SlideShare a Scribd company logo
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และ
ระบบปฏิบัติการ
หน่วยที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
คอมพิวเตอร์ในยุคต่างๆ
คอมพิวเตอร์ยุคที่หนึ่ง : หลอดสุญญากาศ
คอมพิวเตอร์ยุคที่สอง : ทรานซิสเตอร์
คอมพิวเตอร์ยุคที่สาม : ไอซี
คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่ :: วงจรรวมสเกลขนาดวงจรรวมสเกลขนาด
ใหญ่ และใหญ่ และ
วงจรรวมสเกลวงจรรวมสเกล
ขนาดใหญ่มากขนาดใหญ่มาก
คอมพิวเตอร์ยุคที่ห้า : Artificial Intelligence:
AI
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
ยุคที่ 1 หลอดสูญญากาศ ยุคที่ 2 ทรานซิสเตอร์
ยุคที่ 3 วงจร IC
ยุคที่ 4 LSI Ship
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง คุณสมบัติ
ต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้สามารถมอง
เห็นได้ ซึ่งจะมีส่วนที่มีผลกระทบโดยตรงต่อการ
ประมวลผลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
หน้าที่การทำางาน
โครงสร้างและหน้าที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์โดย
พื้นฐาน จะประกอบไปด้วยส่วนประกอบหลักสี่
ส่วน คือ
 การประมวลผลข้อมูล (Data
processing facility)
 ส่วนเก็บบันทึกข้อมูล (Data storage
facility)
 ส่วนการเคลื่อนย้ายข้อมูล (Data
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• โครงสร้างภายในเครื่อง
คอมพิวเตอร์ระดับบนสุด
มีองค์ประกอบที่สำาคัญ 4
อย่าง คือ
 หน่วยประมวลผลกลาง
(CPU: Central
Processing Unit)
 หน่วยความจำาหลัก
(main memory)
 ไอโอ (I/O)
 การเชื่อมต่อภายในเครื่อง
คอมพิวเตอร์
COMPUTER
COMPUTER
Input/Output Main memory
System
interconnection
Central
processing
unit
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• อุปกรณ์ที่น่าสนใจมากที่สุด
และมีความสลับซับซ้อนมาก
ที่สุด คือ หน่วยประมวลผลก
ลาง (CPU)
•  ส่วนควบคุม (Control
unit) :
ทำาหน้าที่ควบคุมการ
ทำางานของซีพียู
 ส่วนเอแอลยู (ALU:
Arithmetic and Logic
unit) :
ทำาหน้าที่ประมวลผลคำา
สั่งคณิตศาสตร์ และคำาสั่งทาง
ตรรกะ
 รีจิสเตอร์ (registers) :
เป็นหน่วยบันทึกข้อมูล
ภายในตัวซีพียู
 ส่วนเชื่อมต่อภายใน
ซีพียู (CPU
CPU
Registers
Arithmetic
and
logic unit
Internal CPU
interconnection
Control unit
I/OMemorySystem
bus
CPU
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
โครงสร้าง
คอมพิวเตอร์มีการติดต่อ
กับสิ่งแวดล้อมด้วยวิธี
การอย่างใดอย่างหนึ่ง
โดยทั่วไปแล้วส่วนที่
เชื่อมต่อกับสิ่งแวดล้อม
ภายนอกทั้งหมดถูกจัด
ให้เป็นอุปกรณ์ต่อพ่วง
(peripherals) หรือสาย
สื่อสาร
(communication
COMPUTER
 Storage
 Processing
Com
m
unicat
ion
linesPeriph
erals
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุค
ที่ 1
 ใช้อุปกรณ์ หลอดสุญญากาศ (Vacuum
Tube) เป็นส่วนประกอบหลัก ทำาให้ตัวเครื่องมี
ขนาดใหญ่ ใช้พลังงานไฟฟ้ามาก และเกิด
ความร้อนสูง
 ทำางานด้วยภาษาเครื่อง (Machine
Language) เท่านั้น
 เริ่มมีการพัฒนาภาษาสัญลักษณ์
(Assembly / Symbolic Language) ขึ้นใช้
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 2
 ใช้อุปกรณ์ ทรานซิสเตอร์ (Transistor) สร้างจากสาร
กึ่งตัวนำา (Semi-Conductor)
เป็นอุปกรณ์หลัก แทนหลอดสุญญากาศ เนื่องจาก
ทรานซิสเตอร์เพียงตัวเดียว มี
ประสิทธิภาพในการทำางานเทียบเท่าหลอดสุญญากาศ
