชี้(indicator) เพื่อเป็นตัวแทน ของตลาด(ในด้านราคาเท่านั้น) ใช้สาหรับจับจังหวะการลงทุนหลังจาก ที่เราได้เลือกหุ้นที่จะลงทุนด้วยปัจจัยพื้นฐานมาแล้ว • ซึ่งองค์ประกอบที่ใช้ในการวิเคราะห์จะมีด้วยกัน 2 ส่วนคือ – ส่วนที่เป็นกราฟแท่งเทียน(candlesticks) – ส่วนที่เป็นดัชนีบ่งชี้(indicator) เช่น ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่(Moving Average), MACD, Stochastic Oscillator, RSI – ซึ่งชื่อแปลกๆนี้ที่กล่าวมานี้เป็นชื่อของ indicator ที่ใช้เท่านั้น โดยจะ กล่าวถึงในส่วนถัดไป เพื่อให้เข้าใจลักษณะและการใช้งานเบื้องต้นของ indicatorเหล่านี้ By Investmentory 12
  • 13. • ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่(Moving Average) ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่เป็นการคานวณหาค่าเฉลี่ยราคาหุ้นหรือค่าเฉลี่ยของ ดัชนีบ่งชี้(indicator) ในช่วงเวลาหนึ่งๆ ในขณะที่วันต่อมาราคาหุ้น ได้เปลี่ยนแปลงไปค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่นี้ก็จะเปลี่ยนแปลงขึ้น-ลงตามไป ด้วย แต่ด้วยอัตราที่ช้ากว่า เพราะต้องเฉลี่ยค่าเก่าในอดีต ค่าเฉลี่ยนี้อาจใช้ข้อมูลจากราคาปิด ราคาเปิด ราคาสูงสุด ราคาต่าสุด หรืออาจนาดัชนีบ่งชี้มาคานวณก็ได้ ซึ่งในที่นี้จะใช้ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ แบบเอ็กโปเน็นเชียล(Exponential Moving Average) โดยใช้ระยะ 20 วัน และ 50 วัน (EMA20 และ EMA50) • ประเภทของดัชนี : ใช้บอกแนวโน้มของราคาหุ้น • สัญญาณซื้อ-ขาย: ซื้อเมื่อ EMA20 ตัด EMA50 ในทิศขึ้น และ ขายเมื่อ EMA20 ตัด EMA50 ในทิศลง By Investmentory 13
  • 14. • Trend indicator เส้นสีน้าเงิน = EMA20 เส้นสีแดง = EMA50 By Investmentory 14
  • 15. • Moving Average Convergence & Divergence(MACD) MACD ใช้ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ตรวจสอบกาลังของทิศทางมีกาลังมากน้อย เพียงใด • ประเภทของดัชนี : ใช้บอกแนวโน้ม และ momentum ของราคาหุ้น และสามารถดูการทา Divergence ของราคาหุ้นได้ • สัญญาณซื้อ-ขายระยะสั้น สาหรับระยะกลางจะใช้การตัดศูนย์ ขึ้น-ลง – ซื้อ เมื่อ MACD ตัดขึ้นเหนือเส้นค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 9 วันของตัวมันเอง – ขาย เมื่อ MACD ตัดลงมาใต้เส้นค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 9 วันของตัวมันเอง By Investmentory 15
  • 16. • Trend & Momentum indicator เส้นสีเหลือง = MACD เส้นสีฟ้ า = เส้นค่าเฉลี่ย 9 วันของ MACD By Investmentory 16
