SlideShare a Scribd company logo
ลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือ
ภาคเหนือเป็นภูมิภาคหนึ่งของไทยอยู่ทางตอนเหนือของประเทศมีเขตแดนทางตอนเ
หนือติดกับชายแดนพม่าและลาวทางตะวันออกจรดชายแดนลาวและภาคอีสานทาง
ตะวันตกจรดพม่าและทางใต้ติดกับภาคกลาง
การแบ่งเขตการปกครอง
.....ภูมิประเทศของภาคเหนือเต็มไปขุนเขาน้อยใหญ่สลับซับซ้อน
โดยเฉพาะบริเวณตอนเหนือสุด เช่น จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน และน่าน
โดยมีจุดสูงสุดของภาค (และของประเทศ)
อยู่ที่ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่
ทางตอนเหนือของภาคนั้นจะมีภาษาไทยที่มีสา
เนียงเป็นของตนเองเรียกว่า คาเมือง
จังหวัดในภาคเหนือถ้าจะแบ่งตามความคุ้นเคย
ของชาวไทยจะมีด้วยกัน 9 จังหวัด ดังนี้
1. เชียงราย (โยนกเชียงแสน)...........2. เชียงใหม่ (นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่)
3. น่าน(นันทบุรีศรีนครน่าน) ..........4. พะเยา (ภูกามยาว) .....
5. แพร่ (เวียงโกศัย) ......................6. แม่ฮ่องสอน (พุกาม) .....
7. ลาปาง (เขลางค์นคร) ...............8. ลาพูน (หริภุญชัย) .....
9. อุตรดิตถ์ (สวางคบุรี)
ลักษณะภูมิอากาศภาคเหนือ
1.ประเภทภูมิอากาศ
ภาคเหนือมีภูมิอากาศแบบร้อนชื้นสลับร้อนแห้งแล้ง หรือฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดู
2.อุณหภูมิ
โดยที่ภาคเหนือตั้งอยู่ในภาคพื้นทวีปมากที่สุดพิสัยอุณหภูมิจึงสูงมากมีอุณหภูมิสูงสุด 44.5
องศาเซลเซียสที่ จ. อุตรดิตถ์เป็นอุณหภูมิที่เคยสูงสุดของภาคและของประเทศ
ฤดูหนาวอากาศเย็นเคยมีอุณหภูมิต่าสุดถุง 1 องศาเซลเซียสที่ จ.เชียงราย
3.ปริมาณฝน
ภาคเหนือได้รับฝนส่วนใหญ่ในช่วงฤดูฝนที่ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดผ่านประเทศไทย
ซึ่งเป็นช่วงฤดูฝนด้านที่ต้นลมจะได้รับปริมาณฝนมากกว่าด้านปลายลมซึ่งฝนที่ตก
อยู่นั้นเป็นลักษณะของฝนภูเขาพื้นที่หน้าเขาจะได้รับฝนมากกว่าด้านหลังเขา
และได้รับฝนจากพายุดีเปรสชันที่พัดมาจากทะเลจีนใต้จังหวัดที่มีปริมาณน้าฝน
มากที่สุดของภาคเหนือคือจ.เชียงรายจังหวัดที่มีปริมาณน้าฝนน้อยที่สุดคือจ.ลาพูน
4.ฤดูกาล
ภาคเหนือมี 3 ฤดู คือฤดูฝน ฤดูหนาวและฤดูร้อน
ฤดูฝน ซึ่งเป็นฤดูที่เริ่มลงมือเพาะปลูกพืชเมืองร้อน
จะเริ่มประมาณกลางเดือนพฤษภาคมและไปสสิ้นฤดูในเดือนกันยายนหรือต้นเดือนตุลาคม
ฝนที่ตกเป็นฝนจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดมาจากอ่าวเบงกอล
กับฝนจากพายุดีเปรสชันที่พัดจากทะเลจีนใต้
ฤดูหนาว เป็นฤดูของมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
เริ่มต้นประมาณกลางเดือนตุลาคมและสิ้นสุดประมาณเดือนกุมภาพันธ์
ฤดูหนาวในภาคเหนือมีลักษณะเห็นเด่นชัดกว่าภาคกลางและภาคใต้
เพราะอยู่ใกล้แนวเคลื่อนที่ของอากาศหนาวเย็นที่เคลื่อนที่จากเขตความกดอากาศสูงในไซบีเรีย
และผ่านประเทศจีน
ฤดูร้อน เริ่มต้นประมาณกลางเดือนกุลภาพันธ์และไปสิ้นสุดประมาณกลางเดือนพฤษภาคม
ในเดือนกุมภาพันธ์มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเริ่มอ่อนกาลังลง ทาให้ลมตะวันออกเฉียง
ใต้จากทะเลจีนมีกาลังแรงขึ้นเป็นผลให้เกิดพายุฤดูร้อนขึ้นในภาคเหนือเป็นครั้งคราว
ในเดือนมีนาคมและเมษายนอุณหภูมิในภาคเหนือขึ้นสูงมาก
ทรัพยากรธรรมชาติภาคเหนือ
ทรัพยากรน้า
1. น้าบนผิวดิน ภาคเหนือเป็นภาคที่เต็มไปด้วยภูเขาและที่สูง จึงเป็นบริเวณที่มีปริมาณฝนสูง
มีน้าอุดมสมบูรณ์ แห่งต้นน้าลาธารของภาคเหนือเป็นแหล่งน้า
ที่ไหลลงสู่ลุ่มน้าตอนล่างในบริเวณตอนล่างในบริเวณที่ราบภาคกลางซึ่งน่าจะมีน้าใช้ตลอปี
แต่เนื่องจากจากการหักล้างทาลายป่าไม้ที่ดาเนินไปอย่างรวดเร็วในระยะหลัง ๆ นี้
ทาให้แหล่งน้าที่เคยมีป่าไม้ดูดซับน้าไว้ หรือแหล่งน้าตกตามที่สูฃต่าง ๆมีปริมาณน้าน้อยลงไปมาก
จนอ่างเก็บน้าของเขื่อนที่สร้างขึ้นในภาคเหนือกักเก็บน้าไว้ได้น้อย
บางปีมีปริมาณน้าที่กักเก็บต่ากว่าระดับน้าที่ควรกักไว้สาหรับใช้ประโยชน์
จึงก่อให้เกิดปัญหาอย่างมาก เช่นเกิดปัญหาความแห้งแล้ง ปัญหาน้าท่วมในฤดูน้าหลาก
รวมทั้งการขาดแคลนน้าที่จะนามาใช้ในกิจกรรมไฟฟ้ าพลังน้าและการชลประทาน
