SlideShare a Scribd company logo
1 
การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน1 (กระบวนการจัดการตนเอง) 
ดร.ดารง โยธารักษ์ 
๐๘๙ – ๘๗๑๔๕๑๒ 
สถาบันการเรียนรู้เพื่อจัดการตนเอง2 
จังหวัดนครศรีธรรมราช 
บทความชนิ้นเี้ขียนขึน้จากประสบการณ์ในการทางานของผมกับชุมชนแถวภาคใต้ 
เป็นการนาเสนอการพัฒนาชุมชน ท้องถิ่น ประเทศ ในอุดมคติหรือในจินตนาการ3 
ถ้าจะพูดเป็นภาษาทางด้านรัฐศาสตร์ก็จะเป็นการศึกษาแนวทางปรัชญาการเมือง4 
เพื่อนาเสนอถึงแนวทางการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน/ท้องถิ่นในทุกด้านไม่ว่าจะเป็นด้านการจัดการท 
รัพยากรซึ่งเป็นฐานสาคัญต่อการประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับทรัพยากรของตนเอง/ชุมชน/ท้องถิ่น 
เพื่อการมีเศรษฐกิจที่มนั่คงทัง้การเงินและสุขภาพที่สมดุลกัน 
การจัดการด้านยุติธรรมชุมชนที่ชาวบ้านสามารถออกกฎกติกาในชุมชนเพื่อลดปัญหาความขัดแ 
ย้งได้เอง เป็นต้น เมื่อชุมชน/ท้องถิ่นเข้มแข็ง5 ประเทศก็จะเข้มแข็ง ในที่สุด 
1 
หลายท่านเมื่อเห็นหัวข้อแล้วคงนึกว่าเป็นไปไม่ได้ เพราะท่านอาจยังเชื่อว่าชาวบ้านยัง โง่ จน เจ็บ เหมือนในอดีตที่ผ่านมา 
แต่ถ้าท่านเปลี่ยนวิธีคิดใหม่ โดยคิดว่าชาวบ้านมีศักยภาพเพียงแต่เราไม่ค่อยให้โอกาสเขาได้แสดงต่างหาก 
ท่านก็อาจจะเห็นว่ามีทางเป็นไปได้ 
2 
สถาบันการเรียนรู้เพื่อจัดการตนเอง ตัง้ขึน้มาเพื่อ ๑,รับจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับเยาวชนที่โรงเรียน/สังคมคิดว่าโง่และเกเร 
๒.รับจัดกระบวนการทาแผนพัฒนาท้องถิ่นเพื่อให้ชุมชน/ท้องถนิ่เข้มแข็ง(พึ่งตนเองได้) 
๓.รับจัดอบรมทั่วไปตามวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน 
3 
จินตนาการ หมายถึง ภาพฝันที่มีฐานข้อมูลรองรับ กล่าวคือ ในกรณีชุมชนเข้มแข็งหรือชุมชนพึ่งตนเองได้ มีให้เห็นในหลายชุมชน เช่น 
ชุมชนไม้เรียง จังหวัดนครศรีธรรมราช ชุมชนคลองเป๊ยะ จังหวัดสงขลา ชุมชนบ้านหนองกลางดง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นต้น 
และผู้เขียนได้พัฒนาแนวทางการทาประชาเข้าใจมาจากชุมชนดังกล่าว 
แต่อย่างไรก็ตามกระบวนการดังกล่าวยังไม่เป็นที่สาเร็จมากนักในภาพรวมของประเทศหรืออาจกล่าวได้ว่ายังเป็นภาพในจินตนาการ 
4 
ปรัชญาการเมือง หมายถึง 
การที่นักวิชาการพยายามที่จะหาแนวทางหารูปแบบการเมืองการปกครองที่คิดว่าเหมาะสมกับยุคสมัยหรือดีที่สุดตามหลักการและความคิดเห็ 
นของนักวิชาการคนนัน้ต่อสาธารณะ 
5 
ชุมชนเข้มแข็ง หมายถึง ชุมชนที่มีกระบวนการเรียนรู้ข้อมูลทุนของชุมชนโดยชุมชนจนชุมชนสามารถจัดการทุนของตนเองได้ 
สามารถกาหนดทิศทางของตนเองได้ และมีการจัดการอย่างเป็นระบบ เป็นชุมชนที่พึ่งตนเองได้ 
ผมคิดว่าการเปิดประตูสอู่าเชี่ยนของประเทศไทยด้วยการเน้นการเรียนรู้ภาษาอังกฤษอย่างที่เป็นอยใู่นปัจจุบันนัน้ไม่เพียงพอและในทางกลับกั
2 
จินตนาการในการพัฒนาการศึกษาของท้องถิ่น 
ผมลองจินตนาการดูว่าถ้าเราเริ่มพัฒนาเยาวชนในระดับตาบลโดยให้เยาวชนทุกคนในแต่ละตาบล 
ต้องเรียนในพืน้ที่ที่ตนกาเนิด ดังนัน้เด็กทุกคนไม่ว่าจะเป็นลูกของผู้นาทุกระดับ เช่น ผู้บริหารท้องถิ่น ท้องที่ 
สมาชิกสภา รวมถึงประชาชนทุกคนต้องเรียนในพืน้ที่6 (ห้ามเรียนข้ามเขต) ผลจะเกิดอะไรขึน้ 
ผมคิดว่าคนทุกคนในพืน้ที่ต้องการให้บุตรหลานของตนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ 
ดังนัน้ทุกภาคส่วนในพืน้ที่ดังกล่าวจาเป็นต้องทุ่มเททรัพยากรเพื่อการศึกษาของบุตรหลานของตนอย่างไม่ 
ต้องสงสัย คนในชุมชน/ท้องถิ่นจะกระตือรือร้นเรื่องการศึกษา 
คณะกรรมการโรงเรียนก็จะถูกคัดเลือกจากคนที่มีความสามารถจริง 
ไม่ใช่เป็นคนที่มีฐานะเพื่อโรงเรียนจะได้ขอเงินบริจาคเหมือนกับทุกวันนี้ 
คณะกรรมการศึกษาโรงเรียนจะทาหน้าที่ดังที่ปรากฏในกฎหมาย เช่น ต้องพิจารณาหลักสูตร 
พิจารณาทิศทางการพัฒนาโรงเรียน เป็นต้น 
บเป็นความคิดที่ตืน้เขินมาก เพราะการเตรียมตัวสอู่าเชี่ยนนัน้ต้องเตรียมความพร้อมของชุมชนต่างหากเพราะถ้าชุมชนยังไม่พร้อม 
ชุมชนยังอ่อนแอ ชุมชนยังพงึ่ตนเองไม่ได้ ชุมชนยังไม่รู้ว่าตนเองมีดีอะไรที่จะให้เพอื่นบ้านมาดูมาชม 