  • 17. • Stochastic Oscillator Stochastic Oscillator เป็นตัวเปรียบเทียบให้เรารู้ว่า ราคาปิด ของหุ้นอยู่ในสภาพใดเมื่อเทียบกับราคาในช่วงที่เราทาการศึกษา เช่น ค่อนข้างสูงหรือค่อนข้างต่า สามารถบอก momentum และ Divergence ของหุ้นได้ และยังสามารถบอกได้ว่า ราคาหุ้นอยู่ใน เขต Overbought/Oversold ได้คล้ายกับ RSI แต่จะใช้ได้ดี กับหุ้นที่เคลื่อนที่แบบ Sideway • สัญญาณซื้อ เมื่อ Oscillator ตกลงมาต่ากว่า 20(Oversold) และสามารถดีดกลับขึ้นไปได้ หรือ ซื้อเมื่อเส้น %K ตัดเหนือเส้น %D • สัญญาณขาย ให้ทาตรงข้ามจากที่จุด Overbought(>80) By Investmentory 17
  • 18. • Overbought/Oversold, Momentum, Divergence indicator By Investmentory 18
  • 19. • Relative Strength Index(RSI) เป็นเครื่องมือหรือดัชนีบ่งชี้(indicator) Price Following Oscillator ที่มีค่าอยู่ระหว่าง 0-100 และสามารถบอกภาวะตลาด หรือราคาของหุ้นได้ว่าอยู่ในภาวะ Overbought(ซื้อมากเกินไป) หรือ Oversold(ขายมากเกินไป) โดย - ถ้า RSI มากกว่า 70 จะเข้าเขต Overbought (อาจเกิด แรงขายทาให้ราคาหุ้นตกลงมาได้) - ถ้า RSI น้อยกว่า 30 จะเข้าเขต Oversold (อาจเกิดการซื้อ กลับทาให้ราคาวิ่งขึ้นได้) • ประเภทของเครื่องมือ : บอก Overbought, Oversold, Momentum และ สัญญาณ Divergence ของหุ้น By Investmentory 19
  • 20. • Overbought/Oversold, Momentum & Divergence indicator By Investmentory 20
  • 21. รูปแบบของแนวโน้มที่ใช้เทรดแบบ Momentum • Bullish Strongly Trending • Bullish Weakly Trending • Sideway By Investmentory 21
  • 22. Bullish Strong Trend • EMA(20) อยู่เหนือเส้น EMA(50) • ทั้ง EMA(20) และ EMA(50) มี slope เป็นบวก (ชี้ขึ้นทั้งคู่) • ระยะห่างระหว่างเส้นทั้งสองกว้าง หรือ ห่างจากกัน • เมื่อเกิดการ Pullbacks กราฟแท่งเทียนจะลงมาที่เส้น EMA(20) หรือลงอย่างมากระหว่างเส้นทั้งสอง จะไม่ถึงเส้น EMA(50) By Investmentory 22
  • 24. • ลักษณะ : จากภาพตัวอย่างแสดงลักษณะของแนวโน้มขาขึ้นที่ แข็งแกร่ง(Bullish Strong Trend) สังเกตได้จาก เส้นค่าเฉลี่ย เคลื่อนที่ EMA20(เส้นสีน้าเงิน) ตัดขึ้นเหนือ EMA50(เส้นสีแดง) และเส้นค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ทั้งสอง ยังมีความชัน(Slope) เป็นบวก หรือ ชี้ขึ้นไปในทิศทางเดียวกัน และระยะห่างระหว่างเส้นทั้งสองนั้นมากขึ้น รวมทั้งราคาหุ้นที่ตกลงมาไม่หลุดแนวรับ EMA20 หรือไปไม่ถึงเส้น EMA50 By Investmentory 24
  • 25. Bullish Weak Trend • EMA(20) อยู่เหนือเส้น EMA(50) โดยส่วนใหญ่ • EMA(50) มี slope เป็น + (ชี้ขึ้น) แต่ EMA(20) ไม่ จาเป็นต้องมี Slope เป็น + • ระยะห่างระหว่างเส้นทั้งสอง หรือ ความห่างไม่แน่นอน • เมื่อเกิดการ Pullbacks กราฟแท่งเทียนจะลงมาที่เส้น EMA(50) หรือลงมากกว่าเส้น EMA(50) ได้ By Investmentory 25
