SlideShare a Scribd company logo
เรื่อง การจัดการสารสนเทศ
มนุษย์ให้ความสนใจกับข้อมูลและสารสนเทศมาตั้งแต่ในอดีต มีการเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศ
หลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ และอินเทอร์เน็ต ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตนับเป็น
เครือข่ายการสื่อสารที่ครอบคลุมทั่วโลก มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลและสารสนเทศที่สะดวก รวดเร็ว เป็น
แหล่งข้อมูลที่ทุกคนเข้าถึงได้ตลอดเวลา การที่มนุษย์ให้ความสนใจกับข้อมูลและสารสนเทศนั้น เนื่องมาจาก
มนุษย์ต้องใช้ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจไม่ว่าจะเป็นการตัดสินใจในเรื่องเล็ก ๆ เช่น เลือกซื้อสินค้า
จนถึงการตัดสินใจในเรื่องใหญ่ เช่น การตัดสินใจลงทุนทาธุรกิจ
รูปภาพที่ 1 กระบวนการทางานการจัดการสารสนเทศ
1. ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริง (Fact) ที่อยู่ในรูปแบบตัวอักษร ตัวเลข รูปภาพ สัญลักษณ์
และเสียง ซึ่งเป็นสิ่งที่มนุษย์รับรู้และเข้าใจ เพราะมีความหมายอยู่ในตัว เช่น ชื่อนักเรียน อายุ เพศ จานวน
ประชากร
ข้อมูลมีความสาคัญมาก หากข้อมูลที่ป้อนให้คอมพิวเตอร์ผิด ผลลัพธ์ที่ได้จากคอมพิวเตอร์จะผิด
ด้วย หรือเรียกว่า ป้อนขยะเข้าย่อมได้ขยะออกมา (garbage in-garbage out)
รูปภาพที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ
สารสนเทศ (Information) หมายถึง เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งได้ผ่านการประมวลผลใน
คอมพิวเตอร์ จนกระทั่งได้สารสนเทศที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น คะแนนสอบประมวลผล
เป็นคะแนนเฉลี่ย ข้อมูลทรัพยากรอากาศประมวลผลเป็นพยากรณ์อากาศ เป็นต้น
รูปภาพที่ 3 สารสนเทศ
การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศจะต้องมีการควบคุมเป็นอย่างดี เช่น อาจจะมีการกาหนดให้ผู้ใด
บ้างเป็นผู้มีสิทธิ์ใช้ข้อมูล ข้อมูลที่เป็นความลับจะต้องมีระบบขั้นตอนการควบคุม กาหนดสิทธิ์ในการแก้ไขหรือ
การกระทากับข้อมูลว่าจะกระทาได้โดยกับใครบ้าง นอกจากนี้ข้อมูลที่เก็บไว้แล้วต้องไม่เกิดการสูญหายหรือถูก
ทาลายโดยไม่ได้ตั้งใจ
การประมวลผลข้อมูล (processing) หมายถึง การกระทาของเครื่องคอมพิวเตอร์กับข้อมูล เช่น
การรวบรวมเป็นแฟ้มข้อมูล การคานวณ การเปรียบเทียบ การเรียงลาดับ การจัดกลุ่มข้อมูล การจัดทารายงาน
เป็นต้น
รูปภาพที่ 4 การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
2. ประเภทของข้อมูล
ข้อมูลแบ่งได้หลายประเภทขึ้นอยู่กับหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ในที่นี้ใช้ลักษณะของการรวบรวม
ข้อมูลเป็นเกณฑ์ ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้
2.1 ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) คือ ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่ได้จากการเก็บข้อมูลจาก
แหล่งข้อมูลโดยตรง เช่น ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ การสังเกต การทดลอง การทดสอบ ข้อมูลการเข้าเรียนของ
นักเรียนแต่ละภาคการศึกษา ซึ่งเก็บข้อมูลด้วยวิธีเช็คชื่อเข้าเรียน เป็นต้น
รูปภาพที่ 5 ข้อมูลปฐมภูมิ
2.2 ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) คือ ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่ได้จากการนาข้อมูลที่ผู้อื่น
รวบรวมไว้อย่างเป็นระบบ มาใช้งานโดยไม่ต้องลงมือเก็บรวบรวมเอง เช่น สถิติจานวนประชากรที่กรมการ
ปกครอง กระทรวงมหาดไทยรวบรวมและตีพิมพ์เผยแพร่ ซึ่งสามารถนาเอาไปทาการประมวลผลต่อได้ เป็นต้น
.
รูปภาพที่ 6 ข้อมูลทุติยภูมิ
3. วิธีการประมวลผลข้อมูล
วิธีการประมวลผลข้อมูลโดยอาศัยเครื่องคอมพิวเตอร์ มี 2 วิธี คือ
3.1 การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (Online processing) เป็นวิธีการนาเข้าข้อมูลแต่ละรายการที่
ถูกบันทึกเข้ามาประมวลผลทันที นิยมใช้ในงานที่ต้องได้ผลลัพธ์ให้กับผู้ใช้ทันที หรือในงานที่ข้อมูลจะต้อง
ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา เช่น เมื่อนักเรียนเบิกเงินจากตู้เอทีเอ็ม รายการการเบิกเงินของนักเรียนแต่ละครั้งจะไป
ประมวลผลที่เครื่องหลักที่อาจอยู่ห่างไกลทันที โดยข้อมูลจะถูกนาไปคานวณและบันทึกยอดคงเหลือในบัญชี
เงินฝากของนักเรียน เป็นต้น
รูปภาพที่ 7 การประมวลผลแบบเชื่อมตรง
รูปภาพที่ 8 การประมวลผลแบบเชื่อมตรงของตู้ ATM
3.2 การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch processing) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลในแต่ละช่วงเวลา
หนึ่งและนาข้อมูลที่ได้รับในช่วงเวลาดังกล่าวมาประมวลผลพร้อมกัน เช่น การเก็บข้อมูลเวลาเข้าออกของ
นักเรียน และเมื่อถึงสิ้นเดือนโรงเรียนจะนาข้อมูลมาประมวลผลเป็นรายงานการเข้าชั้นเรียนของนักเรียน
ประจาเดือน เป็นต้น
รูปภาพที่ 9 การประมวลผลแบบกลุ่ม
รูปภาพที่ 10 ประมวลผลแบบกลุ่มระบบเข้าออกประตูโรงเรียน
4. การจัดการสารสนเทศ
การจัดการสารสนเทศ คือ ขั้นตอนหรือกิจกรรมในการดาเนินการเพื่อสร้างสารสนเทศ ซึ่งมี
รายละเอียดของขั้นตอนต่างๆ ดังนี้
4.1 การรวบรวมข้อมูลและการตรวจสอบข้อมูล
- การรวบรวมข้อมูล คือ การเสาะหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นมารวมกัน ซึ่งการรวบรวม
ข้อมูลสามารถทาได้โดยการเป็นข้อมูลจากแบบสอบถาม การสัมภาษณ์ การสังเกต การป้อนข้อมูลเข้าเครื่อง
คอมพิวเตอร์ เป็นต้น ตัวอย่างเช่น โรงเรียนรวบรวมข้อมูลโดยให้นักเรียนกรอกแบบฟอร์มประวัตินักเรียน
ร้านค้ารวบรวมข้อมูลการขายโดยการป้อนข้อมูลการขายสินค้าให้กับลุกค้าแต่ละรายในเครื่องคอมพิวเตอร์
เป็นต้น
รูปภาพที่ 11 การรวบรวมข้อมูล
- การตรวจสอบข้อมูล คือ การพิสูจน์ความถูกต้องของข้อมูล หากพบว่าข้อมูลผิดก็จะทาการ
แก้ไข การตรวจสอบข้อมูลที่ป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ อาจทาได้โดยการให้ผู้ป้อนข้อมูล 2 คน ป้อนข้อมูลชุด
เดียวกันแล้วนามาเปรียบเทียบกัน
รูปภาพที่ 12 การตรวจสอบข้อมูล
4.2 การประมวลผลข้อมูล
เป็นการกระทาของเครื่องคอมพิวเตอร์กับข้อมูล ได้แก่ การรวบรวมแฟ้มข้อมูล การคานวณ การ
เปรียบเทียบ การเรียงลาดับ การจัดกลุ่มข้อมูล และการจัดทารายงาน
รูปภาพที่ 13 การประมวลผลข้อมูล
4.3 การดูแลรักษาข้อมูล
- การจัดเก็บข้อมูล หมายถึง การป้อนข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์รวมถึงการบันทึกข้อมูลไว้ใน
หน่วยเก็บข้อมูลสารอง เช่น ฮาร์ดดิสก์ แฟลชไดรฟ์ เป็นต้น
รูปภาพที่ 14 การจัดเก็บข้อมูล
- การทาสาเนาข้อมูล หมายถึง การคัดลอกข้อมูลจากแฟ้มต้นฉบับและบันทึกไว้ในหน่วยเก็บ
ข้อมูลสารอง เช่น ซีดีรอม เพื่อใช้ในกรณีที่เครื่องคอมพิวเตอร์เสียหาย ซึ่งอาจทาให้ข้อมูลสูญหายได้ ส่วนใหญ่
ข้อมูลที่สาคัญก็จะมีการสารองข้อมูลไว้ทุกวันหรือทุกสัปดาห์ ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่คัดลอกมา เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
สารอง (Backup file)
รูปภาพที่ 15 การทาสาเนาข้อมูล
- การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การนาข้อมูลและสารสนเทศมาเผยแพร่หรือส่งต่อให้กับผู้ใช้งานที่
อยู่ห่างไกล ปัจจุบันนิยมใช้ส่งหรือเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศผ่านอินเทอร์เน็ต เนื่องจากเป็นเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ที่ครอบคลุมทั่วโลก
รูปภาพที่ 16 การสื่อสารข้อมูล
- การปรับปรุงข้อมูล หมายถึง การแก้ไขข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน ไม่ล้าสมัย เพื่อให้ข้อมูลมีความ
เหมาะสมกับการทางาน
รูปภาพที่ 17 การปรับปรุงข้อมูล
สรุปได้ว่า การจัดการสารสนเทศ เป็นสิ่งที่มีประโยชน์และจาเป็นสาหรับการใช้งานในด้าน ต่าง ๆ
การจัดการสารสนเทศนั้นหมายรวมถึงขั้นตอนการดาเนินงานต่าง ๆ ตั้งแต่เริ่มต้นจนได้มาซึ่งสารสนเทศ การ
ดาเนินการเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศนั้นมีหลายขั้นตอนเริ่มตั้งแต่การรวบรวมข้อมูล ตรวจสอบข้อมูล การ
ประมวลผล และการดูแลรักษา การมีความรู้ความเข้าใจถึงกระบวนการในการจัดการสารสนเทศ จะทาให้
สามารถนาสารสนเทศมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้