หรือถ้าเพอื่นไม่มาก็สามารถยืนอยบู่นฐานทรัพยากรของตัวเองได้ 
ดูเหมือนว่ารัฐบาลกาลังเตรียมคนไทยให้เป็นแค่ลูกจ้างต่างชาติที่เข้ามาตัง้โรงงานในบ้านเรา 
ผมคิดว่าที่ผ่านมารัฐบาลตัง้โจทย์ว่าเราจะเตรียมคนไทยให้เป็นลูกจ้างที่ดีได้อย่างไรกระมัง เราจึงได้เห็นโครงการดังที่ทากันอยใู่นปัจจุบัน 
นี่ถ้ารัฐบาลตัง้โจทย์ใหม่ว่าจะเตรียมคนไทยให้เป็นนายจ้างได้อย่างไร 
เขาก็คงไม่คิดโครงการดังที่เห็นอยใู่นปัจจุบันที่เน้นเฉพาะเรื่องภาษาเท่านัน้ กล่าวคือ ผมไม่เห็นโครงการชวนคิดชวนคุยถึงเราได้อะไร 
เราเสียอะไร เราจะเตรียมตัวอย่างไรกับอาเชี่ยนนอกจากการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและภาษาชาติต่างๆในอาเชี่ยน เป็นต้น 
6พ ร ะ ร า ช บัญ ญั ติ ก า ร ศึ ก ษ า แ ห่ง ช า ติ พุท ธ ศัก ร า ช ๒ ๕ ๔ ๒ ม า ต ร า ๑ ๐ ร ะ บุว่า ก า ร จัด ก า ร ศึ ก ษ า 
ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขนั้พืน้ฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็ 
บ ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ซึ่ ง ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๕ ๐ ม า ต ร า ๔ ๙ ที่ ว่ า 
บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย จะพบว่า 
โรงเรียน ให ญ่ๆ โรงเรียน ดังๆ ในตัวจังหวัด ใน ตัว อาเภอกา ลังทาผิดรัฐธ รรมนูญ และ พระราช บัญ ญัติการศึก ษาแ ห่งชา ติ 
เพราะการไปดูดเอาเด็กต่างพืน้ที่เข้ามาเรียนกันอย่างแออัด แล้วเร่งสร้างอาคารโดยไม่คานึงถึงระบบนิเวศในโรงเรียน (land use) 
เ พี ย ง เ พ ร า ะ โ ร ง เ รี ย น ดั ง ก ล่ า ว แ ข่ ง กั น ส ร้ า ง เ ด็ ก เ ก่ ง ( ท่ อ ง จ า เ ก่ ง ) ไ ม่ กี่ ค น เ พื่ อ โ ฆ ษ ณ า 
ดึ ง ดู ด ใ ห้ พ่ อ แ ม่ ที่ ช อ บ ท า ต า ม ก ร ะ แ ส ส่ง ลูก ใ ห้ ม า เ รี ย น อ ย่า ง ไ ม่ มี ค ว า ม สุข ใ น โ ร ง เ รี ย น ดั ง ก ล่า ว 
พฤติกรรมดังกล่าวเป็นการกระทาที่ขัดกับรัฐธรรมนูญในประเด็นความเสมอภาค และการไม่เลือกปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชน เป็นต้น
3 
ถ้าผมมีโอกาสเป็นคณะกรรมการศึกษาโรงเรียน 
ผมจะเสนอและโน้มน้าวให้โรงเรียนจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ลูกของผมสามารถตัง้คาถามได้ 
เพราะผมเชื่อว่า ความรู้ดีๆย่อมมาจากการตัง้คาถามที่ดีและแหลมคม 
ลูกของผมต้องสามารถเขียนตาราได้เองจากการจัดกระบวนการอ่านคาตอบจากตาราในชัน้เรียนแล้วตัง้คา 
ถามจากคาตอบดังกล่าว บทแล้วบทเล่าจนครบกระบวนวิชาตามหลักสูตร 
โดยไม่ต้องแบกหนังสือไปโรงเรียน ครูใช้แค่กระดาษเอสี่ ปากกา 
เป็นสื่อการสอนเพราะผมเชื่อว่ายิ่งครูมีเครื่องไม้เครื่องมือมากเท่าไรลูกผมก็จะทาอะไรไม่เป็นมากเท่านัน้ 
(พึ่งแต่เทคโนโลยีจนไม่สามารถพึ่งตนเองได้) การประเมินก็เช่นกัน 
ผมอยากเห็นการประเมินที่ผลงานและพัฒนาการของเด็กเป็นหลัก 
ส่วนการประเมินด้วยข้อสอบตัวเลือกนัน้อาจเป็นส่วนประกอบ เป็นต้น 
เมื่อลูกผมจบการศึกษาในระดับประถม มัธยม 
จากท้องถิ่นของตนเองเรียนรู้จนสามารถรู้จักกระบวนการจัดการทุนของชุมชน 
โดยมีกระบวนวิชาที่เป็นพืน้ฐาน เช่น วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย 
โดยไม่ต้องมีวิชาศีลธรรม หน้าที่พลเมือง เพราะวิชาศีลธรรม 
หน้าที่พลเมืองต้องเป็นพืน้ฐานในการเรียนทุกวิชาดังกล่าว กล่าวคือ 
ทุกวิชาต้องเรียนให้มีเนอื้หาสาระของแต่ละวิชาโดยมีศีลธรรม 
และหน้าที่ของความเป็นพลเมืองเป็นตัวกากับ ลูกของผมต้องสามารถคิดวิเคราะห์ได้ว่าตัวเองชอบทาอะไร 
อะไรที่ตัวเองถนัด ทาอะไรแล้วมีความสุข ทาอะไรที่พ่อแม่มีความสุข ทาอะไรที่ชุมชนมีความสุข 
ประเทศชาติได้ประโยชน์ เป็นต้น กล่าวคือลูกของผมต้องสามารถจัดการตนเองได้ 
พึ่งตนเองได้ในระดับประถมและมัธยม 
ในระดับอุดมศึกษาต้องเรียนในจังหวัด 
เพราะมหาวิทยาลัยต้องเป็นพี่เลีย้งในการพัฒนาให้กับท้องถิ่น อาเภอ จังหวัด 
ดังนัน้ลูกของผมจะได้เข้าใจฐานทรัพยากรของอาเภอ จังหวัด 
และสามารถใช้ทรัพยากรดังกล่าวมาพัฒนาเป็นอาชีพสาหรับเลีย้งตัวเองและครอบครัว 
ตามอาชีพที่ตนเองถนัดและเมื่อทาแล้วมีความสุข 