  • 27. • ลักษณะ : จากภาพตัวอย่างแสดงลักษณะของแนวโน้มขาขึ้นที่อ่อนแอ (Bullish Weak Trend) สังเกตได้จาก เส้นค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ EMA20(เส้นสีน้าเงิน) ตัดขึ้นเหนือ EMA50(เส้นสีแดง) และเส้น ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ทั้งสอง แต่ระยะห่างระหว่างเส้นค่าเฉลี่ยทั้งสองมี ระยะห่างกันไม่มากหรือมีแนวโน้มที่จะห่างกันน้อยลงและราคาหุ้นที่ตก ลงมาหลุดแนวรับ EMA20 หรือไปถึงเส้น EMA50 หรือหลุดเส้น EMA50 เล็กน้อย By Investmentory 27
  • 28. Sideway • เส้น EMA(20) อยู่ทั้งบนและล่างของ EMA(50) • EMA(50) ไร้แนวโน้ม โดยเส้น EMA(20) จะมีทิศทางไม่แน่นอน • ระยะห่างระหว่าง EMA(20) และ EMA(50) ไม่แน่นอน • การเคลื่อนของแท่งเทียนจะวิ่งทะลุทั้งสองเส้นไปมา By Investmentory 28
  • 30. • ลักษณะ : จากภาพตัวอย่างแสดงลักษณะไร้แนวโน้ม (Sideway) สังเกตได้จาก เส้นค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ EMA20(เส้นสีน้าเงิน) ไม่ได้ตัด EMA50(เส้นสีแดง)อย่างชัดเจน แต่เป็นลักษณะเคลื่อนที่ขึ้น-ลง ราคาหุ้นที่มีลักษณะไร้แนวโน้มจึงเคลื่อนที่ขึ้น-ลงตามลักษณะของเส้น ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ดังกล่าวด้วย By Investmentory 30
  • 31. รูปแบบราคา(Price Pattern)ที่ควรรู้จัก • แม้ว่าราคาหุ้นจะเคลื่อนที่ไปตามแนวโน้ม แต่ก็ควรจะติดตามว่าเมื่อใด แนวโน้มของราคาหุ้นนั้นจะเปลี่ยนไป เครื่องมือที่จะบอกเราได้นั้นคือ การใช้รูปแบบราคา(Price Pattern)ซึ่งแบ่งได้ 2 ประเภท 1.รูปแบบที่แสดงการกลับทิศของแนวโน้มของราคา 2.รูปแบบที่แสดงความต่อเนื่องของราคา ซึ่งรูปแบบราคาในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะรูปแบบที่แสดงความต่อเนื่อง By Investmentory 31
  • 33. • รูปแบบธงขาขึ้น (Bullish Flag) เป็นการพักตัวของราคาหลังจาก การปรับตัวขึ้นมามากและรวดเร็วเหมือนเป็นเสาธง ช่วงที่ราคาพักตัวนี้ จะมีปริมาณการซื้อขายลดลง แล้วจะเพิ่มมากขึ้นเมื่อราคาทะลุแนวต้าน ขึ้นไปได้(ขอบบนของธง) แนวโน้มราคาจะปรับตัวขึ้นต่อเนื่องไปตาม แนวโน้มเดิม By Investmentory 33
  • 35. • รูปแบบชายธงขาขึ้น(Bullish Pennant) เป็นการพักตัวของราคา หลังจากปรับตัวขึ้นมามากและรวดเร็วเหมือนเป็นเสาธง ช่วงที่ราคาพัก ตัวนี้จะมีปริมาณซื้อขายลดลง แล้วจะเพิ่มมากขึ้นเมื่อราคาทะลุแนว ต้านขึ้นไปได้(ขอบบนของชายธง) แนวโน้มราคาจะปรับตัวขึ้นต่อเนื่อง ไปตามแนวโน้มเดิม By Investmentory 35