2. น้าใต้ดิน ภาคเหนือมีน้าใต้ดินค่อนข้างสมบูรณ์ โดยเฉพาะแอ่งเชียงใหม่
มีน้าใต้ดินในรูปของน้าบ่อและน้าบาดาลอยู่มาก สามารถนาน้าออกมาใช้ได้ตลอดทั้งปี เช่น
อ.สันกาแพงและ อ.สารภี ใน จ.เชียงใหม่และ อ.ป่าซาง จ.ลาพูน
จากการสารวจปรากฏว่าน้าบาดาลที่เจาะนั้นให้ปริมาณสูงมาก ประมาณ 500-1,000 แกลลอนต่อ
นาที เป็นน้าจืดใช้ในการบริโภค และเพาะปลูกได้ นอกจากนี้ยังมีในบริเวณอื่น ๆ
ที่เป็นแหล่งน้าบาดาล คือ แอ่งเชียงราย ลาปาง แพร่เป็นต้น แต่การขุดเจาะน้าบาดาล
ในบริเวณภูเขาจะเจาะเพื่อนามาใช้ลาบากกว่าบริเวณที่ราบ
ทรัพยากรป่าไม้และพืชพรรณธรรมชาติ
จังหวัดที่มีป่าไม้มากที่สุดของภาคเหนือคือ จ.เชียงใหม่14,060 ตร.กม รองลงมาคือ จ.แม่ฮ่องสอน
8,763 ตร.กม จังหวัดที่มีป่าไม้หนา แน่นที่สุดคือ จ.เชียงใหม่( ร้อยละ 70.0 ของพื้นที่จังหวัด)
จังหวัดที่มีป่าไม้เบาบางที่สุดคือ จ.เชียงราย (ร้อยละ 32.7 ของพื้นที่จังหวัด) ป่าไม้ใน
ภาคเหนืออาจจาแนกตามลักษณะ ของพืชพรรณ ที่ขึ้นได้ดังนี้
1.ป่าเบญจพรรณ หรือเรียกว่า " ป่าผสมผลัดใบ" หรือ "ป่าโปร่งผสม" มีถึงร้อยละ 46
ของพื้นที่ป่าไม้ทั้งหมดของภาคเหรือ ป่าเบญจ พรรณที่มีไม้สักขึ้นอยู่ทั่วไป เรียกว่า "ป่าสัก"
ซึ่งมีอยู่ในทุกจังหวัดของภาคเหนือ (และรองลงมาถึงตากและกาญจนบุรี) ถ้าเป็นที่ราบหรือบริเวณเชิง
เขาที่มีดินค่อนข้างแห้งหรือเป็นดินกรวดลูกรัง จะมีป่าแดงหรือป่าแพะ
2.ป่าดิบ ในภาคเหนือมีป่าดิบแล้ง พบตามที่ลุ่มชื้น ริมห้วย
ลาธารและตามริมแม่น้าใหญ่จนถึงระดับสูง 1,000 เมตรเหนือระดับน้าทะเลและมี ป่าดิบเขาใน
ประเทศไทยมีอยู่ในภาคเหนือ ที่ระดับสูงกว่า 1,000 เมตรจากระดับน้าทะเลขึ้นไป
มีไม้จาปีและไม้เมืองหนาวขึ้นอยู่ทั่วไป เป็นพื้นที่ ๆถูก ถากถางเพื่อทาไร่เลื่อนลอย
ซึ่งปัจจุบันได้มีการส่งเสริมการปลูกผักและผลไม้เมืองหนาว
และให้ชาวไทยภูเขาทาการเกษตรอยู่กับที่
3.ป่าสนเขา ส่วนใหญ่พบอยู่บนเขาที่สูงเหนือระดับน้าทะเลตั้งแต่ 700 เมตรขึ้นไป
ป่าสนที่ปรากฏอยู่ในภาคเหนือนั้น มีทั้งที่ขึ้นปะปนอยู่กับไม้ ชนิดอื่น เช่นรัง เต็ง เหียง พลวง
หรือขึ้นเป็นป่าสนล้วน
แม่น้า
แม่น้าสายสาคัญในภาคเหนือ
แบ่งออกเป็น 3 พวก ได้แก่
1. พวกที่ไหลจากเหนือลงใต้ ได้แก่แม่น้าปิง แม่น้าแจ่ม แม่น้าตื่น แม่น้างัด แม่น้ากวง แม่น้าทา
แม่น้าวัง แม่น้าจาง แม่น้ายม แม่น้าน่าน และแม่น้าปาด
2. พวกที่ไหลจากใต้ขึ้นเหนือ ได้แก่แม่น้าอิง แม่น้าลาว แม่น้ากก แม่น้าจัน และแม่น้าลี้
3. พวกที่ไหลไปลงทางด้านพม่า ได้แก่แม่น้าเมย แม่น้ายวม และแม่น้าปาย
ซึ่งไหลบรรจบกับแม่น้าสาละวิน
ลักษณะนิสัยของชาวเหนือสังเกตได้จากภาษาพูด ซึ่งเป็นภาษาไทยท้องถิ่นที่มีความไพเราะอ่อนหวาน
แสดงถึงความ สุภาพอ่อนโยนในจิตใจ ความโอบอ้อมอารี และความเป็นมิตร
งานหัตถกรรมมากมายที่สร้างสรรค์เป็นข้าวของเครื่องใช้
และของที่ระลึกที่ได้รับความนิยมจนกลายเป็นสินค้าส่งออกที่นารายได้เข้าประเทศนั้น
ก็เป็นสิ่งหนึ่งที่สามารถบ่งบอกความ เป็นชาวไทยภาคเหนือได้เป็นอย่างดี
ทรัพยากรสัตว์ป่า
ภาคเหนือเป็นภาคที่เคยอุดมสมบูรณ์ด้วยป่าไม้และมีสัตว์ป่านานาชนิดอาศัยอยู่มาก
ในปัจจุบันนี้ป่าไม้ถูกทาลายลง จานวนสัตว์ป่าก็ลดน้อยลงด้วย สัตว์ที่ยัง
มีปรากฏถ้าแบ่งตามประเภทของสัตว์ป่าก็มีอยู่หลายชนิดได้แก่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น ลิง
ค่างและชะนี สัตว์กีบ เช่น หมูป่ากวาง เลียงผาและสัตว์กินเนื้อเป็นอาหาร เช่น หมีเสือ
หมีควายหรือหมีดา ซึ่งสัตว์เหล่านี้อาศัยอยู่ในบริเวณภูเขาสูงและหุบเขา ส่วนพวกสัตว์ที่ยังมีอยู่มาก
ได้แก่พวกแมลง นก ผีเสื้อประเภทต่าง ๆ และสัตว์เลื้อยคลาน พบในเขตป่าดิบขึ้นตามแม่น้าลาห้วย
เนื่องจากในภาคเหนือไม่มีแม่น้าลาคลองมากเท่ากับภาคกลาง
จึงไม่มีสัตว์น้ามากนักมีแต่สัตว์น้าที่อาศัยอยู่ ตามลาห้วย เช่น กุ้ง ปู ตามแถบภูเขาสัตว์ป่าประเภทต่าง
ๆ ก็ลดจานวนลง โดยเฉพาะสัตว์ป่าที่มีขนาดใหญ่ เช่นหมี เสือ ควายป่า เป็นต้น
ทรัพยากรแร่ธาตุ
ภาคเหนือเป็นภาคที่อุดมด้วยทรัพยากรแร่ธาตุภาคหนึ่งของประเทศไทย
เพราะมีภูมิประเทศที่มีโครงสร้างเป็นภูเขา เนินเขาและแอ่งแผ่นดินในยุคกลางเก่า กลางใหม่