การพัฒนาชุมชน/ท้องถิ่นในจินตนาการ
4 
ผู้บริหารท้องถิ่นจะต้องเป็นผู้ประสานชาวบ้านให้ร่วมกันระดมความคิดในการพัฒนาท้องถิ่นทุกเรื่อ 
ง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการจัดการทรัพยากรดิน นา้ ป่า การจัดการโครงสร้างพืน้ฐาน การจัดการด้านสุขภาพ 
การจัดการด้านการบริหารความขัดแย้ง ด้านยุติธรรมชุมชน 
ชาวบ้านควรออกกติกาในการจัดการด้านต่างๆกันเองในชุมชน 
กติกาดังกล่าวก็คือวัฒนธรรมชุมชน หรือกฎหมายนั่นเอง 
และหน่วยงานหรือกระทรวงต่างๆก็ต้องนาเอากติกาของชุมชน/ท้องถิ่นทวั่ประเทศไปวางยุทธศาสตร์เพื่อมา 
หนุนเสริมชุมชน/ท้องถิ่น กล่าวคือกฎหมายที่ดีต้องมาจากวัฒนธรรมหรือวิถีชีวิต 
ซึ่งปัจจุบันเรากลับไปลอกมาจากที่ที่มีวัฒนธรรมต่างกัน จึงทาให้ชาวบ้านไม่รู้กฎหมาย 
ความไม่ยุติธรรมที่เกิดขึน้ในปัจจุบันเพราะความสามารถในการเข้าถึงทรัพยากรดิน นา้ ป่า ไม่เสมอภาคกัน 
ชาวบ้านไม่ได้ออกกติกาเพื่อการใช้ทรัพยากรที่มีผลกระทบต่อเขา ทาให้เขาไม่รักทรัพยากร 
ส่วนกลางก็เอือ้ประโยชน์ให้กับคนบางกลุ่มที่เข้าถึงอานาจรัฐ เกิดความเหลื่อมลา้ 
กลายเป็นเรื่องมือใครยาวสาวได้สาวเอา 
วิธีการพัฒนาชุมชน/ท้องถิ่นให้ชาวบ้านเกิดความรักท้องถิ่นดังกล่าว 
ผมเสนอให้ใช้กระบวนการประชาเข้าใจ ไม่ใช่ทาแค่ประชาคม 
การทาประชาเข้าใจเป็นกระบวนการทาข้อมูลให้มีพลังเพื่อให้ระเบิดจากข้างใน 
ขัน้ตอนการทาประชาเข้าใจมีดังนคีื้อ 
๑.ให้ชาวบ้านทาข้อมูลครอบครัวของตนเองโดยการทาบัญชีครัวเรือน 
ข้อมูลจากการบันทึกบัญชีครัวเรือนมีหลายประเภท เช่น ข้อมูลรายได้ หนสีิ้น ข้อมูลรายจ่าย ข้อมูลสุขภาพ 
ข้อมูลทรัพยากร เป็นต้น 
๒.ชวนชาวบ้านนุเคราะห์ข้อมูล7 (กระบวนการสร้างภาพความสาเร็จ แนวทางสู่ความสาเร็จ 
สร้างตารางวิเคราะห์แนวทางเลือก จนได้โครงการไปสู่ความสาเร็จ ขัน้ตอนของการทาโครงการให้สาเร็จ 
ชาวบ้านเขียนโครงการได้เองจากข้อมูลดังกล่าว) 
7 ข้อมูลแต่ละด้านจะมีเทคนิคนุเคราะห์ต่างกัน เช่น ข้อมูลทรัพยากร ข้อมูลสุขภาพของครอบครัว ข้อมูลเศรษฐกิจ (รายได้ 
การออม หนี้สิน)จะใช้เทคนิคการประชุมเงียบ (เขียนก่อนพูด) และชวนคุยเพื่อให้เกิดการเรียนรู้สถานการณ์ของข้อมูล ปัญ 
หา 
สาเหตุของปัญหาหรือภาพความสาเร็จ และแนวทางแก้ไข 
ในขณะที่ข้อมูลด้านรายจ่ายจะใช้เทคนิคการประชุมเงียบและทาข้อมูลให้มีพลังโดยการหาค่าเฉลี่ยของรายจ่ายแต่ละรายการเทียบเคียงไปสู่ 
ข้อมูลระดับกลุ่ม/ระดับหมู่บ้าน/ระดับตาบล จากรายจ่ายของครอบครัวต่อเดือน/ต่อปี ถึงรายจ่ายของกลุ่มต่อเดือน/ต่อปี
5 
๓.จากประสบการณ์ของผู้เขียนพบว่า 
การจัดเวทีนุเคราะห์ข้อมูลครึ่งวันสามารถจัดกระบวนการให้ได้โครงการ ๑ โครงการ 
ดังนัน้เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานต่างๆโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่วิเคราะห์แผนขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น 
ถ้าได้นาระบวนการทาประชาเข้าใจไปใช้โดยทางานร่วมกับผู้บริหารท้องถิ่นในการประสานให้ชาวบ้านมาร่ 
วมทาโครงการ เช่น ประชุม ๑ ครัง้ได้ ๑ โครงการ ดังนัน้ประชุม ๒๐ ครัง้ก็ได้ ๒๐ โครงการ เป็นต้น 
และเมื่อนาโครงการต่างๆดังกล่าวมาบูรณาการรว่มกันก็จะเป็นแผนพัฒนาตาบลที่มาจากชาวบ้าน 
โดยที่นักวิชาการหรือเจ้าหน้าที่เป็นเพียงพี่เลีย้ง (facilitator) 
เมื่อโครงการพัฒนาของท้องถิ่นทุกโครงการได้มาจากการทาเวทีประชาเข้าใจ 
ผู้บริหารก็สามารถประสานให้ชาวบ้านที่มีความกระตือรือร้นที่จะพัฒนาท้องถิ่น 
(เห็นคนเหล่านัน้ได้จากการจัดเวทีประชาเข้าใจ) มาทาแผนยุทธศาสตร์พัฒนาท้องถิ่น 
ตรงนจี้ะเห็นได้ว่าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่นมาจากชาวบ้าน 
แต่ในปัจจุบันเราให้ผู้บริหารกับทีมที่ปรึกษาไม่กี่คนมาช่วยกันคิดแล้วนาเสนอผ่านเวทีเลือกตัง้ 
ตรงนเี้องที่ขัดกับหลักการพัฒนาที่มาจากข้างล่าง 
กล่าวได้ว่า 
การทาประชาเข้าใจเป็นกระบวนการที่ทาให้คนในท้องถิ่นสามารถเรียนรู้กระบวนการจัดการทุนของตนเอง 
จนสามารถจัดการทุนของตนเองได้ และสามารถกาหนดทิศทางของตนเองได้ 
