SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
การป้อนยาทางสายให้อาหาร
กรณีศึกษา - Nexium MUPS
แพทย์สั่งให้ ยาเม็ด Nexium MUPS
40 mg วันละ 1 ครั้ง แก่ผู้ป่วยรายหนึ่งในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤต เพื่อ
ป้องกัน stress-induced gastrointestinal tract bleeding ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี สามารถกลืนยาได้ จึงกินยาเม็ด Nexium
MUPS
ตามปกติ หลังจากนั้น 2 วัน แพทย์ใส่สาย NG tube แก่ผู้ป่วยเพื่อให้ enteral nutrition และยังคงสั่งให้ยาเม็ด
Nexium MUPS
แก่ผู้ป่วยต่อไป จะให้ยาแก่ผู้ป่วย อย่างไร
ตอบ ยาเม็ด Nexium MUPS
เป็นยาเม็ด ประกอบด้วยยาเม็ดเล็กๆ (pellets) ของตัวยา esomeprazole ที่หุ้มด้วย
เปลือกเอ็นเทอริก (enteric-coated pellets) จานวนมาก (multi-unit pellet system, MUPS)
 ตัวยา ไม่ทนกรด
 ตัวยาดูดซึมดีที่ลาไส้เล็ก
 เปลือกเอ็นเทอริกที่หุ้มตัวยา
– ทนกรด
– ไม่ทนด่าง
วิธีให้ยาเม็ด Nexium MUPS
ทางสายยาง (คาแนะนาในเอกสารกากับยา)
 ใส่เม็ดยาทั้งเม็ดลงในกระบอกฉีดยา
 ดูดน้าเข้ามาในกระบอกฉีดยา 25 ซีซี
 เขย่ากระบอกฉีดยาทันที จนเม็ดยาแตกออกเป็น pellets เล็กๆ หมด
 สอดปลายกระบอกฉีดยาเข้ากับสายยาง
 เขย่ากระบอกฉีดยาและฉีดน้ายาเข้าทางสายยางทันที
กรณีศึกษา - Nexium MUPS
ผู้ป่วยมีอาการปวดท้องและน้าหนักลดลงเรื่อยๆ ตรวจพบว่ามีก้อนในกระเพาะอาหาร แพทย์ทาการผ่าตัด
กระเพาะอาหารเอาก้อนเนื้องอกออก เปลี่ยน NG tube เป็น PEJ tube และยังคงให้ยาเม็ด Nexium MUPS
แก่
ผู้ป่วยต่อไป จะให้ยาแก่ผู้ป่วย ด้วยวิธีเดิมได้หรือไม่ ?
ถ้าบดเม็ดยา Nexium MUPS เติมน้าลงไปในโกร่ง แล้วใช้กระบอกฉีดยาดูดน้ายาฉีดน้ายาเข้าทางสายให้อาหารทาได้
ไหม ?
ยาอื่นๆ
• Losec MUPS 
tablet (omeprazole)
• Controloc 
gastro-resistant tablet (pantoprazole)
• Prevacid FDT 
(lansoprazole)
ถ้าบดเม็ดยา ให้ทาง NG tube บดเม็ดยา ฟิล์มแตกออก เปิดเผยตัวยา  ใช้ยาไม่ได้ผล
 ตัวยาไม่ทนกรด
 ตัวยาดูดซึมดีที่ลาไส้
 ฟิล์มที่เคลือบไม่ทนด่าง
กรณีปกติ ไม่มีสายให้อาหารจะกินยากับน้าส้มได้หรือไม่ ?  ทาได้  แต่การกินยากับน้าเปล่า ดีที่สุด
กรณีศึกษา - Aspent M
แพทย์สั่ง Aspent M 15 mg ให้แก่ผู้ป่วยเด็กรายหนึ่ง ผู้ป่วยรายนี้มี NG tube คาอยู่ Aspent M
เป็นยาเม็ด
เคลือบเอ็นเทอริกของตัวยา aspirin มีตัวยา aspirin เม็ดละ 60 mg Aspirin ทาให้เกิดแผลในกระเพาะอาหาร เป็น
Enteric coat ทนกรดน้าย่อย จึงสามารถเก็บ aspirin ไว้ภายใน เมื่อเม็ดยาอยู่ในกระเพาะอาหาร
เลือกทาแบบใด ?
ก. บดยา Aspent M
ให้เป็นผง แบ่งเป็น 4 ส่วน นา 1 ส่วนมาผสมน้าแล้วป้อน
ข. เปลี่ยนไปใช้ aspirin tablet ขนาด 1 grain (60 mg) บดเป็นผง แบ่งเป็น 4 ส่วน นา 1 ส่วนมาผสมน้าแล้ว
ป้อน
ค.เปลี่ยนไปใช้ aspirin tablet ขนาด grain V (300 mg) บดเป็นผง แบ่งเป็น 20 ส่วน นา 1 ส่วนมาผสมน้าแล้ว
ป้อน
บดเม็ดยา ให้ทาง NG tube  บดเม็ดยา ฟิล์มแตกออกเปิดเผยตัวยา  ระคายกระเพาะอาหาร
 ตัวยาระคายกระเพาะอาหาร
 ฟิล์มที่เคลือบไม่ทนด่าง