ที่บริเวณตอนกลางที่ผ่านการสุกกร่อนและมีการเปลี่ยนแปลงของแผ่นดิน
โดยเฉพาะภูเขาทางตะวันตกที่เป็นแนวของทิวเขา อุดมด้วยแร่โลหะ แร่อโลหะและแร่เชื้อเพลิง
แร่โลหะ ที่สาคัญที่พบตามภูเขาหินแกรนิตในภาคเหนือ ได้แก่
1.แร่ดีบุก แหล่งแร่ดีบุกที่พบในภาคเหนือ
อยู่ในเขตภูเขาของจังหวัดที่อยู่ทางเหนือและทางภาคตะวันตกของภาค คือ จ. แม่ฮ่องสอน จ.เชียงใหม่
จ.ลาปาง จ.เชียงราย แต่มีปริมาณการผลิตไม่มากเท่ากับแหล่งดีบุกสาคัญทางภาคใต้
2.ทังสเตนหรือวุลแฟรมที่พบมากในภาคเหนือคือแหล่งแร่ซีไรท์
เป็นแร่ที่สาคัญทางเศรษฐกิจการค้าและยุทธปัจจัยสาคัญ มีการทาเหมืองที่ อ.ดอยหมอก อ.เวียงป่าเป้า
จ.เชียงราย และพบแถบภูเขาสูงในเขต จ.แม่ฮ่องสอนมีเหมืองดาเนินการผลิตถึง 10 เหมือง
ที่สาคัญคือเหมืองที่ อ.แม่ลาน้อย เหมืองห้วยหลวง และเหมืองแม่สะเรียง
ทางด้านตะวันตกของลุ่งน้ายวม
3.ตะกั่วและสังกะสี แร่ตะกั่วและสังกะสีมักจะเกิดร่วมกันแต่ที่พบยังมีปริมาณน้อย
ไม่เพียงพอที่จะนามาใช้ในเชิงพาณิชย์เหมือนที่พบในภาคตะวันตก
ในภาคเหนือมีแหล่งแร่ตะกั่วและสังกะสีในแถบ จ.แม่ฮ่องสอน จ.เชียงใหม่จ.ลาปางและ จ.แพร่
4.ทองแดง แหล่งแร่ทองแดงมีอยู่หลายแห่งของประเทศ
แต่เป็นแหล่งแร่ที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจเพียงไม่กี่แห่ง บริเวณที่พบสาคัญได้แก่ในเขตจังหวัดทาง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น จ.นครราชสีมา เลยแต่ที่ภาคเหนือพบในเขต จ.อุตรดิตถ์ จ.แพร่ จ.น่าน
และ จ.ลาปาง
5.เหล็ก แหล่งแร่เหล็กในประเทศไทยมีหลายแห่งเช่นกัน ทั้งที่กาลังมีการผลิตที่ผลิตหมดไปแล้ว
แต่แหล่งที่น่าสนใจที่อาจมีค่าในอนาคต ได้แก่ที่ อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์ ที่เขาทับควาย จ.ลพบุรี
แหล่งภูยาง อ.เชียงคาน จ.เลย แหล่งอึมครึม จ.กาญจนบุรี ในภาคเหนือพบที่ อ. แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่
แหล่งเดิม อ.เถิน จ.ลาปาง
6.แมงกานีส แหล่งแมงกานีสในภาคเหนือมีแหล่งผลิตที่สาคัญอยู่ในจ.ลาพูน จ.เชียงใหม่จ.ลาปาง จ.แพร่
จ.เชียงรายและ จ.น่าน
7.นิกเกิลและโครมียมพบที่ บ.ห้วยยาง อ.ท่าปลา จ.อุตรดิตถ์ นอกจากนี้ยังมีแร่โครไมต์ที่ให้โลหะโครเมียม
ซึ่งเป็นแร่ผสมเหล็ก
แร่อโลหะ ที่สาคัญที่พบในภาคเหนือ ได้แก่
1.ฟลูออไรต์ แหล่งแร่ฟลูออไรต์ที่สาคัญของประเทศพบในภาคเหนือและภาคตะวันตก ได้แก่ที่ อ.บ้านโฮ่ง อ.ป่าซาง
จ.ลาพูน อ.ฝาง .แม่แจ่มอ.ฮอด อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน
นอกจากนี้ก็มีที่ภาคตะวันตกแภาคใต้ของไทยอีกด้วย
2.แบไรต์ แหล่งแร่แบไรต์ที่สาคัญ นอกจากจะมีมากในภาคใต้ที่บริเวณเขาหลวง จ.นครศรีธรรมราชและใน
จ.สุราษฎร์ธานีแล้ว ยังมีแหล่งสาคัญในภาคเหนืออีกที่ บริเวณภูไม้ตอง อ.ดอยเต่า อ.ฮอด จ.เชียงใหม่นอกจากนี้ยังมีใน
จ.แม่ฮ่องสอนจ.ลาพูน ลาปางอุตรดิตถ์ เชียงรายและแพร่
3.ยิปซัม แหล่งยิปซัมที่สาคัญมีที่ จ.นครสวรรค์และพิจิตร ในภาคเหนือได้แก่ แหล่งแม่เมาะอ.แม่เมาะจ.ลาปาง
แหล่งแม่กั๊วะอ.เกาะคา จ.ลาปาง และแหล่งสองห้อง อ.น้าปาด จ.อุตรดิตถ์
4.ฟอสเฟต มีแหล่งเล็ก ๆอยู่ที่ ต.นาแก้ว อ.เกาะคา จ.ลาปาง
5.ดินขาวหรือดินเกาลินได้มีการพบและผลิตดินขาวในหลายบริเวณทั้งภาคเหนือ ภาคกลางและภาคใต้
ในภาคเหนือมีแหล่งดินขาวที่ อ.แจ้ห่ม จ.ลาปาง
นอกจากนี้ยังมีแร่อโลหะอื่น ๆ ที่พบในภาคเหนืออีกเช่น แร่หินม้าที่ จ.เชียงใหม่แม่ฮ่องสอนแร่ใยหินพบในจ.อุตรดิตถ์
แร่เชื้อเพลิง ที่สาคัญทางเศรษฐกิจ คือมีกาารนามาใช้เป็นเชื้อเพลิงสาคัญในโรงงานไฟฟ้า เครื่องจักรกล
โรงงานอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์และในกิจการขนส่งต่าง ๆ เช่นในเครื่องบิน รถยนต์ เรือยนต์ เป็นต้น
1.หินน้ามัน พบที่บ.ป่าคา อ.ลี้ จ.ลาพูน แต่ยังไม่ได้นามาใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
เนื่องจากการแยกน้ามันออกจากหินน้ามันต้องลงทุนสูง
2.ปิโตรเลียม น้ามันดิบ กาาซธรรมชาติเหลว พบที่ อ.ฝาง จ.เชียงใหม่นามาใช้เป็นน้ามันหล่อลื่น
น้ามันดีเซลหมุนเร็วปานกลางและน้ามันเตา
3.ลิกไนต์ พบที่ อ.แม่เมาะอ.แม่ทะจ.ลาปาง ใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงงานบ่มยา โรงไฟฟ้า
Back