อีกทัง้มีการจัดการอย่างเป็นระบบ โดยมีเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานของรัฐที่อยู่ในพืน้ที่เป็นพี่เลี้ยง 
ประเด็นสาคัญก็คือ เจ้าหน้าที่รัฐที่อยู่ในพืน้ที่ต้องเรียนรู้กระบวนการทาประชาเข้าใจ 
ซึ่งเป็นเครื่องมือที่พัฒนาต่อยอดมาจากการทาประชาคม 
การทาประชาเข้าใจเป็นกระบวนการพัฒนาชุมชนจากข้างล่างสู่ข้างบน 
เป็นกระบวนการพัฒนาที่มองว่าชาวบ้านมีศักยภาพ 
ซึ่งต่างการพัฒนาที่มาจากข้างบนตามหลักคิดที่มองชาวบ้านว่า โง่ จน เจ็บ ดังที่หลายคนเข้าใจ 
รายจ่ายของหมู่บ้านต่อเดือน/ต่อปี และรายจ่ายของตาบลต่อเดือน/ต่อปี จนทราบรายจ่ายทัง้ตาบลของรายการที่นุเคราะห์ 
และถ้าอยากให้รายจ่ายดังกล่าวอยู่ในตาบล ก็ให้ช่วยกันคิดหาหนทางจนได้แนวทางที่จะให้รายจ่ายดังกล่าวอยู่ในตาบล เช่น 
แนวทางการตัง้กลุ่มกิจกรรมต่างๆเป็นต้น
6 
ปัญหาของการทาแผนพัฒนาแบบสั่งการจากข้างบนหรือแบบรวมศูนย์อานาจก็คือ 
ชาวบ้านไม่ได้ร่วมกันคิดตลอดทุกขัน้ตอน ดังนัน้ชาวบ้านจึงไม่มีความรู้สึกเป็นเจ้าของโครงการ 
จนได้ยินคากล่าวเปรียบเทียบอยู่เสมอว่า “พองบหมด โครงการก็หมด เหลือแต่ป้ายชื่อ” 
แม้ว่าหน่วยงานรัฐเองก็พยายามแก้ไขคากล่าวหาโดยการให้ชาวบ้านได้มีโอกาสเข้าร่วมโดยการเชิญมาปร 
ะชุมเพื่อรับทราบปัญหา แล้วเจ้าหน้าที่ก็รวบรวมปัญหามาเขียนโครงการ/แผนงาน พร้อมงบประมาณ 
กระบวนการดังกล่าวเรียกว่า การทาประชาคม 
ผลปรากฏว่าชาวบ้านก็ยังไม่มีความรู้สึกเป็นเจ้าของโครงการ/กิจกรรม 
จากการสารวจพบว่า 
หน่วยงานราชการยังไม่มีเครื่องมือที่จะทาให้ชาวบ้านเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของโครงการ/กิจกรรม 
เครื่องมือที่ผู้เขียนนาเสนอคือ การทาประเข้าใจ 
เพราะเป็นเครื่องมือที่ผ่านการทดสอบว่าสามารถทาให้ชาวบ้านเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของโครงการ/กิจกรรม 
ได้8 
กล่าวโดยสรุปก็คือ 
แผนพัฒนาทวั่ไปแตกต่างจากแผนแม่บทชุมชนทัง้ในแง่ของกระบวนการและเป้าหมาย ผลผลิต ผลลัพธ์ 
ดังนคีื้อ 
8 
ชุมชนไม้เรียง อาเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นชุมชนแรกในภาคใต้ที่ใช้กระบวนการเรียนรู้ข้อมูลทุนของชุมชน 
โดยชุมชนจนสามารถจัดการทุนของตนเองได้ กระบวนการดังกล่าว เสรี พงศ์พิศ 
จากมูลนิธิหมู่บ้านที่เข้าไปศึกษาชุมชนไม้เรียงและชุมชนต่างๆทั่วประเทศ เรียกว่า ประชาพิจัย
7 
แผน เป้าหมาย กระบวนกา 
ร 
ผลผลิต ผลลัพธ์ 
แผนพัฒ 
นาทวั่ไป 
(แผนผู้ใ 
หญ่ลี) 
โครงการ/ง 
บประมา 
ณ 
ประชาคม 
เริ่มจากปัญ 
หา 
(ความทุกข์) 
ความต้องก 
าร 
(ความโลภ) 
โครงการ/แผนงานที่มาจากปัญหาความต้องการ(w 
ant) 
นักวิชาการเ 
ข้มแข็ง 
แผนแม่บ 
ทชุมชน 
(แผนผู้ใ 
หญ่วิบูล 
ย์) 
พึ่งตนเองไ 
ด้ 
ประชาเข้าใ 
จ 
เริ่มจากควา 
มสุข 
(ภาพความ 
สาเร็จ) 
ความจาเป็ 
น 
(ร่วมกันนุเค 
ราะห์ข้อมูล) 
โครงการ/แผนงานที่มาจากการนุเคราะห์ข้อมูลปัญ 
หาความต้องการจนกลายเป็นความจาเป็น(need) 
และการสร้างภาพความสาเร็จ 
นักวิชาการ 
และชาวบ้า 
น เข้มแข็ง 
แผนภูมิที่ ๑ ข้อแตกต่างระหว่างแผนพัฒนาทั่วไปกับแผนแม่บทชุมชน 
ข้อเสนอแนะ 
กระทรวงยุติธรรมควรเร่งประสาน/สนับสนุนให้ชุมชน/ท้องถิ่นจัดกระบวนการให้ชุมชนร่วมกันแก้ปั 
ญหาข้อขัดแย้งในชุมชนด้วยชุมชนเอง (ในระดับของคดีที่ทุกฝ่าย เช่น ศาล อัยการ พนักงานสอบสวน 
ชาวบ้าน ยอมรับได้) โดยมีเจ้าหน้าที่ของกระทรวงเป็นพี่เลีย้ง (ประสาน/สนับสนุน/ให้ข้อคิดเห็น) 
โดยอาจเริ่มทาให้เป็นชุมชนต้นแบบก่อน แล้วค่อยขยายไปตามศักยภาพของชุมชน
8 
ผมคิดว่าหากทุกกระทรวงมีเป้าหมายที่เหมือนกันคือ พัฒนาให้ชุมชนพึ่งตนเองได้ เช่น 
กระทรวงเกษตรมุ่งพัฒนาให้ชาวบ้านทาเกษตรพึ่งตนเองได้ 
กระทรวงพลังงานมุ่งพัฒนาให้ท้องถิ่นพึ่งตนเองเรื่องพลังงานได้ 
กระทรวงทรัพยากรฯมุ่งพัฒนาให้ชุมชนจัดการทรัพยากรของเขาได้เอง 
กระทรวงมหาดไทยเร่งกระจายอานาจให้ท้องถิ่นจัดการตนเองได้ตามศักยภาพ 
กระทรวงศึกษาธิการมุ่งพัฒนาให้เยาวชนสามารถจัดการตนเองได้ เป็นต้น 
เมื่อชุมชน/ท้องถิ่นจัดการตนเองได้ ประเทศก็จะพึ่งตนเองได้ 
ชุมชน/ท้องถิ่น/ประเทศที่พึ่งตนเองได้ก็คือชุมชน/ท้องถิ่น/ประเทศที่เข้มแข็งนนั่เอง