More Related Content

What's hot

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านบทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านPa'rig Prig
 
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ Utai Sukviwatsirikul
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์Utai Sukviwatsirikul
 
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้านเลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้านZiwapohn Peecharoensap
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Utai Sukviwatsirikul
 
How to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacy
How to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacyHow to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacy
How to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacyUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyUtai Sukviwatsirikul
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.Ziwapohn Peecharoensap
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กOzone Thanasak
 

What's hot (20)

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านบทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
 
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
 
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้านเลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 
Wound care
Wound careWound care
Wound care
 
How to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacy
How to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacyHow to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacy
How to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacy
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
Naranjo
NaranjoNaranjo
Naranjo
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 

Viewers also liked

Pharmaceutical Care Untuk Penyakit TBC
Pharmaceutical Care Untuk Penyakit TBCPharmaceutical Care Untuk Penyakit TBC
Pharmaceutical Care Untuk Penyakit TBCSainal Edi Kamal
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNarenthorn EMS Center
 
THE ROLE OF QA IN PHARMACEUTICALS
THE ROLE OF QA IN PHARMACEUTICALSTHE ROLE OF QA IN PHARMACEUTICALS
THE ROLE OF QA IN PHARMACEUTICALSKostas Skopelitis
 
Subarachnoid hemorrhage grading_scales
Subarachnoid hemorrhage grading_scalesSubarachnoid hemorrhage grading_scales
Subarachnoid hemorrhage grading_scalesdrjigneshnhl
 
Essential guide to acute care
Essential guide to acute careEssential guide to acute care
Essential guide to acute careAdarsh
 
Cerdas Memilih Obat dan Memilih Penyakit
Cerdas Memilih Obat dan Memilih PenyakitCerdas Memilih Obat dan Memilih Penyakit
Cerdas Memilih Obat dan Memilih PenyakitSainal Edi Kamal
 
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Utai Sukviwatsirikul
 
Gastrointestinal disease.doc review
Gastrointestinal disease.doc  reviewGastrointestinal disease.doc  review
Gastrointestinal disease.doc reviewNarupon Sonsak
 
Guidelines for Assassement of Pain
Guidelines for Assassement of PainGuidelines for Assassement of Pain
Guidelines for Assassement of PainSainal Edi Kamal
 
Informed Emergency & Critical Care Pocket Guide
Informed Emergency & Critical Care Pocket GuideInformed Emergency & Critical Care Pocket Guide
Informed Emergency & Critical Care Pocket GuideIvor Kovic
 
Mayo clinic cardiology
Mayo clinic cardiologyMayo clinic cardiology
Mayo clinic cardiologyChhaiden Phang
 
Nanoparticle technology for_drug_delivery
Nanoparticle technology for_drug_deliveryNanoparticle technology for_drug_delivery
Nanoparticle technology for_drug_deliverySainal Edi Kamal
 
