SlideShare a Scribd company logo
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต 
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต –ด้านการศึกษา 
เป็นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลด้านการบันเทิง ด้าน การแพทย์ และอื่นๆที่เราสนใจ เป็นต้น 
ทาหน้าที่เสมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่ หรือคลังหนังสือมหาศาล 
นักเรียน และนักศึกษาสามารถใช้อินเทอร์เน็ตติดต่อกับโรงเรียน และมหาวิทยาลัยอื่นๆ เพื่อค้นหาข้อมูลที่กาลังศึกษาอยู่ได้ ทั้งที่ ข้อมูลที่เป็นข้อความ เสียง และภาพเคลื่อนไหวต่างๆ 
ทาการเรียนการสอนผ่านระบบอินเตอร์เน็ตได้
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต –ด้านธุรกิจและเชิงพาณิชย์ 
เป็นแหล่งค้นหาข้อมูลเพื่อช่วยในการตัดสินใจทางธุรกิจ 
สามารถซื้อ –ขายสินค้าผ่านระบบอินเทอร์เน็ต 
บริษัทหรือองค์กรต่างๆสามารถให้บริการและสนับสนุนลูกค้าผ่านระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ เช่น การให้คาแนะนา ตอบปัญหาต่างๆให้แก่ ลูกค้า เป็นต้น 
ทาการตลาด การโฆษณาผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต –ด้านความบันเทิง 
ค้นหา Magazine online รวมทั้งหนังสือพิมพ์และข่าวสารอื่นๆได้ 
ฟังวิทยุผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ 
สามารถดึงดาวน์โหลด (Download) ภาพยนตร์ตัวอย่างทั้งภาพยนตร์ ใหม่และเก่ามาดูได้
นอกจากนี้ยังมีประโยชน์มีความสาคัญในรูปแบบอื่นๆอีก 
1. ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Email) ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่ง เหมือนกับการส่งจดหมายแบบเดิมๆ แต่การส่งอีเมล์จะรวดเร็วกว่ามาก 2. โอนถ่ายข้อมูล ค้นหา และเรียกข้อมูลจากแหล่งต่างๆมาเก็บไว้ใน เครื่องของเราได้ ทั้งข้อมูลประเภทตัวหนังสือ รูปภาพ และเสียง 3. ค้นข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่มากมายจากแหล่งข้อมูลต่างๆทั่วโลกได้ ผ่านWorld wide Web4,สื่อสารด้วยข้อความ Chat เป็นการพูดคุยโดยพิมพ์ข้อความตอบ กัน การสนทนากันผ่านอินเทอร์เน็ตเปรียบเสมือนเรานั่งอยู่ในห้อง สนทนาเดียวกัน แม้อยู่คนละประเทศหรือคนละซีกโลกก็ตาม
ประวัติความเป็นมา 
อินเทอร์เน็ตเริ่มต้นมาจากกลุ่มอาชีพทหาร อินเทอร์เน็ตเกิดขึ้นที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ความหมายของอินเทอร์เน็ตเครือข่าย คอมพิวเตอร์
E-Mail หมายถึงการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ 
*ISP ทาหน้าที่ใดในระบบอินเทอร์เน็ตให้บริการเชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ตแก่หน่วยงานและบุคคลทั่วไป 
*เว็บไซต์ของกระทรวงศึกษาธิการWWW.MOE.go.th 
*เว็บไซต์ที่คนใช้มากที่สุดGoogle 
ภาษาใดที่ใช้ในการเขียนเว็บเพจเพื่อให้สามารถแสดงผลได้ในระบบ อินเทอร์เน็ตHTML
พื้นฐานการทางานของระบบอินเตอร์เน็ต 
TCP/IP ก็คือ การต่อเชื่อมเครื่องคอมพิวเตอร์หรือ อุปกรณ์ใดเข้าสู่ระบบเครือข่ายที่เป็น TCP/IP นั้นทุก เครื่องจะต้องมีหมายเลขกากับเสมอ 
IP หมายเลขนี้จะเป็นเลขฐาน 2 ขนาด 32 บิต2 จานวน 4 ชุด192.150.249.11, 64.4.43.7
Start / Run / winipcfgแล้วกด ok จะมี หน้าต่างแสดงข้อมูลเกี่ยวกับหมายเลข IP
“network etiquette” หมายถึง จรรยมารยาท ของการอยู่ร่วมกันในสังคมอินเตอร์เน็ต หรือ cyberspace 
กฏข้อที่ 1ต้องไม่ลืมว่าปลายทางอีกด้านหนึ่งของการสื่อสารนั้นที่จริง แล้วก็คือ “มนุษย์” กฎข้อที่ 2มารยาทที่เราถือปฏิบัติในสังคมมาเป็น บรรทัดฐานของการอยู่ร่วมกันแบบออนไลน์กฎข้อที่ 3ใช้งานอย่างมีสติ รู้ตัวว่าเรากาลังอยู่ ณ ที่ใดกฎข้อที่ 4“คิดสักนิดก่อน submitกฎข้อที่ 5ถ้าจะให้ “ดูดี” ก็ควรใช้ถ้อยคาที่เหมาะสมกฎข้อที่ 6การแลกเปลี่ยน ” ความรู้” กฎข้อที่ 7อย่าการใช้คาที่หยาบคายกฎข้อที่ 8รู้จักจักเคารพใน ความเป็นส่วนตัวของผู้อื่นกฎข้อที่ 9คาเตือนสาหรับผู้ที่ได้รับสิทธิพิเศษ กฎข้อที่ 10ให้คาแนะนาอย่างสุภาพ
หลักการทางานของคอมพิวเตอร์ 
1. รับข้อมูล และชุดคาสั่ง (หน้าที่ของ Input Unit) 
2. ประมวลผลข้อมูลที่ได้ ตามคาสั่งหรือชุดคาสั่ง (หน้าที่ของ CPU) 
3. แสดงผลข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว (หน้าที่ของ Output Unit) 
4. บันทึกข้อมูลลงสื่อข้อมูล เพื่อเรียกกลับมาใช้อีกครั้ง (หน้าที่ ของ Memory Unit) 
•
หน่วยรับข้อมูลแบบธรรมดา 
- เครื่องอ่านบัตรเจาะรู (Card Reader) 
- เครื่องอ่านเทปกระดาษ (Paper Tape Reader) 
