SlideShare a Scribd company logo
ประเภทของกล้องจุลทรรศน์ 
ในปัจจุบันกล้องจุลทรรศน์แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 
1. กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง 
ซึ่งมีอยู่2 แบบ คือ กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบธรรมดาและแบบสเตอริ 
โอ 
2. กล้องจุลทรรศน์แบบอิเล็กตรอน 
ซึ่งมีอยู่2 แบบ คือ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่านและแบบ 
ส่องกราด
1.ลำกล้อง (Body tube) เป็นส่วนที่เชื่อมโยงระหว่างเลนส์ใกล้ตากับเลนส์ 
ใกล้วัตถุ มีหน้าป้องกันไม่ให้แสงจากภายนอกรบกวน 
2.เลนส์ใกล้วัตถุ( Objective Lens) จะติดอยู่เป็นชุดกับจานหมุนใช้ขยาย 
ภาพของวัตถุ 
3.แท่นวำงสไลด์( Stage ) ใช้วางสไลด์ตัวอย่างที่ต้องการศึกษา ตรงกลาง 
มีรูให้แสงจากหลอดไฟส่องผ่านวัตถุ 
4.หลอดไฟ ( Lamp ) สา หรับให้แสงส่องสว่างเพื่อดูวัตถุ 
5.ฐำน ( Base ) ทา หน้าที่รองรับน้า หนักทั้งหมดของกล้องจุลทรรศน์ มี 
รูปร่างสี่เหลี่ยมหรือวงกลมที่ฐานจะมีปุ่มสา หรับปิดเปิดหลอดไฟ
6.เลนส์ใกล้ตำ ( Ocular Lens ) เลนส์นี้จะสวมอยู่กับลา กล้อง มีตัวเลขแสดง 
กา ลังขยายอยู่ด้านบน 
7.แขนกล้อง ( Arm ) เป็นส่วนยึดลา กล้องและฐานไว้ด้วยกัน ใช้เป็นที่จับ 
เวลาเคลื่อนย้ายกล้อง 
8.ปุ่มปรับภำพหยำบ ( Coarse Adjustment Knob ) ใช้เลื่อนตา แหน่งของ 
แท่นวางวัตถุขึ้นลง เมื่ออยู่ในระยะโฟกัสก็จะมองเห็นภาพได้ 
9.ปุ่มปรับภำพละเอียด ( Fine Adjustment Knob) ใช้ปรับภาพเพื่อให้ได้ภาพ 
คมชัดยิ่งขึ้นหลังจากปรับปุ่มปรับภาพหยาบ
ขั้นตอนกำรใช้กล้องจุลทรรศน์แบบแสง 
1.วางกล้องให้ฐานอยู่บนพื้นรองรับที่เรียบสม่า เสมอเพื่อให้ลา กล้องตั้ง 
ตรง 
2.หมุนเลนส์ใกล้วัตถุ อันที่มีกา ลังขยายต่า สุดมาอยู่ตรงกับลา กล้อง 
3.เปิดหลอดไฟให้แสงผ่านเข้าลา กล้อง 
4.นา สไลด์ที่จะศึกษาวางบนแท่นของวัตถุ ให้วัตถุอยู่กึ่งกลางบริเวณที่ 
แสงผ่าน แล้วค่อยๆ หมุนปุ่มปรับภาพหยาบให้ลา กล้องเลื่อนลงมาอยู่ 
ใกล้วัตถุมากที่สุด โดยระวังอย่าให้เลนส์ใกล้วัตถุสัมผัสกับกระจกปิด 
สไลด์
5.มองผ่านเลนส์ใกล้ตาลงตามลา กล้อง พร้อมกับหมุนปุ่มปรับภาพ 
หยาบขึ้นช้าๆ จนมองเห็นวัตถุที่จะศึกษา แล้วจึงเปลี่ยนมาหมุนปรับ 
ปุ่มภาพละเอียด เพื่อปรับภาพให้ชัด อาจเลื่อนสไลด์ไปมาช้าๆเพื่อให้ 
สิ่งที่ต้องการศึกษามาอยู่กลางแนวลา กล้อง 
6.ถ้าต้องการขยายภาพให้ใหญ่ขึ้น ให้หมุนเลนส์ใกล้วัตถุอันที่มี 
กา ลังขยายสูงขึ้นเข้ามาในแนวลา กล้องและไม่ควรขยับสไลด์อีก แล้ว 
หมุนปรับภาพละเอียดเพื่อให้เห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น
1.การยกกล้อง ควรใช้มือหนึ่งจับที่แขนกล้อง และอีกมือหนึ่งวางที่ฐาน 
และต้องให้ลา กล้องตั้งตรงเสมอ เพื่อป้องกันการเลื่อนหลุดของเลนส์ใกล้ตา 
ที่สามารถถอดออกได้ง่าย 
2.สไลด์และกระจกปิดสไลด์ต้องไม่เปียก เพราะอาจทา ให้แท่นวางเกิด 
สนิม และทา ให้เลนส์ใกล้วัตถุชื้นอาจเกิดเชื้อราที่เลนส์ได้ 
3.ขณะที่ตามองผ่านเลนส์ใกล้ตา เมื่อจะต้องหมุนปุ่มปรับภาพหยาบ ต้อง 
หมุนขึ้นเท่านั้น ห้ามหมุนลงเพราะเลนส์ใกล้ตาอาจกระทบกระจกสไลด์ทา 
ให้เลนส์แตกได้
กำรเก็บรักษำกล้องจุลทรรศน์แบบแสง (ต่อ) 
4.ในการทา ความสะอาด ห้ามใช้มือแตะเลนส์ ให้ใช้กระดาษสา หรับเช็ด 
เลนส์เท่านั้น 
5.เมื่อใช้เสร็จแล้วต้องเอาวัตถุที่ศึกษาออก เช็ดแท่นวางวัตถุและเช็ด 
เลนส์ให้สะอาด
กล้องจุลทรรศน์