Anatomi dan Iisiologi Manusia (endokrin dan persyarafan)
Anatomi dan Iisiologi Manusia (endokrin dan persyarafan)Anatomi dan Iisiologi Manusia (endokrin dan persyarafan)
Anatomi dan Iisiologi Manusia (endokrin dan persyarafan)Sainal Edi Kamal
 

Viewers also liked (19)

Had12may2014 2
Had12may2014  2Had12may2014  2
Had12may2014 2
 
Pharmaceutical Care Untuk Penyakit TBC
Pharmaceutical Care Untuk Penyakit TBCPharmaceutical Care Untuk Penyakit TBC
Pharmaceutical Care Untuk Penyakit TBC
 
Farmakologi Kebidanan
Farmakologi KebidananFarmakologi Kebidanan
Farmakologi Kebidanan
 
Acute coronary syndrome 2010
Acute coronary syndrome 2010Acute coronary syndrome 2010
Acute coronary syndrome 2010
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
 
ACLS 2010
ACLS 2010ACLS 2010
ACLS 2010
 
THE ROLE OF QA IN PHARMACEUTICALS
THE ROLE OF QA IN PHARMACEUTICALSTHE ROLE OF QA IN PHARMACEUTICALS
THE ROLE OF QA IN PHARMACEUTICALS
 
Subarachnoid hemorrhage grading_scales
Subarachnoid hemorrhage grading_scalesSubarachnoid hemorrhage grading_scales
Subarachnoid hemorrhage grading_scales
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
Essential guide to acute care
Essential guide to acute careEssential guide to acute care
Essential guide to acute care
 
Plants That Fight Cancer
Plants That Fight CancerPlants That Fight Cancer
Plants That Fight Cancer
 
Cerdas Memilih Obat dan Memilih Penyakit
Cerdas Memilih Obat dan Memilih PenyakitCerdas Memilih Obat dan Memilih Penyakit
Cerdas Memilih Obat dan Memilih Penyakit
 
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
 
Gastrointestinal disease.doc review
Gastrointestinal disease.doc  reviewGastrointestinal disease.doc  review
Gastrointestinal disease.doc review
 
Guidelines for Assassement of Pain
Guidelines for Assassement of PainGuidelines for Assassement of Pain
Guidelines for Assassement of Pain
 
Informed Emergency & Critical Care Pocket Guide
Informed Emergency & Critical Care Pocket GuideInformed Emergency & Critical Care Pocket Guide
Informed Emergency & Critical Care Pocket Guide
 
Mayo clinic cardiology
Mayo clinic cardiologyMayo clinic cardiology
Mayo clinic cardiology
 
Nanoparticle technology for_drug_delivery
Nanoparticle technology for_drug_deliveryNanoparticle technology for_drug_delivery
Nanoparticle technology for_drug_delivery
 
Anatomi dan Iisiologi Manusia (endokrin dan persyarafan)
Anatomi dan Iisiologi Manusia (endokrin dan persyarafan)Anatomi dan Iisiologi Manusia (endokrin dan persyarafan)
Anatomi dan Iisiologi Manusia (endokrin dan persyarafan)
 