- เครื่องอ่านเทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape Reader) 
- เครื่องอ่านแผ่นดิสก์แบบอ่อน (Diskette Drive หรือ Floppy Disk Drive) 
- เครื่องอ่านแผ่นดิสก์แบบแข็ง (Hard Disk Drive) 
- เครื่องอ่านแผ่นซี-ดี (CD-ROM Drive)
“คอมพิวเตอร์” ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตเราแล้ว “คอมพิวเตอร์” เข้ามามีบทบาทในงานต่าง ๆเกือบทุกด้านใน สังคมมนุษย์ 
อัลวิน ทอฟเลอร์ นักวิชาการชาวอเมริกัน (ผู้เขียนหนังสือเรื่อง Third Wave) ได้ทานายไว้ว่า 
บรรยากาศของการทางานในสานักงานสาหรับอนาคตนั้น จะไม่รกรุงรัง ด้วยกระดาษ จะไม่มีการนาข้อมูลเข้าแฟ้มผิด ๆ อีกแล้ว ข้อมูลสถิติ ทางการตลาด การขาย การบัญชี ทุกอย่างจะทันสมัย 
ทันเวลา การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารทุกรูปแบบจะเป็นไปอย่างรวดเร็ว และมีขีดความสามารถสูง
*สามารถจัดเก็บข้อมูลจากจุดเกิดได้อย่างรวดเร็ว เช่น การ ใช้รหัสแท่ง * สามารถบันทึกข้อมูลจานวนมาก ๆ เอาไว้ใช้งาน หรือ อ้างอิงได้ * สามารถคานวณหาผลลัพธ์ต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว * สามารถสร้างผลลัพธ์ได้หลากหลายรูปแบบ * สามารถส่งสารสนเทศ ข้อมูล หรือผลลัพธ์ที่ได้จากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่งได้อย่างรวดเร็วเทคโนโลยีสารสนเทศ (InformationTechnology)
คอมพิวเตอร์คืออะไร 
คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่ง ที่สามารถทางานได้เอนกประสงค์ 
ขึ้นอยู่กับคาสั่งหรือโปรแกรมต่าง ๆ ที่มนุษย์กาหนดให้ คอมพิวเตอร์ ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อวัตถุประสงค์หลักคือ การคานวณค่าต่าง ๆ แทน มนุษย์ แต่การคานวณนั้นจะต้องมีขั้นตอนที่สามารถพิสูจน์ได้ 
“มนุษย์อิเล็กทรอนิกส์ ที่มีความเป็นเลิศในด้านการคิด”
จุดด้อยของคอมพิวเตอร์ 
ไม่มีความคิดเป็นของตัวเอง จะทางานตามที่มนุษย์ สั่งเท่านั้น 
มีอายุการใช้งานไม่แน่นอน เพราะเป็นอุปกรณ์ Electronic 
ต้องระวังเรื่องความลับ และความปลอดภัยข้อมูล 
มีผลต่อสุขภาพร่างกายของผู้ใช้
หน่วยรับข้อมูลแบบพิเศษ 
*เครื่องอ่านตัวอักษรที่เขียนด้วยหมึกแม่เหล็ก (Magnetic Ink Character 
Recognition : MICR) คือหน่วยรับข้อมูลที่ใช้สาหรับอ่านข้อมูลจาก เอกสารที่ 
พิมพ์ด้วยหมึกพิมพ์ชนิดพิเศษที่ผสมด้วยสารแม่เหล็ก เช่น รหัสต่าง ๆ บนเช็ค 
ของธนาคารต่าง ๆ 
* เครื่องรับข้อมูลจากเอกสารโดยตรง เป็นเครื่องมืออ่านข้อมูลที่บันทึกอยู่ใน 
เอกสาร ในรูปของตัวพิมพ์ ลายมือ หรือเกิดจากการฝนด้วยดินสอ และอาจจะ 
อยู่ในรูปของรหัสที่ออกแบบไว้เฉพาะ อุปกรณ์ของหน่วยรับข้อมูลประเภทนี้
เครื่องรับข้อมูลจากเอกสารโดยตรง 
เครื่อง OCR : Optical Character Reader คืออ่านเอกสาร 
ต่าง ๆ แล้วแปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้า เช่น Scanner 
เครื่อง OMR : Optical Mark Reader เป็นหน่วยรับข้อมูล 
ที่ใช้สาหรับอ่านข้อมูลที่ได้จากการฝนดินสอขนาด 2B เช่น 
การสอบ,การลงทะเบียนของสถาบันการศึกษา 
เครื่องอ่านแถบสี (Bar Code Reader) เป็นหน่วยรับ 
ข้อมูลที่ใช้สาหรับอ่านข้อมูลที่อยู่ในรูปรหัสแถบสีขาว 
สลับดา (Bar Code) เช่น เครื่องอ่านตาม 
ห้างสรรพสินค้าต่าง ๆ
Central Processing Unit หรือหน่วย ประมวลผลกลาง ทาหน้าที่เป็นสมองคอมพิวเตอร์ 
◊ALU : Arithmetic and Logical Unit เป็นหน่วยที่ทาหน้าที่ด้านการคานวณค่าต่าง ๆ ตามคาสั่งที่ป้อนเข้ามา เช่น บวก ลบ คูณ หาร และการทางานในรูปแบบของฟังก์ชันต่าง ๆ ทาง คณิตศาสตร์นอกจากนี้ยังทาหน้าที่เปรียบเทียบข้อมูลเพื่อการตัดสินใจทางด้านตรรกวิทยา (Logical) อีกด้วย 
◊Control Unit (CU) หรือหน่วยควบคุม ทาหน้าที่ดูแลและประสานงานในการทางานของ หน่วยต่าง ๆในคอมพิวเตอร์ ได้แก่การรับ-ส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์รอบข้างต่าง ๆ ซึ่งการปฏิบัติงานของ หน่วยควบคุมนี้แบ่งออกได้เป็น 2 ขั้นตอนคือ การอ่านและแปลคาสั่ง (Instruction Cycle) ใน ขั้นนี้ CUจะทาการแปลคาสั่งเป็นรหัสในการทางาน เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถรับรู้ได รหัสการ ทางานดังกล่าวนี้จะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับชนิดของ CPU
Output Unit หรือหน่วยแสดงผล 
ที่นาเอาผลหลังจากที่คอมพิวเตอร์ประมวลผล 
เสร็จแล้วออกมาแสดงในงานลักษณะต่าง ๆ เช่น พิมพ์เป็น ตัวอักษรและตัวเลขหรือตารางต่าง ๆนอกจากนี้ผลที่ได้ยัง สามารถเก็บไว้ในรูปที่อาจจะนามาใช้ประมวลผลต่อไปได้อีก เช่น เจาะลงบัตรหรือบันทึกลงเทปและแผ่นดิสก์ หน่วย แสดงผลสามารถจาแนกออกได้เป็น 2 ประเภท