More Related Content

What's hot

ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
พัน พัน
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
Prachoom Rangkasikorn
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
chatsawat265
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
หรร 'ษๅ
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
บทที่ ๕
บทที่ ๕บทที่ ๕
บทที่ ๕
Tatsawan Khejonrak
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
พัน พัน
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกNoppadon Khongchana
 
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
Chainarong Maharak
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑bangonchin
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
ครูอ้อ วิรยา
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
sripayom
 
ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้
ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้
ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้kruthirachetthapat
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
Kruthai Kidsdee
 

What's hot (20)

ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
บทที่ ๕
บทที่ ๕บทที่ ๕
บทที่ ๕
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือก
 
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้
ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้
ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 

Similar to ลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือ

ภาคเหนือเจ้า
ภาคเหนือเจ้าภาคเหนือเจ้า
ภาคเหนือเจ้า
jarudee
 
ภาคเหนือเจ้า3
ภาคเหนือเจ้า3ภาคเหนือเจ้า3
ภาคเหนือเจ้า3
aoysumatta
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางorawan155
 
บัตรเนื้อหา1
บัตรเนื้อหา1บัตรเนื้อหา1
บัตรเนื้อหา1neena5339
 
ภาคใต้
ภาคใต้ภาคใต้
ภาคใต้tonsocial
 
เหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docxเหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docx
pinglada1
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
leemeanshun minzstar
 
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docxเหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
pinglada1
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยว
leemeanshun minzstar
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยว
leemeanshun minzstar
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
leemeanshun minzstar
 