More Related Content

What's hot

9789740330196
97897403301969789740330196
9789740330196
CUPress
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phography
edtech29
 
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPart 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Pipit Sitthisak
 
การเขียนภาพกระจกเว้า
การเขียนภาพกระจกเว้าการเขียนภาพกระจกเว้า
การเขียนภาพกระจกเว้าsripai52
 
เลนส์
เลนส์เลนส์
เลนส์kruruty
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
Phattarawan Wai
 
การถ่ายภาพ copy
การถ่ายภาพ copyการถ่ายภาพ copy
การถ่ายภาพ copy
edtech29
 
การเขียนภาพเกี่ยวกับเลนส์
การเขียนภาพเกี่ยวกับเลนส์การเขียนภาพเกี่ยวกับเลนส์
การเขียนภาพเกี่ยวกับเลนส์Kaettichai Penwijit
 
Audio and Visual Editing - Week 2
Audio and Visual Editing - Week 2Audio and Visual Editing - Week 2
Audio and Visual Editing - Week 2
Henry Shen
 

What's hot (14)

Electron microscope
Electron microscopeElectron microscope
Electron microscope
 
9789740330196
97897403301969789740330196
9789740330196
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phography
 
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPart 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
 
1
 1  1
1
 
Techno
TechnoTechno
Techno
 
การเขียนภาพกระจกเว้า
การเขียนภาพกระจกเว้าการเขียนภาพกระจกเว้า
การเขียนภาพกระจกเว้า
 
เลนส์
เลนส์เลนส์
เลนส์
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
การถ่ายภาพ copy
การถ่ายภาพ copyการถ่ายภาพ copy
การถ่ายภาพ copy
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
 
การเขียนภาพเกี่ยวกับเลนส์
การเขียนภาพเกี่ยวกับเลนส์การเขียนภาพเกี่ยวกับเลนส์
การเขียนภาพเกี่ยวกับเลนส์
 
Rs
RsRs
Rs
 
Audio and Visual Editing - Week 2
Audio and Visual Editing - Week 2Audio and Visual Editing - Week 2
Audio and Visual Editing - Week 2
 

Viewers also liked

บทที่ 1 อยู่ดีมีสุข
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุขบทที่ 1 อยู่ดีมีสุข
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุข
Pinutchaya Nakchumroon
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารnetzad
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตnetzad
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
Pasit Suwanichkul
 

Viewers also liked (7)

บทที่ 1 อยู่ดีมีสุข
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุขบทที่ 1 อยู่ดีมีสุข
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุข
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 

Similar to กล้องจุลทรรศน์

กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
ssuser9219af
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
wirayuth jaksuwan
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
พัน พัน
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงพัน พัน
 

Similar to กล้องจุลทรรศน์ (8)

กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสง
 
แฟลช
แฟลชแฟลช
แฟลช
 
Light[1]
Light[1]Light[1]
Light[1]
 