More Related Content

Similar to การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเอง

บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
kanwan0429
 
๑ โรงเรียน ๑ นวัตกรรม โรงเรียนบ้านทุ่งคา "โพธิสัตว์น้อย ต่อต้านการทุจริต"
๑ โรงเรียน ๑ นวัตกรรม โรงเรียนบ้านทุ่งคา "โพธิสัตว์น้อย ต่อต้านการทุจริต"๑ โรงเรียน ๑ นวัตกรรม โรงเรียนบ้านทุ่งคา "โพธิสัตว์น้อย ต่อต้านการทุจริต"
๑ โรงเรียน ๑ นวัตกรรม โรงเรียนบ้านทุ่งคา "โพธิสัตว์น้อย ต่อต้านการทุจริต"
Nontaporn Pilawut
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1Taraya Srivilas
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
kruwaeo
 
โครงงานคอม2
โครงงานคอม2โครงงานคอม2
โครงงานคอม2
Kaopod Napatsorn
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้sirirak Ruangsak
 
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
หนุ่ม ครูคอม
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2Pisan Chueachatchai
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบweeraboon wisartsakul
 
6.ส่วนที่ 2
6.ส่วนที่ 26.ส่วนที่ 2
6.ส่วนที่ 2Junior Bush
 
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detailแนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detailxwarx
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนsmellangel
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
Nattayaporn Dokbua
 

Similar to การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเอง (20)

บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
๑ โรงเรียน ๑ นวัตกรรม โรงเรียนบ้านทุ่งคา "โพธิสัตว์น้อย ต่อต้านการทุจริต"
๑ โรงเรียน ๑ นวัตกรรม โรงเรียนบ้านทุ่งคา "โพธิสัตว์น้อย ต่อต้านการทุจริต"๑ โรงเรียน ๑ นวัตกรรม โรงเรียนบ้านทุ่งคา "โพธิสัตว์น้อย ต่อต้านการทุจริต"
๑ โรงเรียน ๑ นวัตกรรม โรงเรียนบ้านทุ่งคา "โพธิสัตว์น้อย ต่อต้านการทุจริต"
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1
 
Japan reading policy
Japan reading policyJapan reading policy
Japan reading policy
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
โครงงานคอม2
โครงงานคอม2โครงงานคอม2
โครงงานคอม2
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
 
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
 
ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 304 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
 
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
 
6.ส่วนที่ 2
6.ส่วนที่ 26.ส่วนที่ 2
6.ส่วนที่ 2
 
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detailแนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
 
ชุดที่31
ชุดที่31ชุดที่31
ชุดที่31
 
หน่วยที่๓
หน่วยที่๓หน่วยที่๓
หน่วยที่๓
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 

การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเอง

  • 1. 1 การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน1 (กระบวนการจัดการตนเอง) ดร.ดารง โยธารักษ์ ๐๘๙ – ๘๗๑๔๕๑๒ สถาบันการเรียนรู้เพื่อจัดการตนเอง2 จังหวัดนครศรีธรรมราช บทความชนิ้นเี้ขียนขึน้จากประสบการณ์ในการทางานของผมกับชุมชนแถวภาคใต้ เป็นการนาเสนอการพัฒนาชุมชน ท้องถิ่น ประเทศ ในอุดมคติหรือในจินตนาการ3 ถ้าจะพูดเป็นภาษาทางด้านรัฐศาสตร์ก็จะเป็นการศึกษาแนวทางปรัชญาการเมือง4 เพื่อนาเสนอถึงแนวทางการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน/ท้องถิ่นในทุกด้านไม่ว่าจะเป็นด้านการจัดการท รัพยากรซึ่งเป็นฐานสาคัญต่อการประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับทรัพยากรของตนเอง/ชุมชน/ท้องถิ่น เพื่อการมีเศรษฐกิจที่มนั่คงทัง้การเงินและสุขภาพที่สมดุลกัน การจัดการด้านยุติธรรมชุมชนที่ชาวบ้านสามารถออกกฎกติกาในชุมชนเพื่อลดปัญหาความขัดแ ย้งได้เอง เป็นต้น เมื่อชุมชน/ท้องถิ่นเข้มแข็ง5 ประเทศก็จะเข้มแข็ง ในที่สุด 1 หลายท่านเมื่อเห็นหัวข้อแล้วคงนึกว่าเป็นไปไม่ได้ เพราะท่านอาจยังเชื่อว่าชาวบ้านยัง โง่ จน เจ็บ เหมือนในอดีตที่ผ่านมา แต่ถ้าท่านเปลี่ยนวิธีคิดใหม่ โดยคิดว่าชาวบ้านมีศักยภาพเพียงแต่เราไม่ค่อยให้โอกาสเขาได้แสดงต่างหาก ท่านก็อาจจะเห็นว่ามีทางเป็นไปได้ 2 สถาบันการเรียนรู้เพื่อจัดการตนเอง ตัง้ขึน้มาเพื่อ ๑,รับจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับเยาวชนที่โรงเรียน/สังคมคิดว่าโง่และเกเร ๒.รับจัดกระบวนการทาแผนพัฒนาท้องถิ่นเพื่อให้ชุมชน/ท้องถนิ่เข้มแข็ง(พึ่งตนเองได้) ๓.รับจัดอบรมทั่วไปตามวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน 3 จินตนาการ หมายถึง ภาพฝันที่มีฐานข้อมูลรองรับ กล่าวคือ ในกรณีชุมชนเข้มแข็งหรือชุมชนพึ่งตนเองได้ มีให้เห็นในหลายชุมชน เช่น ชุมชนไม้เรียง จังหวัดนครศรีธรรมราช ชุมชนคลองเป๊ยะ จังหวัดสงขลา ชุมชนบ้านหนองกลางดง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นต้น และผู้เขียนได้พัฒนาแนวทางการทาประชาเข้าใจมาจากชุมชนดังกล่าว แต่อย่างไรก็ตามกระบวนการดังกล่าวยังไม่เป็นที่สาเร็จมากนักในภาพรวมของประเทศหรืออาจกล่าวได้ว่ายังเป็นภาพในจินตนาการ 4 ปรัชญาการเมือง หมายถึง การที่นักวิชาการพยายามที่จะหาแนวทางหารูปแบบการเมืองการปกครองที่คิดว่าเหมาะสมกับยุคสมัยหรือดีที่สุดตามหลักการและความคิดเห็ นของนักวิชาการคนนัน้ต่อสาธารณะ 5 ชุมชนเข้มแข็ง หมายถึง ชุมชนที่มีกระบวนการเรียนรู้ข้อมูลทุนของชุมชนโดยชุมชนจนชุมชนสามารถจัดการทุนของตนเองได้ สามารถกาหนดทิศทางของตนเองได้ และมีการจัดการอย่างเป็นระบบ เป็นชุมชนที่พึ่งตนเองได้ ผมคิดว่าการเปิดประตูสอู่าเชี่ยนของประเทศไทยด้วยการเน้นการเรียนรู้ภาษาอังกฤษอย่างที่เป็นอยใู่นปัจจุบันนัน้ไม่เพียงพอและในทางกลับกั
  • 2. 2 จินตนาการในการพัฒนาการศึกษาของท้องถิ่น ผมลองจินตนาการดูว่าถ้าเราเริ่มพัฒนาเยาวชนในระดับตาบลโดยให้เยาวชนทุกคนในแต่ละตาบล ต้องเรียนในพืน้ที่ที่ตนกาเนิด ดังนัน้เด็กทุกคนไม่ว่าจะเป็นลูกของผู้นาทุกระดับ เช่น ผู้บริหารท้องถิ่น ท้องที่ สมาชิกสภา รวมถึงประชาชนทุกคนต้องเรียนในพืน้ที่6 (ห้ามเรียนข้ามเขต) ผลจะเกิดอะไรขึน้ ผมคิดว่าคนทุกคนในพืน้ที่ต้องการให้บุตรหลานของตนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ ดังนัน้ทุกภาคส่วนในพืน้ที่ดังกล่าวจาเป็นต้องทุ่มเททรัพยากรเพื่อการศึกษาของบุตรหลานของตนอย่างไม่ ต้องสงสัย คนในชุมชน/ท้องถิ่นจะกระตือรือร้นเรื่องการศึกษา คณะกรรมการโรงเรียนก็จะถูกคัดเลือกจากคนที่มีความสามารถจริง ไม่ใช่เป็นคนที่มีฐานะเพื่อโรงเรียนจะได้ขอเงินบริจาคเหมือนกับทุกวันนี้ คณะกรรมการศึกษาโรงเรียนจะทาหน้าที่ดังที่ปรากฏในกฎหมาย เช่น ต้องพิจารณาหลักสูตร พิจารณาทิศทางการพัฒนาโรงเรียน เป็นต้น บเป็นความคิดที่ตืน้เขินมาก เพราะการเตรียมตัวสอู่าเชี่ยนนัน้ต้องเตรียมความพร้อมของชุมชนต่างหากเพราะถ้าชุมชนยังไม่พร้อม ชุมชนยังอ่อนแอ ชุมชนยังพงึ่ตนเองไม่ได้ ชุมชนยังไม่รู้ว่าตนเองมีดีอะไรที่จะให้เพอื่นบ้านมาดูมาชม หรือถ้าเพอื่นไม่มาก็สามารถยืนอยบู่นฐานทรัพยากรของตัวเองได้ ดูเหมือนว่ารัฐบาลกาลังเตรียมคนไทยให้เป็นแค่ลูกจ้างต่างชาติที่เข้ามาตัง้โรงงานในบ้านเรา ผมคิดว่าที่ผ่านมารัฐบาลตัง้โจทย์ว่าเราจะเตรียมคนไทยให้เป็นลูกจ้างที่ดีได้อย่างไรกระมัง เราจึงได้เห็นโครงการดังที่ทากันอยใู่นปัจจุบัน นี่ถ้ารัฐบาลตัง้โจทย์ใหม่ว่าจะเตรียมคนไทยให้เป็นนายจ้างได้อย่างไร เขาก็คงไม่คิดโครงการดังที่เห็นอยใู่นปัจจุบันที่เน้นเฉพาะเรื่องภาษาเท่านัน้ กล่าวคือ ผมไม่เห็นโครงการชวนคิดชวนคุยถึงเราได้อะไร เราเสียอะไร เราจะเตรียมตัวอย่างไรกับอาเชี่ยนนอกจากการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและภาษาชาติต่างๆในอาเชี่ยน เป็นต้น 6พ ร ะ ร า ช บัญ ญั ติ ก า ร ศึ ก ษ า แ ห่ง ช า ติ พุท ธ ศัก ร า ช ๒ ๕ ๔ ๒ ม า ต ร า ๑ ๐ ร ะ บุว่า ก า ร จัด ก า ร ศึ ก ษ า ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขนั้พืน้ฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็ บ ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ซึ่ ง ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๕ ๐ ม า ต ร า ๔ ๙ ที่ ว่ า บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย จะพบว่า โรงเรียน ให ญ่ๆ โรงเรียน ดังๆ ในตัวจังหวัด ใน ตัว อาเภอกา ลังทาผิดรัฐธ รรมนูญ และ พระราช บัญ ญัติการศึก ษาแ ห่งชา ติ เพราะการไปดูดเอาเด็กต่างพืน้ที่เข้ามาเรียนกันอย่างแออัด แล้วเร่งสร้างอาคารโดยไม่คานึงถึงระบบนิเวศในโรงเรียน (land use) เ พี ย ง เ พ ร า ะ โ ร ง เ รี ย น ดั ง ก ล่ า ว แ ข่ ง กั น ส ร้ า ง เ ด็ ก เ ก่ ง ( ท่ อ ง จ า เ ก่ ง ) ไ ม่ กี่ ค น เ พื่ อ โ ฆ ษ ณ า ดึ ง ดู ด ใ ห้ พ่ อ แ ม่ ที่ ช อ บ ท า ต า ม ก ร ะ แ ส ส่ง ลูก ใ ห้ ม า เ รี ย น อ ย่า ง ไ ม่ มี ค ว า ม สุข ใ น โ ร ง เ รี ย น ดั ง ก ล่า ว พฤติกรรมดังกล่าวเป็นการกระทาที่ขัดกับรัฐธรรมนูญในประเด็นความเสมอภาค และการไม่เลือกปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชน เป็นต้น