จังหวัดเเม่ฮ่องสอน
จังหวัดเเม่ฮ่องสอนจังหวัดเเม่ฮ่องสอน
จังหวัดเเม่ฮ่องสอน
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
Earn Supeerapat
 
ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.
ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.
ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Similar to ลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือ (20)

ภาคเหนือเจ้า
ภาคเหนือเจ้าภาคเหนือเจ้า
ภาคเหนือเจ้า
 
ภาคเหนือเจ้า3
ภาคเหนือเจ้า3ภาคเหนือเจ้า3
ภาคเหนือเจ้า3
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลาง
 
บัตรเนื้อหา1
บัตรเนื้อหา1บัตรเนื้อหา1
บัตรเนื้อหา1
 
Asean
AseanAsean
Asean
 
ภาคใต้
ภาคใต้ภาคใต้
ภาคใต้
 
เหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docxเหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docx
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docxเหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยว
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยว
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
จังหวัดเเม่ฮ่องสอน
จังหวัดเเม่ฮ่องสอนจังหวัดเเม่ฮ่องสอน
จังหวัดเเม่ฮ่องสอน
 
การแบ่งภูมิภาคทวีปยุโรป2.1
การแบ่งภูมิภาคทวีปยุโรป2.1การแบ่งภูมิภาคทวีปยุโรป2.1
การแบ่งภูมิภาคทวีปยุโรป2.1
 
จังหวัดน่าน
จังหวัดน่านจังหวัดน่าน
จังหวัดน่าน
 
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
 
ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.
ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.
ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.
 