More Related Content

What's hot

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Krieangsak Pholwiboon
 
Work3-30
Work3-30Work3-30
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังpattaranit
 
โบว์แคช
โบว์แคชโบว์แคช
โบว์แคชwannuka24
 
โบว์แคช
โบว์แคชโบว์แคช
โบว์แคชwannuka24
 
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
kroobee
 
หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5
niramon_gam
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1chushi1991
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1chushi1991
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 
ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)
ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)
ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)
Arthit Suriyawongkul
 

What's hot (12)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Work3-30
Work3-30Work3-30
Work3-30
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
โบว์แคช
โบว์แคชโบว์แคช
โบว์แคช
 
โบว์แคช
โบว์แคชโบว์แคช
โบว์แคช
 
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
 
หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)
ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)
ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)
 

Similar to เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
krukea
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วfrankenjay
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2sawitri555
 
หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5ratiporn555
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศKrunee Thitthamon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศRattana234
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศRattana234
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศRattana234
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศRattana234
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศRattana234
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศRattana234
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Tarinee Bunkloy
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
sudjai007
 

Similar to เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศ (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2
 
หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

More from Nattayaporn Dokbua

แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ Newแผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ NewNattayaporn Dokbua
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
Nattayaporn Dokbua
 
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
Nattayaporn Dokbua
 
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยกลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
Nattayaporn Dokbua
 
โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)
โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)
โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)
Nattayaporn Dokbua
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
Nattayaporn Dokbua
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา
ร่างหลักสูตรสถานศึกษาร่างหลักสูตรสถานศึกษา
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา
Nattayaporn Dokbua
 
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบกลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
Nattayaporn Dokbua
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
Nattayaporn Dokbua
 
การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1
การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1
การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1
Nattayaporn Dokbua
 

More from Nattayaporn Dokbua (10)

แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ Newแผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
 
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
 
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยกลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
 
โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)
โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)
โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา
ร่างหลักสูตรสถานศึกษาร่างหลักสูตรสถานศึกษา
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา
 
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบกลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
 
การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1
การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1
การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1
 

Recently uploaded

Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 

Recently uploaded (6)

Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 

เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศ

  • 1. เรื่อง การจัดการสารสนเทศ มนุษย์ให้ความสนใจกับข้อมูลและสารสนเทศมาตั้งแต่ในอดีต มีการเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศ หลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ และอินเทอร์เน็ต ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตนับเป็น เครือข่ายการสื่อสารที่ครอบคลุมทั่วโลก มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลและสารสนเทศที่สะดวก รวดเร็ว เป็น แหล่งข้อมูลที่ทุกคนเข้าถึงได้ตลอดเวลา การที่มนุษย์ให้ความสนใจกับข้อมูลและสารสนเทศนั้น เนื่องมาจาก มนุษย์ต้องใช้ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจไม่ว่าจะเป็นการตัดสินใจในเรื่องเล็ก ๆ เช่น เลือกซื้อสินค้า จนถึงการตัดสินใจในเรื่องใหญ่ เช่น การตัดสินใจลงทุนทาธุรกิจ รูปภาพที่ 1 กระบวนการทางานการจัดการสารสนเทศ
  • 2. 1. ข้อมูลและสารสนเทศ ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริง (Fact) ที่อยู่ในรูปแบบตัวอักษร ตัวเลข รูปภาพ สัญลักษณ์ และเสียง ซึ่งเป็นสิ่งที่มนุษย์รับรู้และเข้าใจ เพราะมีความหมายอยู่ในตัว เช่น ชื่อนักเรียน อายุ เพศ จานวน ประชากร ข้อมูลมีความสาคัญมาก หากข้อมูลที่ป้อนให้คอมพิวเตอร์ผิด ผลลัพธ์ที่ได้จากคอมพิวเตอร์จะผิด ด้วย หรือเรียกว่า ป้อนขยะเข้าย่อมได้ขยะออกมา (garbage in-garbage out) รูปภาพที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ สารสนเทศ (Information) หมายถึง เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งได้ผ่านการประมวลผลใน คอมพิวเตอร์ จนกระทั่งได้สารสนเทศที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น คะแนนสอบประมวลผล เป็นคะแนนเฉลี่ย ข้อมูลทรัพยากรอากาศประมวลผลเป็นพยากรณ์อากาศ เป็นต้น รูปภาพที่ 3 สารสนเทศ
  • 3. การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศจะต้องมีการควบคุมเป็นอย่างดี เช่น อาจจะมีการกาหนดให้ผู้ใด บ้างเป็นผู้มีสิทธิ์ใช้ข้อมูล ข้อมูลที่เป็นความลับจะต้องมีระบบขั้นตอนการควบคุม กาหนดสิทธิ์ในการแก้ไขหรือ การกระทากับข้อมูลว่าจะกระทาได้โดยกับใครบ้าง นอกจากนี้ข้อมูลที่เก็บไว้แล้วต้องไม่เกิดการสูญหายหรือถูก ทาลายโดยไม่ได้ตั้งใจ การประมวลผลข้อมูล (processing) หมายถึง การกระทาของเครื่องคอมพิวเตอร์กับข้อมูล เช่น การรวบรวมเป็นแฟ้มข้อมูล การคานวณ การเปรียบเทียบ การเรียงลาดับ การจัดกลุ่มข้อมูล การจัดทารายงาน เป็นต้น รูปภาพที่ 4 การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