  • 3. 3 ถ้าผมมีโอกาสเป็นคณะกรรมการศึกษาโรงเรียน ผมจะเสนอและโน้มน้าวให้โรงเรียนจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ลูกของผมสามารถตัง้คาถามได้ เพราะผมเชื่อว่า ความรู้ดีๆย่อมมาจากการตัง้คาถามที่ดีและแหลมคม ลูกของผมต้องสามารถเขียนตาราได้เองจากการจัดกระบวนการอ่านคาตอบจากตาราในชัน้เรียนแล้วตัง้คา ถามจากคาตอบดังกล่าว บทแล้วบทเล่าจนครบกระบวนวิชาตามหลักสูตร โดยไม่ต้องแบกหนังสือไปโรงเรียน ครูใช้แค่กระดาษเอสี่ ปากกา เป็นสื่อการสอนเพราะผมเชื่อว่ายิ่งครูมีเครื่องไม้เครื่องมือมากเท่าไรลูกผมก็จะทาอะไรไม่เป็นมากเท่านัน้ (พึ่งแต่เทคโนโลยีจนไม่สามารถพึ่งตนเองได้) การประเมินก็เช่นกัน ผมอยากเห็นการประเมินที่ผลงานและพัฒนาการของเด็กเป็นหลัก ส่วนการประเมินด้วยข้อสอบตัวเลือกนัน้อาจเป็นส่วนประกอบ เป็นต้น เมื่อลูกผมจบการศึกษาในระดับประถม มัธยม จากท้องถิ่นของตนเองเรียนรู้จนสามารถรู้จักกระบวนการจัดการทุนของชุมชน โดยมีกระบวนวิชาที่เป็นพืน้ฐาน เช่น วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย โดยไม่ต้องมีวิชาศีลธรรม หน้าที่พลเมือง เพราะวิชาศีลธรรม หน้าที่พลเมืองต้องเป็นพืน้ฐานในการเรียนทุกวิชาดังกล่าว กล่าวคือ ทุกวิชาต้องเรียนให้มีเนอื้หาสาระของแต่ละวิชาโดยมีศีลธรรม และหน้าที่ของความเป็นพลเมืองเป็นตัวกากับ ลูกของผมต้องสามารถคิดวิเคราะห์ได้ว่าตัวเองชอบทาอะไร อะไรที่ตัวเองถนัด ทาอะไรแล้วมีความสุข ทาอะไรที่พ่อแม่มีความสุข ทาอะไรที่ชุมชนมีความสุข ประเทศชาติได้ประโยชน์ เป็นต้น กล่าวคือลูกของผมต้องสามารถจัดการตนเองได้ พึ่งตนเองได้ในระดับประถมและมัธยม ในระดับอุดมศึกษาต้องเรียนในจังหวัด เพราะมหาวิทยาลัยต้องเป็นพี่เลีย้งในการพัฒนาให้กับท้องถิ่น อาเภอ จังหวัด ดังนัน้ลูกของผมจะได้เข้าใจฐานทรัพยากรของอาเภอ จังหวัด และสามารถใช้ทรัพยากรดังกล่าวมาพัฒนาเป็นอาชีพสาหรับเลีย้งตัวเองและครอบครัว ตามอาชีพที่ตนเองถนัดและเมื่อทาแล้วมีความสุข การพัฒนาชุมชน/ท้องถิ่นในจินตนาการ
  • 4. 4 ผู้บริหารท้องถิ่นจะต้องเป็นผู้ประสานชาวบ้านให้ร่วมกันระดมความคิดในการพัฒนาท้องถิ่นทุกเรื่อ ง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการจัดการทรัพยากรดิน นา้ ป่า การจัดการโครงสร้างพืน้ฐาน การจัดการด้านสุขภาพ การจัดการด้านการบริหารความขัดแย้ง ด้านยุติธรรมชุมชน ชาวบ้านควรออกกติกาในการจัดการด้านต่างๆกันเองในชุมชน กติกาดังกล่าวก็คือวัฒนธรรมชุมชน หรือกฎหมายนั่นเอง และหน่วยงานหรือกระทรวงต่างๆก็ต้องนาเอากติกาของชุมชน/ท้องถิ่นทวั่ประเทศไปวางยุทธศาสตร์เพื่อมา หนุนเสริมชุมชน/ท้องถิ่น กล่าวคือกฎหมายที่ดีต้องมาจากวัฒนธรรมหรือวิถีชีวิต ซึ่งปัจจุบันเรากลับไปลอกมาจากที่ที่มีวัฒนธรรมต่างกัน จึงทาให้ชาวบ้านไม่รู้กฎหมาย ความไม่ยุติธรรมที่เกิดขึน้ในปัจจุบันเพราะความสามารถในการเข้าถึงทรัพยากรดิน นา้ ป่า ไม่เสมอภาคกัน ชาวบ้านไม่ได้ออกกติกาเพื่อการใช้ทรัพยากรที่มีผลกระทบต่อเขา ทาให้เขาไม่รักทรัพยากร ส่วนกลางก็เอือ้ประโยชน์ให้กับคนบางกลุ่มที่เข้าถึงอานาจรัฐ เกิดความเหลื่อมลา้ กลายเป็นเรื่องมือใครยาวสาวได้สาวเอา วิธีการพัฒนาชุมชน/ท้องถิ่นให้ชาวบ้านเกิดความรักท้องถิ่นดังกล่าว ผมเสนอให้ใช้กระบวนการประชาเข้าใจ ไม่ใช่ทาแค่ประชาคม การทาประชาเข้าใจเป็นกระบวนการทาข้อมูลให้มีพลังเพื่อให้ระเบิดจากข้างใน ขัน้ตอนการทาประชาเข้าใจมีดังนคีื้อ ๑.ให้ชาวบ้านทาข้อมูลครอบครัวของตนเองโดยการทาบัญชีครัวเรือน ข้อมูลจากการบันทึกบัญชีครัวเรือนมีหลายประเภท เช่น ข้อมูลรายได้ หนสีิ้น ข้อมูลรายจ่าย ข้อมูลสุขภาพ ข้อมูลทรัพยากร เป็นต้น ๒.ชวนชาวบ้านนุเคราะห์ข้อมูล7 (กระบวนการสร้างภาพความสาเร็จ แนวทางสู่ความสาเร็จ สร้างตารางวิเคราะห์แนวทางเลือก จนได้โครงการไปสู่ความสาเร็จ ขัน้ตอนของการทาโครงการให้สาเร็จ ชาวบ้านเขียนโครงการได้เองจากข้อมูลดังกล่าว) 7 ข้อมูลแต่ละด้านจะมีเทคนิคนุเคราะห์ต่างกัน เช่น ข้อมูลทรัพยากร ข้อมูลสุขภาพของครอบครัว ข้อมูลเศรษฐกิจ (รายได้ การออม หนี้สิน)จะใช้เทคนิคการประชุมเงียบ (เขียนก่อนพูด) และชวนคุยเพื่อให้เกิดการเรียนรู้สถานการณ์ของข้อมูล ปัญ หา สาเหตุของปัญหาหรือภาพความสาเร็จ และแนวทางแก้ไข ในขณะที่ข้อมูลด้านรายจ่ายจะใช้เทคนิคการประชุมเงียบและทาข้อมูลให้มีพลังโดยการหาค่าเฉลี่ยของรายจ่ายแต่ละรายการเทียบเคียงไปสู่ ข้อมูลระดับกลุ่ม/ระดับหมู่บ้าน/ระดับตาบล จากรายจ่ายของครอบครัวต่อเดือน/ต่อปี ถึงรายจ่ายของกลุ่มต่อเดือน/ต่อปี