Geo_thai.ppt
Geo_thai.pptGeo_thai.ppt
Geo_thai.ppt
 

ลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือ

  • 1. ลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือ ภาคเหนือเป็นภูมิภาคหนึ่งของไทยอยู่ทางตอนเหนือของประเทศมีเขตแดนทางตอนเ หนือติดกับชายแดนพม่าและลาวทางตะวันออกจรดชายแดนลาวและภาคอีสานทาง ตะวันตกจรดพม่าและทางใต้ติดกับภาคกลาง การแบ่งเขตการปกครอง .....ภูมิประเทศของภาคเหนือเต็มไปขุนเขาน้อยใหญ่สลับซับซ้อน โดยเฉพาะบริเวณตอนเหนือสุด เช่น จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน และน่าน โดยมีจุดสูงสุดของภาค (และของประเทศ) อยู่ที่ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ ทางตอนเหนือของภาคนั้นจะมีภาษาไทยที่มีสา เนียงเป็นของตนเองเรียกว่า คาเมือง จังหวัดในภาคเหนือถ้าจะแบ่งตามความคุ้นเคย ของชาวไทยจะมีด้วยกัน 9 จังหวัด ดังนี้ 1. เชียงราย (โยนกเชียงแสน)...........2. เชียงใหม่ (นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่) 3. น่าน(นันทบุรีศรีนครน่าน) ..........4. พะเยา (ภูกามยาว) ..... 5. แพร่ (เวียงโกศัย) ......................6. แม่ฮ่องสอน (พุกาม) ..... 7. ลาปาง (เขลางค์นคร) ...............8. ลาพูน (หริภุญชัย) ..... 9. อุตรดิตถ์ (สวางคบุรี)
  • 2. ลักษณะภูมิอากาศภาคเหนือ 1.ประเภทภูมิอากาศ ภาคเหนือมีภูมิอากาศแบบร้อนชื้นสลับร้อนแห้งแล้ง หรือฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดู 2.อุณหภูมิ โดยที่ภาคเหนือตั้งอยู่ในภาคพื้นทวีปมากที่สุดพิสัยอุณหภูมิจึงสูงมากมีอุณหภูมิสูงสุด 44.5 องศาเซลเซียสที่ จ. อุตรดิตถ์เป็นอุณหภูมิที่เคยสูงสุดของภาคและของประเทศ ฤดูหนาวอากาศเย็นเคยมีอุณหภูมิต่าสุดถุง 1 องศาเซลเซียสที่ จ.เชียงราย 3.ปริมาณฝน ภาคเหนือได้รับฝนส่วนใหญ่ในช่วงฤดูฝนที่ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดผ่านประเทศไทย ซึ่งเป็นช่วงฤดูฝนด้านที่ต้นลมจะได้รับปริมาณฝนมากกว่าด้านปลายลมซึ่งฝนที่ตก อยู่นั้นเป็นลักษณะของฝนภูเขาพื้นที่หน้าเขาจะได้รับฝนมากกว่าด้านหลังเขา และได้รับฝนจากพายุดีเปรสชันที่พัดมาจากทะเลจีนใต้จังหวัดที่มีปริมาณน้าฝน มากที่สุดของภาคเหนือคือจ.เชียงรายจังหวัดที่มีปริมาณน้าฝนน้อยที่สุดคือจ.ลาพูน 4.ฤดูกาล ภาคเหนือมี 3 ฤดู คือฤดูฝน ฤดูหนาวและฤดูร้อน ฤดูฝน ซึ่งเป็นฤดูที่เริ่มลงมือเพาะปลูกพืชเมืองร้อน จะเริ่มประมาณกลางเดือนพฤษภาคมและไปสสิ้นฤดูในเดือนกันยายนหรือต้นเดือนตุลาคม ฝนที่ตกเป็นฝนจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดมาจากอ่าวเบงกอล กับฝนจากพายุดีเปรสชันที่พัดจากทะเลจีนใต้ ฤดูหนาว เป็นฤดูของมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ เริ่มต้นประมาณกลางเดือนตุลาคมและสิ้นสุดประมาณเดือนกุมภาพันธ์ ฤดูหนาวในภาคเหนือมีลักษณะเห็นเด่นชัดกว่าภาคกลางและภาคใต้ เพราะอยู่ใกล้แนวเคลื่อนที่ของอากาศหนาวเย็นที่เคลื่อนที่จากเขตความกดอากาศสูงในไซบีเรีย และผ่านประเทศจีน ฤดูร้อน เริ่มต้นประมาณกลางเดือนกุลภาพันธ์และไปสิ้นสุดประมาณกลางเดือนพฤษภาคม ในเดือนกุมภาพันธ์มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเริ่มอ่อนกาลังลง ทาให้ลมตะวันออกเฉียง
  • 3. ใต้จากทะเลจีนมีกาลังแรงขึ้นเป็นผลให้เกิดพายุฤดูร้อนขึ้นในภาคเหนือเป็นครั้งคราว ในเดือนมีนาคมและเมษายนอุณหภูมิในภาคเหนือขึ้นสูงมาก ทรัพยากรธรรมชาติภาคเหนือ ทรัพยากรน้า 1. น้าบนผิวดิน ภาคเหนือเป็นภาคที่เต็มไปด้วยภูเขาและที่สูง จึงเป็นบริเวณที่มีปริมาณฝนสูง มีน้าอุดมสมบูรณ์ แห่งต้นน้าลาธารของภาคเหนือเป็นแหล่งน้า ที่ไหลลงสู่ลุ่มน้าตอนล่างในบริเวณตอนล่างในบริเวณที่ราบภาคกลางซึ่งน่าจะมีน้าใช้ตลอปี แต่เนื่องจากจากการหักล้างทาลายป่าไม้ที่ดาเนินไปอย่างรวดเร็วในระยะหลัง ๆ นี้ ทาให้แหล่งน้าที่เคยมีป่าไม้ดูดซับน้าไว้ หรือแหล่งน้าตกตามที่สูฃต่าง ๆมีปริมาณน้าน้อยลงไปมาก จนอ่างเก็บน้าของเขื่อนที่สร้างขึ้นในภาคเหนือกักเก็บน้าไว้ได้น้อย บางปีมีปริมาณน้าที่กักเก็บต่ากว่าระดับน้าที่ควรกักไว้สาหรับใช้ประโยชน์ จึงก่อให้เกิดปัญหาอย่างมาก เช่นเกิดปัญหาความแห้งแล้ง ปัญหาน้าท่วมในฤดูน้าหลาก รวมทั้งการขาดแคลนน้าที่จะนามาใช้ในกิจกรรมไฟฟ้ าพลังน้าและการชลประทาน 2. น้าใต้ดิน ภาคเหนือมีน้าใต้ดินค่อนข้างสมบูรณ์ โดยเฉพาะแอ่งเชียงใหม่ มีน้าใต้ดินในรูปของน้าบ่อและน้าบาดาลอยู่มาก สามารถนาน้าออกมาใช้ได้ตลอดทั้งปี เช่น อ.