  • 4. 2. ประเภทของข้อมูล ข้อมูลแบ่งได้หลายประเภทขึ้นอยู่กับหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ในที่นี้ใช้ลักษณะของการรวบรวม ข้อมูลเป็นเกณฑ์ ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 2.1 ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) คือ ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่ได้จากการเก็บข้อมูลจาก แหล่งข้อมูลโดยตรง เช่น ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ การสังเกต การทดลอง การทดสอบ ข้อมูลการเข้าเรียนของ นักเรียนแต่ละภาคการศึกษา ซึ่งเก็บข้อมูลด้วยวิธีเช็คชื่อเข้าเรียน เป็นต้น รูปภาพที่ 5 ข้อมูลปฐมภูมิ 2.2 ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) คือ ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่ได้จากการนาข้อมูลที่ผู้อื่น รวบรวมไว้อย่างเป็นระบบ มาใช้งานโดยไม่ต้องลงมือเก็บรวบรวมเอง เช่น สถิติจานวนประชากรที่กรมการ ปกครอง กระทรวงมหาดไทยรวบรวมและตีพิมพ์เผยแพร่ ซึ่งสามารถนาเอาไปทาการประมวลผลต่อได้ เป็นต้น . รูปภาพที่ 6 ข้อมูลทุติยภูมิ
  • 5. 3. วิธีการประมวลผลข้อมูล วิธีการประมวลผลข้อมูลโดยอาศัยเครื่องคอมพิวเตอร์ มี 2 วิธี คือ 3.1 การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (Online processing) เป็นวิธีการนาเข้าข้อมูลแต่ละรายการที่ ถูกบันทึกเข้ามาประมวลผลทันที นิยมใช้ในงานที่ต้องได้ผลลัพธ์ให้กับผู้ใช้ทันที หรือในงานที่ข้อมูลจะต้อง ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา เช่น เมื่อนักเรียนเบิกเงินจากตู้เอทีเอ็ม รายการการเบิกเงินของนักเรียนแต่ละครั้งจะไป ประมวลผลที่เครื่องหลักที่อาจอยู่ห่างไกลทันที โดยข้อมูลจะถูกนาไปคานวณและบันทึกยอดคงเหลือในบัญชี เงินฝากของนักเรียน เป็นต้น รูปภาพที่ 7 การประมวลผลแบบเชื่อมตรง รูปภาพที่ 8 การประมวลผลแบบเชื่อมตรงของตู้ ATM
  • 6. 3.2 การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch processing) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลในแต่ละช่วงเวลา หนึ่งและนาข้อมูลที่ได้รับในช่วงเวลาดังกล่าวมาประมวลผลพร้อมกัน เช่น การเก็บข้อมูลเวลาเข้าออกของ นักเรียน และเมื่อถึงสิ้นเดือนโรงเรียนจะนาข้อมูลมาประมวลผลเป็นรายงานการเข้าชั้นเรียนของนักเรียน ประจาเดือน เป็นต้น รูปภาพที่ 9 การประมวลผลแบบกลุ่ม รูปภาพที่ 10 ประมวลผลแบบกลุ่มระบบเข้าออกประตูโรงเรียน
  • 7. 4. การจัดการสารสนเทศ การจัดการสารสนเทศ คือ ขั้นตอนหรือกิจกรรมในการดาเนินการเพื่อสร้างสารสนเทศ ซึ่งมี รายละเอียดของขั้นตอนต่างๆ ดังนี้ 4.1 การรวบรวมข้อมูลและการตรวจสอบข้อมูล - การรวบรวมข้อมูล คือ การเสาะหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นมารวมกัน ซึ่งการรวบรวม ข้อมูลสามารถทาได้โดยการเป็นข้อมูลจากแบบสอบถาม การสัมภาษณ์ การสังเกต