SlideShare a Scribd company logo
ความยาวของประโยค
ประโยคอาจจะแตกต่างกันที่ความสั้นยาว ประโยค
ยาวออกไปได้เมื่อผู้พูดเพิ่มรายละเอียดให้มากขึ้น
รายละเอียดเพิ่มขึ้นเป็นรายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่ เวลา
ที่เกิดเหตุการณ์ ต้นเหตุที่ทาให้เกิดเหตุการณ์ ฯลฯ
นอกจากนั้นผู้พูดยังอาจจะให้รายละเอียดที่ชัดเจนขึ้น
โดยหาคาขยายนามหรือขยายกริยาในประโยค
ตัวอย่าง
๑. เพื่อนผมได้รับเลือกเป็นประธาน
๒. เพื่อนผมได้รับเลือกเป็นประธานชมรมวิทยาศาสตร์
๓. เพื่อนผมที่เป็นน้องคุณครูได้รับเลือกเป็นประธานชมรม
วิทยาศาสตร์คนล่าสุด
อนึ่ง ถ้าเราไม่ต้องการให้ประโยคยาวเกินไป เราก็อาจแยก
รายละเอียดไว้ต่างหาก อีกประโยคหนึ่ง หรือหลายประโยคก็ได้ เช่น
ประโยค ๒ อาจจะแยกกลายเป็น ๒ ประโยค ดังนี้
๔. ชมรมวิทยาศาสตร์เลือกประธานชมรมแล้ว เพื่อนผมเป็นผู้
ได้รับเลือก
๕. เพื่อนผมได้รับเลือกเป็นประธานชมรมวิทยาศาสตร์คนล่าสุด
เพื่อนผมคนนี้เป็นน้องคุณครู
บางประโยคซ้ากับประโยคที่มาก่อน ข้อความที่ซ้านั้นผู้พูดอาจละ
หรือคงไว้หรือหาคามาแทนก็ได้ หากละคาหรือหาคาอื่นมาแทน
ประโยคจึงสั้นลง
ตัวอย่าง
๑. ฉันอยากซื้อหนังสือภาพสวยๆ ให้
น้องสักเล่มหนึ่ง แต่หนังสือภาพสวยๆ นี่
แพงเหลือเกิน
๒. ฉันอยากซื้อหนังสือภาพสวยๆ ให้น้อง
สักเล่มหนึ่ง แต่แพงเหลือเกิน
ประโยค ๒ มีการละคาที่ซ้ากับประโยค
ที่มาก่อน ประโยค ๒ จึงสั้นกว่าประโยค ๑
ตัวอย่าง
๑. คุณไม่ควรรับคนที่นินทาว่าร้ายผู้อื่นมา
ทางานเพราะคนที่ชอบนินทาว่าร้ายผู้อื่นจะ
ทาให้เกิดความแตกแยกในบริษัทของคุณ
๒. คุณไม่ควรรับคนที่ชอบนินทาว่าร้าย
ผู้อื่นมาทางาน เพราะคนอย่างนั้นจะทาให้
เกิดความแตกแยกในบริษัทของคุณ
ประโยค ๒ มีการหาคาอื่นมาแทนคาต่างๆ
ที่ซ้ากับคาในประโยคหน้า ประโยค ๒ จึง
สั้นกว่าประโยค ๑

More Related Content

What's hot

แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑bangonchin
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
Kru Tew Suetrong
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
kanyamadcharoen
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
Aj.Mallika Phongphaew
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
rewat Chitthaing
 
กระบวนการปฏิสนธิ
กระบวนการปฏิสนธิกระบวนการปฏิสนธิ
กระบวนการปฏิสนธิ
ThanadolBunnag
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยWatcharinz
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
Thanawut Rattanadon
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินkrubenjamat
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
krusarawut
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
Tutor Ferry
 
ฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐานฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐาน
โรงเรียนเทพลีลา
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
Tanakorn Pansupa
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
Phanuwat Somvongs
 
ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3
Taweep Saechin
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
TupPee Zhouyongfang
 

What's hot (20)

แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
 
จำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อนจำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อน
 
ใบงานยุโรปที่ 2
ใบงานยุโรปที่ 2ใบงานยุโรปที่ 2
ใบงานยุโรปที่ 2
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
กระบวนการปฏิสนธิ
กระบวนการปฏิสนธิกระบวนการปฏิสนธิ
กระบวนการปฏิสนธิ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
 
ฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐานฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐาน
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 

ความยาวของประโยค