สันกาแพงและ อ.สารภี ใน จ.เชียงใหม่และ อ.ป่าซาง จ.ลาพูน จากการสารวจปรากฏว่าน้าบาดาลที่เจาะนั้นให้ปริมาณสูงมาก ประมาณ 500-1,000 แกลลอนต่อ นาที เป็นน้าจืดใช้ในการบริโภค และเพาะปลูกได้ นอกจากนี้ยังมีในบริเวณอื่น ๆ ที่เป็นแหล่งน้าบาดาล คือ แอ่งเชียงราย ลาปาง แพร่เป็นต้น แต่การขุดเจาะน้าบาดาล ในบริเวณภูเขาจะเจาะเพื่อนามาใช้ลาบากกว่าบริเวณที่ราบ ทรัพยากรป่าไม้และพืชพรรณธรรมชาติ จังหวัดที่มีป่าไม้มากที่สุดของภาคเหนือคือ จ.เชียงใหม่14,060 ตร.กม รองลงมาคือ จ.แม่ฮ่องสอน 8,763 ตร.กม จังหวัดที่มีป่าไม้หนา แน่นที่สุดคือ จ.เชียงใหม่( ร้อยละ 70.0 ของพื้นที่จังหวัด) จังหวัดที่มีป่าไม้เบาบางที่สุดคือ จ.เชียงราย (ร้อยละ 32.7 ของพื้นที่จังหวัด) ป่าไม้ใน ภาคเหนืออาจจาแนกตามลักษณะ ของพืชพรรณ ที่ขึ้นได้ดังนี้ 1.ป่าเบญจพรรณ หรือเรียกว่า " ป่าผสมผลัดใบ" หรือ "ป่าโปร่งผสม" มีถึงร้อยละ 46 ของพื้นที่ป่าไม้ทั้งหมดของภาคเหรือ ป่าเบญจ พรรณที่มีไม้สักขึ้นอยู่ทั่วไป เรียกว่า "ป่าสัก" ซึ่งมีอยู่ในทุกจังหวัดของภาคเหนือ (และรองลงมาถึงตากและกาญจนบุรี) ถ้าเป็นที่ราบหรือบริเวณเชิง เขาที่มีดินค่อนข้างแห้งหรือเป็นดินกรวดลูกรัง จะมีป่าแดงหรือป่าแพะ
  • 4. 2.ป่าดิบ ในภาคเหนือมีป่าดิบแล้ง พบตามที่ลุ่มชื้น ริมห้วย ลาธารและตามริมแม่น้าใหญ่จนถึงระดับสูง 1,000 เมตรเหนือระดับน้าทะเลและมี ป่าดิบเขาใน ประเทศไทยมีอยู่ในภาคเหนือ ที่ระดับสูงกว่า 1,000 เมตรจากระดับน้าทะเลขึ้นไป มีไม้จาปีและไม้เมืองหนาวขึ้นอยู่ทั่วไป เป็นพื้นที่ ๆถูก ถากถางเพื่อทาไร่เลื่อนลอย ซึ่งปัจจุบันได้มีการส่งเสริมการปลูกผักและผลไม้เมืองหนาว และให้ชาวไทยภูเขาทาการเกษตรอยู่กับที่ 3.ป่าสนเขา ส่วนใหญ่พบอยู่บนเขาที่สูงเหนือระดับน้าทะเลตั้งแต่ 700 เมตรขึ้นไป ป่าสนที่ปรากฏอยู่ในภาคเหนือนั้น มีทั้งที่ขึ้นปะปนอยู่กับไม้ ชนิดอื่น เช่นรัง เต็ง เหียง พลวง หรือขึ้นเป็นป่าสนล้วน แม่น้า แม่น้าสายสาคัญในภาคเหนือ แบ่งออกเป็น 3 พวก ได้แก่ 1. พวกที่ไหลจากเหนือลงใต้ ได้แก่แม่น้าปิง แม่น้าแจ่ม แม่น้าตื่น แม่น้างัด แม่น้ากวง แม่น้าทา แม่น้าวัง แม่น้าจาง แม่น้ายม แม่น้าน่าน และแม่น้าปาด 2. พวกที่ไหลจากใต้ขึ้นเหนือ ได้แก่แม่น้าอิง แม่น้าลาว แม่น้ากก แม่น้าจัน และแม่น้าลี้ 3. พวกที่ไหลไปลงทางด้านพม่า ได้แก่แม่น้าเมย แม่น้ายวม และแม่น้าปาย ซึ่งไหลบรรจบกับแม่น้าสาละวิน ลักษณะนิสัยของชาวเหนือสังเกตได้จากภาษาพูด ซึ่งเป็นภาษาไทยท้องถิ่นที่มีความไพเราะอ่อนหวาน แสดงถึงความ สุภาพอ่อนโยนในจิตใจ ความโอบอ้อมอารี และความเป็นมิตร งานหัตถกรรมมากมายที่สร้างสรรค์เป็นข้าวของเครื่องใช้ และของที่ระลึกที่ได้รับความนิยมจนกลายเป็นสินค้าส่งออกที่นารายได้เข้าประเทศนั้น ก็เป็นสิ่งหนึ่งที่สามารถบ่งบอกความ เป็นชาวไทยภาคเหนือได้เป็นอย่างดี ทรัพยากรสัตว์ป่า ภาคเหนือเป็นภาคที่เคยอุดมสมบูรณ์ด้วยป่าไม้และมีสัตว์ป่านานาชนิดอาศัยอยู่มาก ในปัจจุบันนี้ป่าไม้ถูกทาลายลง จานวนสัตว์ป่าก็ลดน้อยลงด้วย สัตว์ที่ยัง มีปรากฏถ้าแบ่งตามประเภทของสัตว์ป่าก็มีอยู่หลายชนิดได้แก่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น ลิง ค่างและชะนี สัตว์กีบ เช่น หมูป่ากวาง เลียงผาและสัตว์กินเนื้อเป็นอาหาร เช่น หมีเสือ หมีควายหรือหมีดา ซึ่งสัตว์เหล่านี้อาศัยอยู่ในบริเวณภูเขาสูงและหุบเขา ส่วนพวกสัตว์ที่ยังมีอยู่มาก