หน่วยแสดงผลแบบธรรมดาเครื่องพิมพ์แบบอิมแพค (Impact Printerเครื่องพิมพ์แบบนอนอิมแพค)
หน่วยแสดงผลแบบพิเศษ 
นาเอาผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลไปใช้งานได้อย่าง 
สะดวกและรวดเร็ว เช่น จอภาพ นอกจากนั้นยังเป็นส่วนแสดงผลที่ สามารถนาเอาผลลัพธ์ที่ได้ไปควบคุมการทางานของอุปกรณ์อื่นได้ ด้วย เช่นเครื่องบันทึกแผ่นดิสก์ (Disk Drive), เครื่องวาด
Memory Unit เป็นหน่วยที่ทาหน้าที่เก็บข้อมูลและคาสั่งต่าง ๆ 
หน่วยความจาหลัก (Main Memory) เป็นหน่วยความจาที่ต้อง ติดต่อRAM (Random Access Memory) เป็น หน่วยความจาที่จดจาข้อมูลไว้ได้ชั่วคราวข้อมูลที่เก็บใน 
RAM นั้นผู้ใช้สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลาแต่เมื่อไฟดับ ข้อมูลเหล่านั้นจะหายหมด 
ROM (Read Only Memory) เป็นหน่วยความจาที่เก็บข้อมูล ไว้ค่อนข้างถาวร ข้อมูลเหล่านี้จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงไม่ได้ อ่านมาใช้ได้ อย่างเดียวเท่านั้น ส่วนมากจะเก็บคาสั่งที่ 
เป็นโปรแกรมควบคุมระบบ เช่น ROM BIOS (Basic Input/OutputSystem)กับ CPU อยู่ตลอดเวลา
หน่วยความจารอง (Secondary Memory) 
เป็นหน่วยความจาที่เป็นที่เก็บข้อมูลเอาไว้เพื่อ ประโยชน์ในการเรียกลับมาใช้อีกครั้งในอนาคต เช่น Hard Disk , แผ่นFloppy Disk , แผ่น ซีดีรอม เป็นต้น
ประเภทของคอมพิวเตอร์ 
ส่วนใหญ่เป็นDigital Computer 
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) 
- มีสมรรถนะสูงที่สุด (High Performance Computer) 
- สามารถคานวณจุดทศนิยมได้หลายร้อยล้านจุด 
- เหมาะสาหรับงานวิจัยที่มีการคานวณมาก ๆ เช่น วิเคราะห์ ภาพถ่ายทางอากาศ งานจาลองแบบโมเลกุล ปัจจุบันมีอยู่ใน ประเทศไทยคือรุ่นCray YMP ที่ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
เมนเฟรม (Mainframe) 
- มีสมรรถนะสูงมาก แต่ยังต่ากว่าซูเปอร์คอมพิวเตอร์ 
- เหมาะสาหรับงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลจานวนมาก ๆ เช่น ธนาคาร 
- ราคาแพง ใช้งานยาก สามารถพ่วงต่อกับPeripheral ได้ มากมาย
มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) 
- มีสมรรถนะสูง แต่ยังต่ากว่าเมนเฟรม 
- ควบคุมอุปกรณ์รอบข้างได้น้อยกว่า ราคาถูกกว่า 
- เช่น เครื่อง AS/400 และ RISC/6000 ของ IBM
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) 
- มีขนาดเล็ก มีการพัฒนารวดเร็วที่สุด ราคาถูก 
- บางเครื่องอาจจะมีสมรรถนะสูงพอ ๆ กับเครื่อง 
Mini ก็ได้ 
- บางครั้งเรียกว่า เครื่อง PC : PersonalComputer
ระบบไมโครคอมพิวเตอร์ (Computer System) 
ความหมายกว้างกว่าคาว่า ไมโครคอมพิวเตอร์เพราะต้องการให้ หมายถึงส่วนทุกส่วนที่รวมกันแล้ว ทาให้เราสามารถใช้เครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์สูงที่สุด การพิจารณาระบบ โดยรวมนั้น จะช่วยให้เรามีทัศนคติที่กว้างขึ้น และเข้าใจการ ประยุกต์ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ได้ดีขึ้น ซึ่งระบบ ไมโครคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้ ประกอบด้วยส่วนประกอบ หลักที่สาคัญหลายส่วน คือ
ฮาร์ดแวร์ (Hardware) เป็นส่วนที่สามารถมองเห็น สัมผัส จับต้องได้ เช่น ตัวเครื่อง,จอภาพ,เครื่องพิมพ์,แผงวงจรเสียง หรือ (Sound Cardคือ ซอฟต์แวร์ (Software) ชุดคาสั่งที่เรามีไว้สาหรับสั่งให้ฮาร์ดแวร์ทางานต่าง ๆ ตามที่เราต้องการ ซอฟต์แวร์เป็นสิ่งที่จับต้องไม่ได้)
บุคลากร (PEOPLE WARE) คือเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานต่าง ๆ สามารถแบ่งออกได้เป็นหลายกลุ่มเช่น ผู้บริหารนักวิชาการ และผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งบุคลากรทางด้าน คอมพิวเตอร์ นั้น มีความสาคัญเป็นอย่างมาก 
ข้อมูล (Data) ที่เรานามาให้คอมพิวเตอร์ประมวลผล คานวณ 
หรือการกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งให้กลายเป็นผลลัพธ์ที่เรา ต้องการเช่น ข้อมูลบุคลากร ได้แก่ ประวัติส่วนตัว ประวัติ การศึกษา
ระเบียบ , คู่มือ และมาตรฐาน (Procedure) สัมพันธ์กับเจ้าหน้าที่และผู้ปฏิบัติจานวนมาก บุคคลเหล่านี้บางคนก็เรียนรู้ได้เร็วบางคนก็เรียนได้ช้า ระบบสื่อสารข้อมูล (DataCommunication) ระบบการสื่อสาร และอุปกรณ์ที่ช่วยให้เราสามารถส่งผ่านข้อมูลจาก คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง ไปยังอีกเครื่องหนึ่งที่อยู่ห่างออกไป