  • 5. 5 ๓.จากประสบการณ์ของผู้เขียนพบว่า การจัดเวทีนุเคราะห์ข้อมูลครึ่งวันสามารถจัดกระบวนการให้ได้โครงการ ๑ โครงการ ดังนัน้เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานต่างๆโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่วิเคราะห์แผนขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ถ้าได้นาระบวนการทาประชาเข้าใจไปใช้โดยทางานร่วมกับผู้บริหารท้องถิ่นในการประสานให้ชาวบ้านมาร่ วมทาโครงการ เช่น ประชุม ๑ ครัง้ได้ ๑ โครงการ ดังนัน้ประชุม ๒๐ ครัง้ก็ได้ ๒๐ โครงการ เป็นต้น และเมื่อนาโครงการต่างๆดังกล่าวมาบูรณาการรว่มกันก็จะเป็นแผนพัฒนาตาบลที่มาจากชาวบ้าน โดยที่นักวิชาการหรือเจ้าหน้าที่เป็นเพียงพี่เลีย้ง (facilitator) เมื่อโครงการพัฒนาของท้องถิ่นทุกโครงการได้มาจากการทาเวทีประชาเข้าใจ ผู้บริหารก็สามารถประสานให้ชาวบ้านที่มีความกระตือรือร้นที่จะพัฒนาท้องถิ่น (เห็นคนเหล่านัน้ได้จากการจัดเวทีประชาเข้าใจ) มาทาแผนยุทธศาสตร์พัฒนาท้องถิ่น ตรงนจี้ะเห็นได้ว่าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่นมาจากชาวบ้าน แต่ในปัจจุบันเราให้ผู้บริหารกับทีมที่ปรึกษาไม่กี่คนมาช่วยกันคิดแล้วนาเสนอผ่านเวทีเลือกตัง้ ตรงนเี้องที่ขัดกับหลักการพัฒนาที่มาจากข้างล่าง กล่าวได้ว่า การทาประชาเข้าใจเป็นกระบวนการที่ทาให้คนในท้องถิ่นสามารถเรียนรู้กระบวนการจัดการทุนของตนเอง จนสามารถจัดการทุนของตนเองได้ และสามารถกาหนดทิศทางของตนเองได้ อีกทัง้มีการจัดการอย่างเป็นระบบ โดยมีเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานของรัฐที่อยู่ในพืน้ที่เป็นพี่เลี้ยง ประเด็นสาคัญก็คือ เจ้าหน้าที่รัฐที่อยู่ในพืน้ที่ต้องเรียนรู้กระบวนการทาประชาเข้าใจ ซึ่งเป็นเครื่องมือที่พัฒนาต่อยอดมาจากการทาประชาคม การทาประชาเข้าใจเป็นกระบวนการพัฒนาชุมชนจากข้างล่างสู่ข้างบน เป็นกระบวนการพัฒนาที่มองว่าชาวบ้านมีศักยภาพ ซึ่งต่างการพัฒนาที่มาจากข้างบนตามหลักคิดที่มองชาวบ้านว่า โง่ จน เจ็บ ดังที่หลายคนเข้าใจ รายจ่ายของหมู่บ้านต่อเดือน/ต่อปี และรายจ่ายของตาบลต่อเดือน/ต่อปี จนทราบรายจ่ายทัง้ตาบลของรายการที่นุเคราะห์ และถ้าอยากให้รายจ่ายดังกล่าวอยู่ในตาบล ก็ให้ช่วยกันคิดหาหนทางจนได้แนวทางที่จะให้รายจ่ายดังกล่าวอยู่ในตาบล เช่น แนวทางการตัง้กลุ่มกิจกรรมต่างๆเป็นต้น
  • 6. 6 ปัญหาของการทาแผนพัฒนาแบบสั่งการจากข้างบนหรือแบบรวมศูนย์อานาจก็คือ ชาวบ้านไม่ได้ร่วมกันคิดตลอดทุกขัน้ตอน ดังนัน้ชาวบ้านจึงไม่มีความรู้สึกเป็นเจ้าของโครงการ จนได้ยินคากล่าวเปรียบเทียบอยู่เสมอว่า “พองบหมด โครงการก็หมด เหลือแต่ป้ายชื่อ” แม้ว่าหน่วยงานรัฐเองก็พยายามแก้ไขคากล่าวหาโดยการให้ชาวบ้านได้มีโอกาสเข้าร่วมโดยการเชิญมาปร ะชุมเพื่อรับทราบปัญหา แล้วเจ้าหน้าที่ก็รวบรวมปัญหามาเขียนโครงการ/แผนงาน พร้อมงบประมาณ กระบวนการดังกล่าวเรียกว่า การทาประชาคม ผลปรากฏว่าชาวบ้านก็ยังไม่มีความรู้สึกเป็นเจ้าของโครงการ/กิจกรรม จากการสารวจพบว่า หน่วยงานราชการยังไม่มีเครื่องมือที่จะทาให้ชาวบ้านเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของโครงการ/กิจกรรม เครื่องมือที่ผู้เขียนนาเสนอคือ การทาประเข้าใจ เพราะเป็นเครื่องมือที่ผ่านการทดสอบว่าสามารถทาให้ชาวบ้านเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของโครงการ/กิจกรรม ได้8 กล่าวโดยสรุปก็คือ แผนพัฒนาทวั่ไปแตกต่างจากแผนแม่บทชุมชนทัง้ในแง่ของกระบวนการและเป้าหมาย ผลผลิต ผลลัพธ์ ดังนคีื้อ 8 ชุมชนไม้เรียง อาเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นชุมชนแรกในภาคใต้ที่ใช้กระบวนการเรียนรู้ข้อมูลทุนของชุมชน โดยชุมชนจนสามารถจัดการทุนของตนเองได้ กระบวนการดังกล่าว เสรี พงศ์พิศ จากมูลนิธิหมู่บ้านที่เข้าไปศึกษาชุมชนไม้เรียงและชุมชนต่างๆทั่วประเทศ เรียกว่า ประชาพิจัย
  • 7. 7 แผน เป้าหมาย กระบวนกา ร ผลผลิต ผลลัพธ์ แผนพัฒ นาทวั่ไป (แผนผู้ใ หญ่ลี) โครงการ/ง บประมา ณ ประชาคม เริ่มจากปัญ หา (ความทุกข์) ความต้องก าร (ความโลภ) โครงการ/แผนงานที่มาจากปัญหาความต้องการ(w ant) นักวิชาการเ ข้มแข็ง แผนแม่บ ทชุมชน (แผนผู้ใ หญ่วิบูล ย์) พึ่งตนเองไ ด้ ประชาเข้าใ จ เริ่มจากควา มสุข (ภาพความ สาเร็จ) ความจาเป็ น (ร่วมกันนุเค ราะห์ข้อมูล) โครงการ/แผนงานที่มาจากการนุเคราะห์ข้อมูลปัญ หาความต้องการจนกลายเป็นความจาเป็น(need) และการสร้างภาพความสาเร็จ นักวิชาการ และชาวบ้า น เข้มแข็ง แผนภูมิที่ ๑ ข้อแตกต่างระหว่างแผนพัฒนาทั่วไปกับแผนแม่บทชุมชน ข้อเสนอแนะ กระทรวงยุติธรรมควรเร่งประสาน/สนับสนุนให้ชุมชน/ท้องถิ่นจัดกระบวนการให้ชุมชนร่วมกันแก้ปั ญหาข้อขัดแย้งในชุมชนด้วยชุมชนเอง (ในระดับของคดีที่ทุกฝ่าย เช่น ศาล อัยการ พนักงานสอบสวน ชาวบ้าน ยอมรับได้) โดยมีเจ้าหน้าที่ของกระทรวงเป็นพี่เลีย้ง (ประสาน/สนับสนุน/ให้ข้อคิดเห็น) โดยอาจเริ่มทาให้เป็นชุมชนต้นแบบก่อน แล้วค่อยขยายไปตามศักยภาพของชุมชน
  • 8. 8 ผมคิดว่าหากทุกกระทรวงมีเป้าหมายที่เหมือนกันคือ พัฒนาให้ชุมชนพึ่งตนเองได้ เช่น กระทรวงเกษตรมุ่งพัฒนาให้ชาวบ้านทาเกษตรพึ่งตนเองได้ กระทรวงพลังงานมุ่งพัฒนาให้ท้องถิ่นพึ่งตนเองเรื่องพลังงานได้ กระทรวงทรัพยากรฯมุ่งพัฒนาให้ชุมชนจัดการทรัพยากรของเขาได้เอง กระทรวงมหาดไทยเร่งกระจายอานาจให้ท้องถิ่นจัดการตนเองได้ตามศักยภาพ กระทรวงศึกษาธิการมุ่งพัฒนาให้เยาวชนสามารถจัดการตนเองได้ เป็นต้น เมื่อชุมชน/ท้องถิ่นจัดการตนเองได้ ประเทศก็จะพึ่งตนเองได้ ชุมชน/ท้องถิ่น/ประเทศที่พึ่งตนเองได้ก็คือชุมชน/ท้องถิ่น/ประเทศที่เข้มแข็งนนั่เอง