การป้อนข้อมูลเข้าเครื่อง คอมพิวเตอร์ เป็นต้น ตัวอย่างเช่น โรงเรียนรวบรวมข้อมูลโดยให้นักเรียนกรอกแบบฟอร์มประวัตินักเรียน ร้านค้ารวบรวมข้อมูลการขายโดยการป้อนข้อมูลการขายสินค้าให้กับลุกค้าแต่ละรายในเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น รูปภาพที่ 11 การรวบรวมข้อมูล - การตรวจสอบข้อมูล คือ การพิสูจน์ความถูกต้องของข้อมูล หากพบว่าข้อมูลผิดก็จะทาการ แก้ไข การตรวจสอบข้อมูลที่ป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ อาจทาได้โดยการให้ผู้ป้อนข้อมูล 2 คน ป้อนข้อมูลชุด เดียวกันแล้วนามาเปรียบเทียบกัน รูปภาพที่ 12 การตรวจสอบข้อมูล
  • 8. 4.2 การประมวลผลข้อมูล เป็นการกระทาของเครื่องคอมพิวเตอร์กับข้อมูล ได้แก่ การรวบรวมแฟ้มข้อมูล การคานวณ การ เปรียบเทียบ การเรียงลาดับ การจัดกลุ่มข้อมูล และการจัดทารายงาน รูปภาพที่ 13 การประมวลผลข้อมูล 4.3 การดูแลรักษาข้อมูล - การจัดเก็บข้อมูล หมายถึง การป้อนข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์รวมถึงการบันทึกข้อมูลไว้ใน หน่วยเก็บข้อมูลสารอง เช่น ฮาร์ดดิสก์ แฟลชไดรฟ์ เป็นต้น รูปภาพที่ 14 การจัดเก็บข้อมูล
  • 9. - การทาสาเนาข้อมูล หมายถึง การคัดลอกข้อมูลจากแฟ้มต้นฉบับและบันทึกไว้ในหน่วยเก็บ ข้อมูลสารอง เช่น ซีดีรอม เพื่อใช้ในกรณีที่เครื่องคอมพิวเตอร์เสียหาย ซึ่งอาจทาให้ข้อมูลสูญหายได้ ส่วนใหญ่ ข้อมูลที่สาคัญก็จะมีการสารองข้อมูลไว้ทุกวันหรือทุกสัปดาห์ ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่คัดลอกมา เรียกว่า แฟ้มข้อมูล สารอง (Backup file) รูปภาพที่ 15 การทาสาเนาข้อมูล - การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การนาข้อมูลและสารสนเทศมาเผยแพร่หรือส่งต่อให้กับผู้ใช้งานที่ อยู่ห่างไกล ปัจจุบันนิยมใช้ส่งหรือเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศผ่านอินเทอร์เน็ต เนื่องจากเป็นเครือข่าย คอมพิวเตอร์ที่ครอบคลุมทั่วโลก รูปภาพที่ 16 การสื่อสารข้อมูล
  • 10. - การปรับปรุงข้อมูล หมายถึง การแก้ไขข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน ไม่ล้าสมัย เพื่อให้ข้อมูลมีความ เหมาะสมกับการทางาน รูปภาพที่ 17 การปรับปรุงข้อมูล สรุปได้ว่า การจัดการสารสนเทศ เป็นสิ่งที่มีประโยชน์และจาเป็นสาหรับการใช้งานในด้าน ต่าง ๆ การจัดการสารสนเทศนั้นหมายรวมถึงขั้นตอนการดาเนินงานต่าง ๆ ตั้งแต่เริ่มต้นจนได้มาซึ่งสารสนเทศ การ ดาเนินการเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศนั้นมีหลายขั้นตอนเริ่มตั้งแต่การรวบรวมข้อมูล ตรวจสอบข้อมูล การ ประมวลผล และการดูแลรักษา การมีความรู้ความเข้าใจถึงกระบวนการในการจัดการสารสนเทศ จะทาให้ สามารถนาสารสนเทศมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้