More Related Content

What's hot

เฉลยข้อสอบ20ข้อ
เฉลยข้อสอบ20ข้อเฉลยข้อสอบ20ข้อ
เฉลยข้อสอบ20ข้อ
peter dontoom
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
Fon Edu Com-sci
 
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลหน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
ให้รัก นำทาง
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
pavinee2515
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Noppakhun Suebloei
 
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
Nattapon
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
peter dontoom
 
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
Nuunamnoy Singkham
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
Nuchy Geez
 

What's hot (20)

เฉลยข้อสอบ20ข้อ
เฉลยข้อสอบ20ข้อเฉลยข้อสอบ20ข้อ
เฉลยข้อสอบ20ข้อ
 
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิกใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานหน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลหน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ Powerpoint 2010
ใบความรู้ Powerpoint 2010 ใบความรู้ Powerpoint 2010
ใบความรู้ Powerpoint 2010
 
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงานตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
 
แผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงานแผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงาน
 
แบบฝึกทักษะวิชาฟิสิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องโมเมนตัมและก...
แบบฝึกทักษะวิชาฟิสิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องโมเมนตัมและก...แบบฝึกทักษะวิชาฟิสิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องโมเมนตัมและก...
แบบฝึกทักษะวิชาฟิสิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องโมเมนตัมและก...
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
ใบงานที่ 5.1 เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบงานที่  5.1 เรื่อง    ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบงานที่  5.1 เรื่อง    ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5.1 เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 