  • 37. • รูปแบบสามเหลี่ยมแบบสมมาตร(Symmetrical Triangle) เป็นรูปแบบที่เกิดจากการปรับฐานชั่วคราวแล้วจึงจะเคลื่อนที่ไปใน แนวโน้มเดิม ราคาในช่วงนี้จะมีความสมดุลและปริมาณการซื้อขายก็จะ น้อยมากๆ จนในที่สุดราคาจะทะลุแนวต้านขึ้นไปได้ด้วยปริมาณการซื้อ ขายที่มากในแนวโน้มขาขึ้น By Investmentory 37
  • 38. รูปแบบแท่งเทียนที่ควรรู้จัก • แผนภูมิแท่งเทียน(Candlesticks) แผนภูมิแท่งเทียนได้ถูกพัฒนาขึ้นโดยชาวญี่ปุ่นมาตั้งแต่ ค.ศ.1600 เพื่อนามาคาดคะเนราคาพืชผลทางการเกษตร โดยข้อมูลในกราฟแท่ง เทียนจะประกอบด้วย ราคาเปิด ราคาปิด ราคาสูงสุด และราคาต่าสุด By Investmentory 38 ราคาสูงสุด ราคาปิด ราคาเปิด ราคาต่าสุด
  • 39. รูปแบบแท่งเทียนที่แสดงภาวะกระทิง • รูปแบบกราฟแท่งเทียนที่แสดงภาวะกระทิงแสดงถึงจุดกลับทิศทางจาก แนวโน้มขาลงเป็นแนวโน้มขาขึ้น โดยจะใช้ได้ดีเมื่อ Indicator(ดัชนี บ่งชี้) อยู่ในเขต Oversold(แรงขายมากเกินไป) ซึ่งมักจะเป็นจุด ต่าสุดของช่วงนั้น ซึ่งรูปแบบแท่งเทียนดังกล่าวแสดงความน่าจะเป็นใน การกลับทิศ ซึ่งมี 3 รูปแบบ ได้แก่ • รูปแบบที่แสดงการกลับทิศจากขาลงเป็นขาขึ้น • รูปแบบที่แสดงการกลับทิศเป็นจากขาขึ้นขาลง • รูปแบบที่แสดงความต่อเนื่องของทิศทางแนวโน้มที่เป็นอยู่ ซึ่งในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะรูปแบบกลับทิศจากขาลงเป็นขาขึ้น กับแสดงความต่อเนื่องของทิศทางแนวโน้มที่เป็นอยู่ By Investmentory 39
  • 40. Big White • ลักษณะ : แท่งยาวสีเขียว มีช่วงระหว่างจุดต่าสุดและสูงสุดห่างกันมาก • แสดงถึง : พลังของแรงซื้อ โดยราคาเปิดอยู่ใกล้จุดต่าสุดและราคาปิด อยู่ใกล้จุดสูงสุด By Investmentory 40
  • 41. Long Lower Shadow • ลักษณะ : แท่งสีเขียว หรือ สีแดงขนาดเล็ก มีเงาด้านล่างโดยมีความ ยาวของเงา 2/3 หรือมากกว่าเมื่อเทียบกับความยาวของแท่ง • แสดงถึง : รูปแบบภาวะกระทิงเมื่อราคาลงมาถึงแนวรับ(Support) By Investmentory 41
  • 42. Hammer • ลักษณะ : เมื่อราคาต่าลงจนเป็นแท่งเดียวสีเขียว หรือ สีแดง มีขนาด เล็กอยู่ใกล้ราคาสูงสุด มีเงายาวลงมาก แต่เงาข้างบนมีหรือไม่มีก็ได้ มัก พบใกล้จุดต่าสุดของช่วงนั้นๆ • แสดงถึง : การกลับทิศจากขาลงเป็นขาขึ้น เมื่อ indicator อยู่ใน เขต OverSold By Investmentory 42
  • 43. Bullish Harami • ลักษณะ : แท่งสีเขียวเล็ก อยู่ถัดจากแท่งสีแดงใหญ่ • แสดงถึง : รูปแบบที่น่าจะกลับตัวจากขาลงเป็นขาขึ้น โดยเฉพาะเมื่อ indicator อยู่ในเขต Oversold By Investmentory 43
  • 44. Bullish Harami Cross • ลักษณะ : แท่ง Doji เล็กๆ อยู่ถัดจากแท่งสีแดงใหญ่ • แสดงถึง : รูปแบบที่น่าจะกลับตัวจากขาลงเป็นขาขึ้น โดยเฉพาะเมื่อ indicator อยู่ในเขต Oversold By Investmentory 44