148
148148
148
 

กล้องจุลทรรศน์

  • 1.
  • 2.
  • 3. ประเภทของกล้องจุลทรรศน์ ในปัจจุบันกล้องจุลทรรศน์แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง ซึ่งมีอยู่2 แบบ คือ กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบธรรมดาและแบบสเตอริ โอ 2. กล้องจุลทรรศน์แบบอิเล็กตรอน ซึ่งมีอยู่2 แบบ คือ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่านและแบบ ส่องกราด
  • 4.
  • 5. 1.ลำกล้อง (Body tube) เป็นส่วนที่เชื่อมโยงระหว่างเลนส์ใกล้ตากับเลนส์ ใกล้วัตถุ มีหน้าป้องกันไม่ให้แสงจากภายนอกรบกวน 2.เลนส์ใกล้วัตถุ( Objective Lens) จะติดอยู่เป็นชุดกับจานหมุนใช้ขยาย ภาพของวัตถุ 3.แท่นวำงสไลด์( Stage ) ใช้วางสไลด์ตัวอย่างที่ต้องการศึกษา ตรงกลาง มีรูให้แสงจากหลอดไฟส่องผ่านวัตถุ 4.หลอดไฟ ( Lamp ) สา หรับให้แสงส่องสว่างเพื่อดูวัตถุ 5.ฐำน ( Base ) ทา หน้าที่รองรับน้า หนักทั้งหมดของกล้องจุลทรรศน์ มี รูปร่างสี่เหลี่ยมหรือวงกลมที่ฐานจะมีปุ่มสา หรับปิดเปิดหลอดไฟ
  • 6. 6.เลนส์ใกล้ตำ ( Ocular Lens ) เลนส์นี้จะสวมอยู่กับลา กล้อง มีตัวเลขแสดง กา ลังขยายอยู่ด้านบน 7.แขนกล้อง ( Arm ) เป็นส่วนยึดลา กล้องและฐานไว้ด้วยกัน ใช้เป็นที่จับ เวลาเคลื่อนย้ายกล้อง 8.ปุ่มปรับภำพหยำบ ( Coarse Adjustment Knob ) ใช้เลื่อนตา แหน่งของ แท่นวางวัตถุขึ้นลง เมื่ออยู่ในระยะโฟกัสก็จะมองเห็นภาพได้ 9.ปุ่มปรับภำพละเอียด ( Fine Adjustment Knob) ใช้ปรับภาพเพื่อให้ได้ภาพ คมชัดยิ่งขึ้นหลังจากปรับปุ่มปรับภาพหยาบ
  • 7. ขั้นตอนกำรใช้กล้องจุลทรรศน์แบบแสง 1.วางกล้องให้ฐานอยู่บนพื้นรองรับที่เรียบสม่า เสมอเพื่อให้ลา กล้องตั้ง ตรง 2.หมุนเลนส์ใกล้วัตถุ อันที่มีกา ลังขยายต่า สุดมาอยู่ตรงกับลา กล้อง 3.เปิดหลอดไฟให้แสงผ่านเข้าลา กล้อง 4.นา สไลด์ที่จะศึกษาวางบนแท่นของวัตถุ ให้วัตถุอยู่กึ่งกลางบริเวณที่ แสงผ่าน แล้วค่อยๆ หมุนปุ่มปรับภาพหยาบให้ลา กล้องเลื่อนลงมาอยู่ ใกล้วัตถุมากที่สุด โดยระวังอย่าให้เลนส์ใกล้วัตถุสัมผัสกับกระจกปิด สไลด์
  • 8. 5.มองผ่านเลนส์ใกล้ตาลงตามลา กล้อง พร้อมกับหมุนปุ่มปรับภาพ หยาบขึ้นช้าๆ จนมองเห็นวัตถุที่จะศึกษา แล้วจึงเปลี่ยนมาหมุนปรับ ปุ่มภาพละเอียด เพื่อปรับภาพให้ชัด อาจเลื่อนสไลด์ไปมาช้าๆเพื่อให้ สิ่งที่ต้องการศึกษามาอยู่กลางแนวลา กล้อง 6.ถ้าต้องการขยายภาพให้ใหญ่ขึ้น ให้หมุนเลนส์ใกล้วัตถุอันที่มี กา ลังขยายสูงขึ้นเข้ามาในแนวลา กล้องและไม่ควรขยับสไลด์อีก แล้ว หมุนปรับภาพละเอียดเพื่อให้เห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น
  • 9. 1.การยกกล้อง ควรใช้มือหนึ่งจับที่แขนกล้อง และอีกมือหนึ่งวางที่ฐาน และต้องให้ลา กล้องตั้งตรงเสมอ เพื่อป้องกันการเลื่อนหลุดของเลนส์ใกล้ตา ที่สามารถถอดออกได้ง่าย 2.สไลด์และกระจกปิดสไลด์ต้องไม่เปียก เพราะอาจทา ให้แท่นวางเกิด สนิม และทา ให้เลนส์ใกล้วัตถุชื้นอาจเกิดเชื้อราที่เลนส์ได้ 3.ขณะที่ตามองผ่านเลนส์ใกล้ตา เมื่อจะต้องหมุนปุ่มปรับภาพหยาบ ต้อง หมุนขึ้นเท่านั้น ห้ามหมุนลงเพราะเลนส์ใกล้ตาอาจกระทบกระจกสไลด์ทา ให้เลนส์แตกได้
  • 10. กำรเก็บรักษำกล้องจุลทรรศน์แบบแสง (ต่อ) 4.ในการทา ความสะอาด ห้ามใช้มือแตะเลนส์ ให้ใช้กระดาษสา หรับเช็ด เลนส์เท่านั้น 5.เมื่อใช้เสร็จแล้วต้องเอาวัตถุที่ศึกษาออก เช็ดแท่นวางวัตถุและเช็ด เลนส์ให้สะอาด