Viewers also liked

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้นเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
peter dontoom
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
Thiranan Suphiphongsakorn
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
peter dontoom
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
Thidarat Termphon
 

Viewers also liked (8)

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้นเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
 
Chap2
Chap2Chap2
Chap2
 
Chap3
Chap3Chap3
Chap3
 
04
0404
04
 
เฉลยทัศนศิลป์ปลายภาค
เฉลยทัศนศิลป์ปลายภาคเฉลยทัศนศิลป์ปลายภาค
เฉลยทัศนศิลป์ปลายภาค
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
 

Similar to ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้น

ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
Hitsuji12
 
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
จุฑารัตน์ ใจบุญ
 
อินเตอเนต2
อินเตอเนต2อินเตอเนต2
อินเตอเนต2
peter dontoom
 
อินเตอเนต2
อินเตอเนต2อินเตอเนต2
อินเตอเนต2
peter dontoom
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
MyunDao
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
MyunDao
 
โบทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
โบทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศโบทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
โบทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Min Jidapa
 
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
katuckkt
 
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
galswen
 
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Tata Sisira
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Chalita Vitamilkz
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
Nattapon
 

Similar to ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้น (20)

ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
 
S4
S4S4
S4
 
อินเตอเนต2
อินเตอเนต2อินเตอเนต2
อินเตอเนต2
 
อินเตอเนต2
อินเตอเนต2อินเตอเนต2
อินเตอเนต2
 
ข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศ
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
7
77
7
 
7
77
7
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
test upload
test uploadtest upload
test upload
 
โบทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
โบทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศโบทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
โบทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
 

More from peter dontoom

More from peter dontoom (20)