  • 45. Piercing Line • ลักษณะ : แท่งสีแดง ตามด้วยแท่งสีเขียวที่มีราคาเปิดต่ากว่าจุดต่าสุด ของแท่งสีแดง แต่สามารถทาราคาปิดได้สูงกว่าจุดกึ่งกลางของแท่งสีแดง • แสดงถึง : การกลับทิศจากขาลงเป็นขาขึ้น โดยเฉพาะเมื่อ indicator อยู่ในเขต Oversold By Investmentory 45
  • 46. Engulfing Bullish Line • ลักษณะ : แท่งสีแดงขนาดเล็ก ตามด้วยแท่งสีเขียวขนาดใหญ่ที่มีจุด ต่าสุดต่ากว่าแท่งสีแดง และจุดสูงสุดสูงกว่าแท่งสีแดง • แสดงถึง : การกลับทิศจากขาลงเป็นขาขึ้น โดยเฉพาะเมื่อ indicator อยู่ในเขต Oversold จะเห็นสัญญาณที่ขึ้นแรง ถ้ามี Volume หนาแน่น โดยจะเกิดหลังการตกต่าของหุ้น By Investmentory 46
  • 47. Morning Star • ลักษณะ : แท่งสีแดงขนาดใหญ่ตามด้วยแท่งสีแดงหรือสีเขียว ขนาด เล็ก และแท่งสุดท้ายเป็นแท่งสีเขียวขนาดใหญ่ที่มีราคาปิดสูงกว่าจุด กึ่งกลางของแท่งสีแดง • แสดงถึง : การกลับทิศจากขาลงเป็นขาขึ้น โดยเฉพาะเมื่อ indicator อยู่ในเขต Oversold By Investmentory 47
  • 48. Morning Doji Star • ลักษณะ : แท่งสีแดงขนาดใหญ่ ตามด้วย Doji ส่วนแท่งสุดท้ายเป็น สีเขียวขนาดใหญ่ที่มีราคาสูงกว่าจุดกึ่งกลางของแท่งสีแดง • แสดงถึง : การกลับทิศจากขาลงเป็นขาขึ้น โดยเฉพาะเมื่อ indicator อยู่ในเขต Oversold ซึ่ง Doji จะแสดงภาวะกระทิง มากกว่า Morning Star ทั่วไป By Investmentory 48
  • 49. Three White Soilders • ลักษณะ : เป็นแท่งเขียวสามแท่งติดต่อกัน มีราคาปิดสูงขึ้นทุกวันและ ปิดใกล้จุดสูงสุด • แสดงถึง : การกลับทิศจากขาลงเป็นขาขึ้น By Investmentory 49
  • 50. รูปแบบแท่งเทียนที่แสดงความต่อเนื่องแนวโน้มขาขึ้น • เป็นรูปแบบของแท่งเทียนที่แสดงความน่าจะเป็นที่ราคาจะวิ่งไปใน แนวโน้มดังกล่าวอีกสักระยะหนึ่ง โดยรูปแบบแท่งเทียนที่แสดงถึงความ ต่อเนื่องของแนวโน้มนั้น จะไม่เหมือนกับรูปแบบของแท่งเทียนที่แสดง การกลับทิศจากขาลงเป็นขาขึ้น เพราะไม่มีการบ่งชี้ของดัชนี อื่นๆมา เกี่ยวข้องด้วยในการพิจารณา By Investmentory 50
  • 51. Bullish 3 Method Formation • ลักษณะ : เป็นแท่งยาวสีเขียวตามด้วยแท่งสีแดงขนาดเล็กๆ 3 แท่ง จานวน 3 วัน และต่อด้วยแท่งยาวสีเขียว ซึ่งแท่งแดงขนาดเล็ก 3 แท่ง หมายถึง 3 วันจะอยู่ไม่เกินช่วงสูงสุดและต่าสุดของแท่งยาวสีเขียววันแรก • แสดงถึง : รูปแบบที่น่าจะขึ้นอย่างต่อเนื่องในแนวโน้มขาขึ้น By Investmentory 51
  • 52. Tweezer Bottom • ลักษณะ : แท่งสองแท่งหรือมากกว่าที่มี Bottom เท่ากัน ขนาด สี หรือชนิด เป็นอย่างไรก็ได้ • แสดงถึง : สัญญาณการกลับทิศขึ้นย่อยๆ By Investmentory 52