  • 5. ได้แก่พวกแมลง นก ผีเสื้อประเภทต่าง ๆ และสัตว์เลื้อยคลาน พบในเขตป่าดิบขึ้นตามแม่น้าลาห้วย เนื่องจากในภาคเหนือไม่มีแม่น้าลาคลองมากเท่ากับภาคกลาง จึงไม่มีสัตว์น้ามากนักมีแต่สัตว์น้าที่อาศัยอยู่ ตามลาห้วย เช่น กุ้ง ปู ตามแถบภูเขาสัตว์ป่าประเภทต่าง ๆ ก็ลดจานวนลง โดยเฉพาะสัตว์ป่าที่มีขนาดใหญ่ เช่นหมี เสือ ควายป่า เป็นต้น ทรัพยากรแร่ธาตุ ภาคเหนือเป็นภาคที่อุดมด้วยทรัพยากรแร่ธาตุภาคหนึ่งของประเทศไทย เพราะมีภูมิประเทศที่มีโครงสร้างเป็นภูเขา เนินเขาและแอ่งแผ่นดินในยุคกลางเก่า กลางใหม่ ที่บริเวณตอนกลางที่ผ่านการสุกกร่อนและมีการเปลี่ยนแปลงของแผ่นดิน โดยเฉพาะภูเขาทางตะวันตกที่เป็นแนวของทิวเขา อุดมด้วยแร่โลหะ แร่อโลหะและแร่เชื้อเพลิง แร่โลหะ ที่สาคัญที่พบตามภูเขาหินแกรนิตในภาคเหนือ ได้แก่ 1.แร่ดีบุก แหล่งแร่ดีบุกที่พบในภาคเหนือ อยู่ในเขตภูเขาของจังหวัดที่อยู่ทางเหนือและทางภาคตะวันตกของภาค คือ จ. แม่ฮ่องสอน จ.เชียงใหม่ จ.ลาปาง จ.เชียงราย แต่มีปริมาณการผลิตไม่มากเท่ากับแหล่งดีบุกสาคัญทางภาคใต้ 2.ทังสเตนหรือวุลแฟรมที่พบมากในภาคเหนือคือแหล่งแร่ซีไรท์ เป็นแร่ที่สาคัญทางเศรษฐกิจการค้าและยุทธปัจจัยสาคัญ มีการทาเหมืองที่ อ.ดอยหมอก อ.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย และพบแถบภูเขาสูงในเขต จ.แม่ฮ่องสอนมีเหมืองดาเนินการผลิตถึง 10 เหมือง ที่สาคัญคือเหมืองที่ อ.แม่ลาน้อย เหมืองห้วยหลวง และเหมืองแม่สะเรียง ทางด้านตะวันตกของลุ่งน้ายวม 3.ตะกั่วและสังกะสี แร่ตะกั่วและสังกะสีมักจะเกิดร่วมกันแต่ที่พบยังมีปริมาณน้อย ไม่เพียงพอที่จะนามาใช้ในเชิงพาณิชย์เหมือนที่พบในภาคตะวันตก ในภาคเหนือมีแหล่งแร่ตะกั่วและสังกะสีในแถบ จ.แม่ฮ่องสอน จ.เชียงใหม่จ.ลาปางและ จ.แพร่ 4.ทองแดง แหล่งแร่ทองแดงมีอยู่หลายแห่งของประเทศ แต่เป็นแหล่งแร่ที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจเพียงไม่กี่แห่ง บริเวณที่พบสาคัญได้แก่ในเขตจังหวัดทาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น จ.นครราชสีมา เลยแต่ที่ภาคเหนือพบในเขต จ.อุตรดิตถ์ จ.แพร่ จ.น่าน และ จ.ลาปาง 5.เหล็ก แหล่งแร่เหล็กในประเทศไทยมีหลายแห่งเช่นกัน ทั้งที่กาลังมีการผลิตที่ผลิตหมดไปแล้ว แต่แหล่งที่น่าสนใจที่อาจมีค่าในอนาคต ได้แก่ที่ อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์ ที่เขาทับควาย จ.ลพบุรี แหล่งภูยาง อ.เชียงคาน จ.เลย แหล่งอึมครึม จ.กาญจนบุรี ในภาคเหนือพบที่ อ. แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ แหล่งเดิม อ.เถิน จ.ลาปาง
  • 6. 6.แมงกานีส แหล่งแมงกานีสในภาคเหนือมีแหล่งผลิตที่สาคัญอยู่ในจ.ลาพูน จ.เชียงใหม่จ.ลาปาง จ.แพร่ จ.เชียงรายและ จ.น่าน 7.นิกเกิลและโครมียมพบที่ บ.ห้วยยาง อ.ท่าปลา จ.อุตรดิตถ์ นอกจากนี้ยังมีแร่โครไมต์ที่ให้โลหะโครเมียม ซึ่งเป็นแร่ผสมเหล็ก แร่อโลหะ ที่สาคัญที่พบในภาคเหนือ ได้แก่ 1.ฟลูออไรต์ แหล่งแร่ฟลูออไรต์ที่สาคัญของประเทศพบในภาคเหนือและภาคตะวันตก ได้แก่ที่ อ.บ้านโฮ่ง อ.ป่าซาง จ.ลาพูน อ.ฝาง .แม่แจ่มอ.ฮอด อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน นอกจากนี้ก็มีที่ภาคตะวันตกแภาคใต้ของไทยอีกด้วย 2.แบไรต์ แหล่งแร่แบไรต์ที่สาคัญ นอกจากจะมีมากในภาคใต้ที่บริเวณเขาหลวง จ.นครศรีธรรมราชและใน จ.สุราษฎร์ธานีแล้ว ยังมีแหล่งสาคัญในภาคเหนืออีกที่ บริเวณภูไม้ตอง อ.ดอยเต่า อ.ฮอด จ.เชียงใหม่นอกจากนี้ยังมีใน จ.แม่ฮ่องสอนจ.ลาพูน ลาปางอุตรดิตถ์ เชียงรายและแพร่ 3.ยิปซัม แหล่งยิปซัมที่สาคัญมีที่ จ.นครสวรรค์และพิจิตร ในภาคเหนือได้แก่ แหล่งแม่เมาะอ.แม่เมาะจ.ลาปาง แหล่งแม่กั๊วะอ.เกาะคา จ.ลาปาง และแหล่งสองห้อง อ.น้าปาด จ.อุตรดิตถ์ 4.ฟอสเฟต มีแหล่งเล็ก ๆอยู่ที่ ต.นาแก้ว อ.เกาะคา จ.ลาปาง 5.ดินขาวหรือดินเกาลินได้มีการพบและผลิตดินขาวในหลายบริเวณทั้งภาคเหนือ ภาคกลางและภาคใต้ ในภาคเหนือมีแหล่งดินขาวที่ อ.แจ้ห่ม จ.ลาปาง นอกจากนี้ยังมีแร่อโลหะอื่น ๆ ที่พบในภาคเหนืออีกเช่น แร่หินม้าที่ จ.เชียงใหม่แม่ฮ่องสอนแร่ใยหินพบในจ.อุตรดิตถ์ แร่เชื้อเพลิง ที่สาคัญทางเศรษฐกิจ คือมีกาารนามาใช้เป็นเชื้อเพลิงสาคัญในโรงงานไฟฟ้า เครื่องจักรกล โรงงานอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์และในกิจการขนส่งต่าง ๆ เช่นในเครื่องบิน รถยนต์ เรือยนต์ เป็นต้น 1.หินน้ามัน พบที่บ.ป่าคา อ.ลี้ จ.ลาพูน แต่ยังไม่ได้นามาใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ เนื่องจากการแยกน้ามันออกจากหินน้ามันต้องลงทุนสูง 2.ปิโตรเลียม น้ามันดิบ กาาซธรรมชาติเหลว พบที่ อ.ฝาง จ.เชียงใหม่นามาใช้เป็นน้ามันหล่อลื่น น้ามันดีเซลหมุนเร็วปานกลางและน้ามันเตา 3.ลิกไนต์ พบที่ อ.แม่เมาะอ.แม่ทะจ.ลาปาง ใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงงานบ่มยา โรงไฟฟ้า Back