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 

ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้น

  • 1. ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต –ด้านการศึกษา เป็นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลด้านการบันเทิง ด้าน การแพทย์ และอื่นๆที่เราสนใจ เป็นต้น ทาหน้าที่เสมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่ หรือคลังหนังสือมหาศาล นักเรียน และนักศึกษาสามารถใช้อินเทอร์เน็ตติดต่อกับโรงเรียน และมหาวิทยาลัยอื่นๆ เพื่อค้นหาข้อมูลที่กาลังศึกษาอยู่ได้ ทั้งที่ ข้อมูลที่เป็นข้อความ เสียง และภาพเคลื่อนไหวต่างๆ ทาการเรียนการสอนผ่านระบบอินเตอร์เน็ตได้
  • 2. ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต –ด้านธุรกิจและเชิงพาณิชย์ เป็นแหล่งค้นหาข้อมูลเพื่อช่วยในการตัดสินใจทางธุรกิจ สามารถซื้อ –ขายสินค้าผ่านระบบอินเทอร์เน็ต บริษัทหรือองค์กรต่างๆสามารถให้บริการและสนับสนุนลูกค้าผ่านระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ เช่น การให้คาแนะนา ตอบปัญหาต่างๆให้แก่ ลูกค้า เป็นต้น ทาการตลาด การโฆษณาผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต –ด้านความบันเทิง ค้นหา Magazine online รวมทั้งหนังสือพิมพ์และข่าวสารอื่นๆได้ ฟังวิทยุผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ สามารถดึงดาวน์โหลด (Download) ภาพยนตร์ตัวอย่างทั้งภาพยนตร์ ใหม่และเก่ามาดูได้
  • 3. นอกจากนี้ยังมีประโยชน์มีความสาคัญในรูปแบบอื่นๆอีก 1. ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Email) ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่ง เหมือนกับการส่งจดหมายแบบเดิมๆ แต่การส่งอีเมล์จะรวดเร็วกว่ามาก 2. โอนถ่ายข้อมูล ค้นหา และเรียกข้อมูลจากแหล่งต่างๆมาเก็บไว้ใน เครื่องของเราได้ ทั้งข้อมูลประเภทตัวหนังสือ รูปภาพ และเสียง 3. ค้นข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่มากมายจากแหล่งข้อมูลต่างๆทั่วโลกได้ ผ่านWorld wide Web4,สื่อสารด้วยข้อความ Chat เป็นการพูดคุยโดยพิมพ์ข้อความตอบ กัน การสนทนากันผ่านอินเทอร์เน็ตเปรียบเสมือนเรานั่งอยู่ในห้อง สนทนาเดียวกัน แม้อยู่คนละประเทศหรือคนละซีกโลกก็ตาม
  • 5. E-Mail หมายถึงการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ *ISP ทาหน้าที่ใดในระบบอินเทอร์เน็ตให้บริการเชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ตแก่หน่วยงานและบุคคลทั่วไป *เว็บไซต์ของกระทรวงศึกษาธิการWWW.MOE.go.th *เว็บไซต์ที่คนใช้มากที่สุดGoogle ภาษาใดที่ใช้ในการเขียนเว็บเพจเพื่อให้สามารถแสดงผลได้ในระบบ อินเทอร์เน็ตHTML
  • 6. พื้นฐานการทางานของระบบอินเตอร์เน็ต TCP/IP ก็คือ การต่อเชื่อมเครื่องคอมพิวเตอร์หรือ อุปกรณ์ใดเข้าสู่ระบบเครือข่ายที่เป็น TCP/IP นั้นทุก เครื่องจะต้องมีหมายเลขกากับเสมอ IP หมายเลขนี้จะเป็นเลขฐาน 2 ขนาด 32 บิต2 จานวน 4 ชุด192.150.249.11, 64.4.43.7
  • 7. Start / Run / winipcfgแล้วกด ok จะมี หน้าต่างแสดงข้อมูลเกี่ยวกับหมายเลข IP
  • 8. “network etiquette” หมายถึง จรรยมารยาท ของการอยู่ร่วมกันในสังคมอินเตอร์เน็ต หรือ cyberspace กฏข้อที่ 1ต้องไม่ลืมว่าปลายทางอีกด้านหนึ่งของการสื่อสารนั้นที่จริง แล้วก็คือ “มนุษย์” กฎข้อที่ 2มารยาทที่เราถือปฏิบัติในสังคมมาเป็น บรรทัดฐานของการอยู่ร่วมกันแบบออนไลน์กฎข้อที่ 3ใช้งานอย่างมีสติ รู้ตัวว่าเรากาลังอยู่ ณ ที่ใดกฎข้อที่ 4“คิดสักนิดก่อน submitกฎข้อที่ 5ถ้าจะให้ “ดูดี” ก็ควรใช้ถ้อยคาที่เหมาะสมกฎข้อที่ 6การแลกเปลี่ยน ” ความรู้” กฎข้อที่ 7อย่าการใช้คาที่หยาบคายกฎข้อที่ 8รู้จักจักเคารพใน ความเป็นส่วนตัวของผู้อื่นกฎข้อที่ 9คาเตือนสาหรับผู้ที่ได้รับสิทธิพิเศษ กฎข้อที่ 10ให้คาแนะนาอย่างสุภาพ
  • 9. หลักการทางานของคอมพิวเตอร์ 1. รับข้อมูล และชุดคาสั่ง (หน้าที่ของ Input Unit) 2. ประมวลผลข้อมูลที่ได้ ตามคาสั่งหรือชุดคาสั่ง (หน้าที่ของ CPU) 3. แสดงผลข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว (หน้าที่ของ Output Unit) 4. บันทึกข้อมูลลงสื่อข้อมูล เพื่อเรียกกลับมาใช้อีกครั้ง (หน้าที่ ของ Memory Unit) •
  • 10. หน่วยรับข้อมูลแบบธรรมดา - เครื่องอ่านบัตรเจาะรู (Card Reader) - เครื่องอ่านเทปกระดาษ (Paper Tape Reader) - เครื่องอ่านเทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape Reader) - เครื่องอ่านแผ่นดิสก์แบบอ่อน (Diskette Drive หรือ Floppy Disk Drive) - เครื่องอ่านแผ่นดิสก์แบบแข็ง (Hard Disk Drive) - เครื่องอ่านแผ่นซี-ดี (CD-ROM Drive)