  • 53. รูปแบบการเทรด (Trading Pattern) • หลังจากที่ได้ศึกษาองค์ประกอบที่ใช้ในการวิเคราะห์ทางเทคนิคแล้ว ไม่ ว่าจะเป็น ดัชนีบ่งชี้ต่างๆ(Indicator), รูปแบบราคา(Price Pattern), แนวโน้ม(Trend) และรูปแบบแท่งเทียน (Candlesticks Pattern) จากนี้จะเป็นการนาความรู้ต่างๆมา สร้างเป็นรูปแบบการเทรดหรือการลงทุนในหุ้น เพื่อสร้างผลตอบแทน ให้กับเรา ซึ่งรูปแบบการเทรด(Trading Pattern) นี้สามารถนาไป ประยุกต์ใช้ได้กับหุ้นหลายๆ ตัวในตลาด หรือแม้กระทั่งสามารถนา แนวคิดไปประยุกต์ใช้กับตลาดอื่นได้ ซึ่งในที่นี้จะขอกล่าวถึงรูปแบบเทรด เพียง 3 แบบ ได้แก่ รูปแบบ Pullback, รูปแบบ Price Pattern และรูปแบบ Bullish Divergence ซึ่งเป็นรูปแบบที่เข้าใจและ ประยุกต์ใช้ได้ง่ายอีกด้วย By Investmentory 53
  • 54. รูปแบบ Pullback • ใช้กับ Bullish strong trend และ Bullish Weak trend markets • Characteristic of Pullback – ควรบอกได้ว่าหุ้นนั้นเป็นขาขึ้น(แข็งแกร่ง,อ่อนแอ) และถ้าเกิดที่เส้น EMA(20) จะดี – STO. ควรอยู่ในเขต Oversold และมีการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว – แท่งเทียนควรมีรูปแบบที่แสดงถึงการเป็นขาขึ้นหรือการกลับทิศ เช่น hammer, engulfing, piercing, or doji เป็นต้น – ถ้าแท่งเทียนยังคงแสดงรูปแบบ Bearish ควรรอดูต่อไปก่อนจนแน่ใจ By Investmentory 54
  • 56. • จากภาพจะเห็นได้ว่า หุ้นดังกล่าวมีแนวโน้มเป็นขาขึ้นที่แข็งแกร่ง (Bullish Storng Trend) สังเกตได้จากราคาหุ้นลงมาที่แนวรับ เส้นค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ EMA20(เส้นสีน้าเงิน) เท่านั้น จากนั้นราคาก็ เด้งขึ้นกลับไปตามแนวโน้มเดิม ซึ่งมีดัชนีบ่งชี้(Indicator) Stochastic oscillator บ่งชี้ว่า ณ จุดดังกล่าวเกิดสภาวะ Oversold(ขายมากเกินไป) ประกอบกับหุ้นตัวดังกล่าวเมื่อวิเคราะห์ ด้วยปัจจัยพื้นฐานแล้วเป็นหุ้นที่เติบโตและมีพื้นฐานที่ดี ซึ่งลักษณะ ดังกล่าวนี้เป็นลักษณะของรูปแบบการเทรดแบบ Pullback • จุดซื้อ : บริเวณที่ Stochastic เกิดการกลับตัว(วงกลมสีเหลือง) รูปแบบเทรดที่กล่าวมาเป็นเพียงแนวทางในการศึกษาที่อยู่บนพื้นฐานของความน่าจะเป็น มิได้ต้องเกิดขึ้นเสมอ ผู้ศึกษา ต้องศึกษาหลายๆองค์ประกอบในการตัดสินในลงทุนเพิ่มเติมด้วย By Investmentory 56
  • 57. รูปแบบ Price Pattern • ใช้กับ Bullish strong trend, Bullish Weak trend, และ Sideway • ซึ่ง Price Pattern ที่ควรรู้จักได้แก่ bull flag, bull pennant, และ symmetical triangle pattern • Characteristic of Continuation Price Pattern – ต้องค้นหาหุ้นที่เป็นขาขึ้น(แข็งแกร่ง,อ่อนแอ) และควรเกิด new high ภายในระยะเวลาอย่างน้อย 3 เดือน – ลากเส้น trend line โดยลากให้เกิดเป็นรูปแบบราคา(Price Pattern) ซึ่งแท่งเทียนไม่ควรหลุด EMA(50) – จุดซื้อคือราคาทะลุเส้น trend line ขึ้นไป สาหรับ sideway ให้เล่นใน กรอบ trend line ที่ลากไว้ หรือ เล่นในกรอบ price pattern By Investmentory 57