การป้อนยาทางสายให้อาหาร

  • 1. การป้อนยาทางสายให้อาหาร กรณีศึกษา - Nexium MUPS แพทย์สั่งให้ ยาเม็ด Nexium MUPS 40 mg วันละ 1 ครั้ง แก่ผู้ป่วยรายหนึ่งในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤต เพื่อ ป้องกัน stress-induced gastrointestinal tract bleeding ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี สามารถกลืนยาได้ จึงกินยาเม็ด Nexium MUPS ตามปกติ หลังจากนั้น 2 วัน แพทย์ใส่สาย NG tube แก่ผู้ป่วยเพื่อให้ enteral nutrition และยังคงสั่งให้ยาเม็ด Nexium MUPS แก่ผู้ป่วยต่อไป จะให้ยาแก่ผู้ป่วย อย่างไร ตอบ ยาเม็ด Nexium MUPS เป็นยาเม็ด ประกอบด้วยยาเม็ดเล็กๆ (pellets) ของตัวยา esomeprazole ที่หุ้มด้วย เปลือกเอ็นเทอริก (enteric-coated pellets) จานวนมาก (multi-unit pellet system, MUPS)  ตัวยา ไม่ทนกรด  ตัวยาดูดซึมดีที่ลาไส้เล็ก  เปลือกเอ็นเทอริกที่หุ้มตัวยา – ทนกรด – ไม่ทนด่าง วิธีให้ยาเม็ด Nexium MUPS ทางสายยาง (คาแนะนาในเอกสารกากับยา)  ใส่เม็ดยาทั้งเม็ดลงในกระบอกฉีดยา  ดูดน้าเข้ามาในกระบอกฉีดยา 25 ซีซี  เขย่ากระบอกฉีดยาทันที จนเม็ดยาแตกออกเป็น pellets เล็กๆ หมด  สอดปลายกระบอกฉีดยาเข้ากับสายยาง  เขย่ากระบอกฉีดยาและฉีดน้ายาเข้าทางสายยางทันที
  • 2. กรณีศึกษา - Nexium MUPS ผู้ป่วยมีอาการปวดท้องและน้าหนักลดลงเรื่อยๆ ตรวจพบว่ามีก้อนในกระเพาะอาหาร แพทย์ทาการผ่าตัด กระเพาะอาหารเอาก้อนเนื้องอกออก เปลี่ยน NG tube เป็น PEJ tube และยังคงให้ยาเม็ด Nexium MUPS แก่ ผู้ป่วยต่อไป จะให้ยาแก่ผู้ป่วย ด้วยวิธีเดิมได้หรือไม่ ? ถ้าบดเม็ดยา Nexium MUPS เติมน้าลงไปในโกร่ง แล้วใช้กระบอกฉีดยาดูดน้ายาฉีดน้ายาเข้าทางสายให้อาหารทาได้ ไหม ? ยาอื่นๆ • Losec MUPS  tablet (omeprazole) • Controloc  gastro-resistant tablet (pantoprazole) • Prevacid FDT  (lansoprazole) ถ้าบดเม็ดยา ให้ทาง NG tube บดเม็ดยา ฟิล์มแตกออก เปิดเผยตัวยา  ใช้ยาไม่ได้ผล  ตัวยาไม่ทนกรด  ตัวยาดูดซึมดีที่ลาไส้  ฟิล์มที่เคลือบไม่ทนด่าง กรณีปกติ ไม่มีสายให้อาหารจะกินยากับน้าส้มได้หรือไม่ ?  ทาได้  แต่การกินยากับน้าเปล่า ดีที่สุด
  • 3. กรณีศึกษา - Aspent M แพทย์สั่ง Aspent M 15 mg ให้แก่ผู้ป่วยเด็กรายหนึ่ง ผู้ป่วยรายนี้มี NG tube คาอยู่ Aspent M เป็นยาเม็ด เคลือบเอ็นเทอริกของตัวยา aspirin มีตัวยา aspirin เม็ดละ 60 mg Aspirin ทาให้เกิดแผลในกระเพาะอาหาร เป็น Enteric coat ทนกรดน้าย่อย จึงสามารถเก็บ aspirin ไว้ภายใน เมื่อเม็ดยาอยู่ในกระเพาะอาหาร เลือกทาแบบใด ? ก. บดยา Aspent M ให้เป็นผง แบ่งเป็น 4 ส่วน นา 1 ส่วนมาผสมน้าแล้วป้อน ข. เปลี่ยนไปใช้ aspirin tablet ขนาด 1 grain (60 mg) บดเป็นผง แบ่งเป็น 4 ส่วน นา 1 ส่วนมาผสมน้าแล้ว ป้อน ค.เปลี่ยนไปใช้ aspirin tablet ขนาด grain V (300 mg) บดเป็นผง แบ่งเป็น 20 ส่วน นา 1 ส่วนมาผสมน้าแล้ว ป้อน บดเม็ดยา ให้ทาง NG tube  บดเม็ดยา ฟิล์มแตกออกเปิดเผยตัวยา  ระคายกระเพาะอาหาร  ตัวยาระคายกระเพาะอาหาร  ฟิล์มที่เคลือบไม่ทนด่าง