  • 11. “คอมพิวเตอร์” ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตเราแล้ว “คอมพิวเตอร์” เข้ามามีบทบาทในงานต่าง ๆเกือบทุกด้านใน สังคมมนุษย์ อัลวิน ทอฟเลอร์ นักวิชาการชาวอเมริกัน (ผู้เขียนหนังสือเรื่อง Third Wave) ได้ทานายไว้ว่า บรรยากาศของการทางานในสานักงานสาหรับอนาคตนั้น จะไม่รกรุงรัง ด้วยกระดาษ จะไม่มีการนาข้อมูลเข้าแฟ้มผิด ๆ อีกแล้ว ข้อมูลสถิติ ทางการตลาด การขาย การบัญชี ทุกอย่างจะทันสมัย ทันเวลา การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารทุกรูปแบบจะเป็นไปอย่างรวดเร็ว และมีขีดความสามารถสูง
  • 12. *สามารถจัดเก็บข้อมูลจากจุดเกิดได้อย่างรวดเร็ว เช่น การ ใช้รหัสแท่ง * สามารถบันทึกข้อมูลจานวนมาก ๆ เอาไว้ใช้งาน หรือ อ้างอิงได้ * สามารถคานวณหาผลลัพธ์ต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว * สามารถสร้างผลลัพธ์ได้หลากหลายรูปแบบ * สามารถส่งสารสนเทศ ข้อมูล หรือผลลัพธ์ที่ได้จากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่งได้อย่างรวดเร็วเทคโนโลยีสารสนเทศ (InformationTechnology)
  • 13. คอมพิวเตอร์คืออะไร คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่ง ที่สามารถทางานได้เอนกประสงค์ ขึ้นอยู่กับคาสั่งหรือโปรแกรมต่าง ๆ ที่มนุษย์กาหนดให้ คอมพิวเตอร์ ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อวัตถุประสงค์หลักคือ การคานวณค่าต่าง ๆ แทน มนุษย์ แต่การคานวณนั้นจะต้องมีขั้นตอนที่สามารถพิสูจน์ได้ “มนุษย์อิเล็กทรอนิกส์ ที่มีความเป็นเลิศในด้านการคิด”
  • 14. จุดด้อยของคอมพิวเตอร์ ไม่มีความคิดเป็นของตัวเอง จะทางานตามที่มนุษย์ สั่งเท่านั้น มีอายุการใช้งานไม่แน่นอน เพราะเป็นอุปกรณ์ Electronic ต้องระวังเรื่องความลับ และความปลอดภัยข้อมูล มีผลต่อสุขภาพร่างกายของผู้ใช้
  • 15. หน่วยรับข้อมูลแบบพิเศษ *เครื่องอ่านตัวอักษรที่เขียนด้วยหมึกแม่เหล็ก (Magnetic Ink Character Recognition : MICR) คือหน่วยรับข้อมูลที่ใช้สาหรับอ่านข้อมูลจาก เอกสารที่ พิมพ์ด้วยหมึกพิมพ์ชนิดพิเศษที่ผสมด้วยสารแม่เหล็ก เช่น รหัสต่าง ๆ บนเช็ค ของธนาคารต่าง ๆ * เครื่องรับข้อมูลจากเอกสารโดยตรง เป็นเครื่องมืออ่านข้อมูลที่บันทึกอยู่ใน เอกสาร ในรูปของตัวพิมพ์ ลายมือ หรือเกิดจากการฝนด้วยดินสอ และอาจจะ อยู่ในรูปของรหัสที่ออกแบบไว้เฉพาะ อุปกรณ์ของหน่วยรับข้อมูลประเภทนี้
  • 16. เครื่องรับข้อมูลจากเอกสารโดยตรง เครื่อง OCR : Optical Character Reader คืออ่านเอกสาร ต่าง ๆ แล้วแปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้า เช่น Scanner เครื่อง OMR : Optical Mark Reader เป็นหน่วยรับข้อมูล ที่ใช้สาหรับอ่านข้อมูลที่ได้จากการฝนดินสอขนาด 2B เช่น การสอบ,การลงทะเบียนของสถาบันการศึกษา เครื่องอ่านแถบสี (Bar Code Reader) เป็นหน่วยรับ ข้อมูลที่ใช้สาหรับอ่านข้อมูลที่อยู่ในรูปรหัสแถบสีขาว สลับดา (Bar Code) เช่น เครื่องอ่านตาม ห้างสรรพสินค้าต่าง ๆ
  • 17. Central Processing Unit หรือหน่วย ประมวลผลกลาง ทาหน้าที่เป็นสมองคอมพิวเตอร์ ◊ALU : Arithmetic and Logical Unit เป็นหน่วยที่ทาหน้าที่ด้านการคานวณค่าต่าง ๆ ตามคาสั่งที่ป้อนเข้ามา เช่น บวก ลบ คูณ หาร และการทางานในรูปแบบของฟังก์ชันต่าง ๆ ทาง คณิตศาสตร์นอกจากนี้ยังทาหน้าที่เปรียบเทียบข้อมูลเพื่อการตัดสินใจทางด้านตรรกวิทยา (Logical) อีกด้วย ◊Control Unit (CU) หรือหน่วยควบคุม ทาหน้าที่ดูแลและประสานงานในการทางานของ หน่วยต่าง ๆในคอมพิวเตอร์ ได้แก่การรับ-ส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์รอบข้างต่าง ๆ ซึ่งการปฏิบัติงานของ หน่วยควบคุมนี้แบ่งออกได้เป็น 2 ขั้นตอนคือ การอ่านและแปลคาสั่ง (Instruction Cycle) ใน ขั้นนี้ CUจะทาการแปลคาสั่งเป็นรหัสในการทางาน เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถรับรู้ได รหัสการ ทางานดังกล่าวนี้จะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับชนิดของ CPU
  • 18. Output Unit หรือหน่วยแสดงผล ที่นาเอาผลหลังจากที่คอมพิวเตอร์ประมวลผล เสร็จแล้วออกมาแสดงในงานลักษณะต่าง ๆ เช่น พิมพ์เป็น ตัวอักษรและตัวเลขหรือตารางต่าง ๆนอกจากนี้ผลที่ได้ยัง สามารถเก็บไว้ในรูปที่อาจจะนามาใช้ประมวลผลต่อไปได้อีก เช่น เจาะลงบัตรหรือบันทึกลงเทปและแผ่นดิสก์ หน่วย แสดงผลสามารถจาแนกออกได้เป็น 2 ประเภท