  • 58. ตัวอย่างกราฟ Price Pattern พร้อมสัญญาณซื้อ By Investmentory 58
  • 59. • ลักษณะ : จากภาพตัวอย่างจะเห็นได้ว่าราคาของหุ้นมีแนวโน้มเป็นขา ขึ้นที่อ่อนแอ สังเกตได้จากราคาหุ้นลงมาที่แนวรับ เส้น EMA50 (เส้น สีแดง) โดยราคาหุ้นวิ่งอยู่ในกรอบเส้นขนานสีฟ้ าสองเส้นที่เป็นรูปแบบ ของ Bull Flag ซึ่งลักษณะดังกล่าว เป็นรูปแบบของรูปแบบการเทรด ที่ใช้รูปแบบของราคา(Price Pattern)มากาหนดจุดซื้อ-ขายของ หุ้นนั้น • จุดซื้อ : บริเวณแนวรับของรูปแบบราคา โดยบริเวณดังกล่าวควรมี สัญญาณซื้อของดัชนีบ่งชี้(Indicator) ด้วย รูปแบบเทรดที่กล่าวมาเป็นเพียงแนวทางในการศึกษาที่อยู่บนพื้นฐานของความน่าจะเป็น มิได้ต้องเกิดขึ้นเสมอ ผู้ศึกษา ต้องศึกษาหลายๆองค์ประกอบในการตัดสินในลงทุนเพิ่มเติมด้วย By Investmentory 59
  • 60. รูปแบบ Bullish Divergence • ใช้กับ Sideway, Bullish weak trend, Bearish weak trend • Characteristic of Bullish Divergence – ควรหาหุ้นที่เป็นแนวโมขาขึ้นมายาวนาน EMA(50) > EMA(200) – เทรดราคาต่ากว่า EMA(50) และเกิด Low ที่ใกล้กัน(ง่ายต่อการ เปรียบเทียบ) – แท่งเทียนกับ indicator(ที่ดู divergence ได้) มีทิศตรงข้ามกัน – ถ้าราคาอยู่ที่แนวรับ EMA(200) จะยิ่งดี By Investmentory 60
  • 62. By Investmentory 62 • ลักษณะ : จากภาพจะเห็นว่าราคามีแนวโน้มขาขึ้นที่อ่อนแอ สังเกตได้ จากราคาวิ่งเลยเส้นแนวรับ EMA50 (เส้นสีแดง) และเด้งกลับมา ตามแนวโน้มเดิมได้ ซึ่งถ้าหากราคาวิ่งทะลุ EMA50 ทาจุดต่าสุด และเด้งกลับขึ้นมา แล้วลงไปทาจุดต่าสุดใหม่(New Low) แต่ดัชนี บ่งชี้(Indicator) ไม่ทา New low ด้วย แล้วราคาเด้งกลับขึ้นมา ตามแนวโน้มเดิม ลักษณะดังกล่าวเป็นลักษณะของการเกิด Bullish Divergence หรืออาจเรียกว่าเป็นรูปแบบเทรดแบบ Bullish Divergence • จุดซื้อ : เมื่อเกิดสัญญาณกลับตัวของ indicator และเกิดสัญญาณ Bullish Divergence เป็นเครื่องยืนยัน รูปแบบทรดที่กล่าวมาเป็นเพียงแนวทางในการศึกษาที่อยู่บนพื้นฐานของความน่าจะเป็น มิได้ต้องเกิดขึ้นเสมอ ผู้ศึกษาต้องศึกษาหลายๆองค์ประกอบในการตัดสินในลงทุนเพิ่มเติมด้วย
  • 63. อ้างอิง • www.investopedia.com • Trend Trading for a living Book • Trade your way to financial freedom Book • มหัศจรรย์แห่งเทคนิค เพื่อให้เข้าถึงหัวใจของการวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิค • 365+1…คาศัพท์การเงินและการลงทุน By Investmentory 63