  • 20. หน่วยแสดงผลแบบพิเศษ นาเอาผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลไปใช้งานได้อย่าง สะดวกและรวดเร็ว เช่น จอภาพ นอกจากนั้นยังเป็นส่วนแสดงผลที่ สามารถนาเอาผลลัพธ์ที่ได้ไปควบคุมการทางานของอุปกรณ์อื่นได้ ด้วย เช่นเครื่องบันทึกแผ่นดิสก์ (Disk Drive), เครื่องวาด
  • 21. Memory Unit เป็นหน่วยที่ทาหน้าที่เก็บข้อมูลและคาสั่งต่าง ๆ หน่วยความจาหลัก (Main Memory) เป็นหน่วยความจาที่ต้อง ติดต่อRAM (Random Access Memory) เป็น หน่วยความจาที่จดจาข้อมูลไว้ได้ชั่วคราวข้อมูลที่เก็บใน RAM นั้นผู้ใช้สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลาแต่เมื่อไฟดับ ข้อมูลเหล่านั้นจะหายหมด ROM (Read Only Memory) เป็นหน่วยความจาที่เก็บข้อมูล ไว้ค่อนข้างถาวร ข้อมูลเหล่านี้จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงไม่ได้ อ่านมาใช้ได้ อย่างเดียวเท่านั้น ส่วนมากจะเก็บคาสั่งที่ เป็นโปรแกรมควบคุมระบบ เช่น ROM BIOS (Basic Input/OutputSystem)กับ CPU อยู่ตลอดเวลา
  • 22. หน่วยความจารอง (Secondary Memory) เป็นหน่วยความจาที่เป็นที่เก็บข้อมูลเอาไว้เพื่อ ประโยชน์ในการเรียกลับมาใช้อีกครั้งในอนาคต เช่น Hard Disk , แผ่นFloppy Disk , แผ่น ซีดีรอม เป็นต้น
  • 23. ประเภทของคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็นDigital Computer ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) - มีสมรรถนะสูงที่สุด (High Performance Computer) - สามารถคานวณจุดทศนิยมได้หลายร้อยล้านจุด - เหมาะสาหรับงานวิจัยที่มีการคานวณมาก ๆ เช่น วิเคราะห์ ภาพถ่ายทางอากาศ งานจาลองแบบโมเลกุล ปัจจุบันมีอยู่ใน ประเทศไทยคือรุ่นCray YMP ที่ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
  • 24. เมนเฟรม (Mainframe) - มีสมรรถนะสูงมาก แต่ยังต่ากว่าซูเปอร์คอมพิวเตอร์ - เหมาะสาหรับงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลจานวนมาก ๆ เช่น ธนาคาร - ราคาแพง ใช้งานยาก สามารถพ่วงต่อกับPeripheral ได้ มากมาย
  • 25. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) - มีสมรรถนะสูง แต่ยังต่ากว่าเมนเฟรม - ควบคุมอุปกรณ์รอบข้างได้น้อยกว่า ราคาถูกกว่า - เช่น เครื่อง AS/400 และ RISC/6000 ของ IBM
  • 26. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) - มีขนาดเล็ก มีการพัฒนารวดเร็วที่สุด ราคาถูก - บางเครื่องอาจจะมีสมรรถนะสูงพอ ๆ กับเครื่อง Mini ก็ได้ - บางครั้งเรียกว่า เครื่อง PC : PersonalComputer
  • 27. ระบบไมโครคอมพิวเตอร์ (Computer System) ความหมายกว้างกว่าคาว่า ไมโครคอมพิวเตอร์เพราะต้องการให้ หมายถึงส่วนทุกส่วนที่รวมกันแล้ว ทาให้เราสามารถใช้เครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์สูงที่สุด การพิจารณาระบบ โดยรวมนั้น จะช่วยให้เรามีทัศนคติที่กว้างขึ้น และเข้าใจการ ประยุกต์ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ได้ดีขึ้น ซึ่งระบบ ไมโครคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้ ประกอบด้วยส่วนประกอบ หลักที่สาคัญหลายส่วน คือ
  • 28. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) เป็นส่วนที่สามารถมองเห็น สัมผัส จับต้องได้ เช่น ตัวเครื่อง,จอภาพ,เครื่องพิมพ์,แผงวงจรเสียง หรือ (Sound Cardคือ ซอฟต์แวร์ (Software) ชุดคาสั่งที่เรามีไว้สาหรับสั่งให้ฮาร์ดแวร์ทางานต่าง ๆ ตามที่เราต้องการ ซอฟต์แวร์เป็นสิ่งที่จับต้องไม่ได้)
  • 29. บุคลากร (PEOPLE WARE) คือเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานต่าง ๆ สามารถแบ่งออกได้เป็นหลายกลุ่มเช่น ผู้บริหารนักวิชาการ และผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งบุคลากรทางด้าน คอมพิวเตอร์ นั้น มีความสาคัญเป็นอย่างมาก ข้อมูล (Data) ที่เรานามาให้คอมพิวเตอร์ประมวลผล คานวณ หรือการกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งให้กลายเป็นผลลัพธ์ที่เรา ต้องการเช่น ข้อมูลบุคลากร ได้แก่ ประวัติส่วนตัว ประวัติ การศึกษา
  • 30. ระเบียบ , คู่มือ และมาตรฐาน (Procedure) สัมพันธ์กับเจ้าหน้าที่และผู้ปฏิบัติจานวนมาก บุคคลเหล่านี้บางคนก็เรียนรู้ได้เร็วบางคนก็เรียนได้ช้า ระบบสื่อสารข้อมูล (DataCommunication) ระบบการสื่อสาร และอุปกรณ์ที่ช่วยให้เราสามารถส่งผ่านข้อมูลจาก คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง ไปยังอีกเครื่องหนึ่งที่อยู่ห่างออกไป