ได้นับร้อยหลอด ทำาให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ในยุคนี้มีขนาดเล็ก ใช้พลังงานไฟฟ้า
น้อย ความร้อนตำ่า ทำางานเร็ว และ
ได้รับความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น
 เก็บข้อมูลได้ โดยใช้ส่วนความจำาวงแหวนแม่เหล็ก
(Magnetic Core)
 มีความเร็วในการประมวลผลในหนึ่งคำาสั่ง ประมาณ
หนึ่งในพันของวินาที
(Millisecond : mS)
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 3
 ใช้อุปกรณ์ วงจรรวม (Integrated Circuit :
IC) หรือ ไอซี และวงจรสเกลขนาดใหญ่
(Large Scale Integration : LSI) เป็น
อุปกรณ์หลัก
 ความเร็วในการประมวลผลในหนึ่งคำาสั่ง
ประมาณหนึ่งในล้านของวินาที
(Microsecond : mS) (สูงกว่าเครื่อง
คอมพิวเตอร์ในยุคที่ 1 ประมาณ 1,000 เท่า)
 ทำางานได้ด้วยภาษาระดับสูงทั่วไป
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 4
 ใช้อุปกรณ์ วงจรรวมสเกลขนาดใหญ่ (Large
Scale Integration : LSI) และ วงจรรวมสเกล
ขนาดใหญ่มาก (Very Large Scale
Integration : VLSI) เป็นอุปกรณ์หลัก
 มีความเร็วในการประมวลผลแต่ละคำาสั่ง
ประมาณหนึ่งในพันล้านวินาที (Nanosecond
: nS) และพัฒนาต่อมาจนมีความเร็วในการ
ประมวลผลแต่ละคำาสั่ง ประมาณหนึ่งในล้าน
ล้านของวินาที (Picosecond : pS)
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• คอมพิวเตอร์ยุคปัจจุบัน
• องค์ประกอบของระบบปัญญาประดิษฐ์
ประกอบด้วย 4 หัวข้อ ได้แก่
• 1. ระบบหุ่นยนต์ หรือแขนกล (Robotics or
Robotarm System)
คือหุ่นจำาลองร่างกายมนุษย์ที่ควบคุมการทำางาน
ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ มีจุดประสงค์เพื่อให้
ทำางานแทนมนุษย์ในงานที่ต้องการความเร็ว
หรือเสี่ยงอันตราย เช่น แขนกลในโรงงาน
อุตสาหกรรม หรือหุ่นยนต์กู้ระเบิด เป็นต้น
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• 2. ระบบประมวลภาษาพูด (Natural
Language Processing System) 
คือ การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถ
สังเคราะห์เสียงที่มีอยู่ในธรรมชาติ
(Synthesize) เพื่อสื่อความหมายกับมนุษย์
เช่น เครื่องคิดเลขพูดได้ (Talking
Calculator) หรือนาฬิกาปลุกพูดได้ (Talking
Clock) เป็นต้น
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• 3. การรู้จำาเสียงพูด (Speech Recognition
System) 
คือ การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์เข้าใจภาษา
มนุษย์ และสามารถจดจำาคำาพูดของมนุษย์ได้
อย่างต่อเนื่อง กล่าวคือเป็นการพัฒนาให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ทำางานได้ด้วยภาษาพูด เช่น งาน
ระบบรักษาความปลอดภัย งานพิมพ์เอกสาร
สำาหรับผู้พิการ เป็นต้น
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• 4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) 
คือ การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์มีความรู้ รู้จัก
ใช้เหตุผลในการวิเคราะห์ปัญหา โดยใช้ความรู้
ที่มี หรือจากประสบการณ์ในการแก้ปัญหาหนึ่ง
ไปแก้ไขปัญหาอื่นอย่างมีเหตุผล ระบบนี้จำาเป็น
ต้องอาศัยฐานข้อมูล (Database) ซึ่งมนุษย์ผู้มี
ความรู้ความสามารถเป็นผู้กำาหนดองค์ความรู้ไว้
ในฐานข้อมูลดังกล่าว เพื่อให้ระบบคอมพิวเตอร์
สามารถวิเคราะห์ปัญหาต่างๆ ได้จากฐานความรู้
นั้น เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์วิเคราะห์โรค หรือ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• ประเภทของคอมพิวเตอร์
• 1. ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เป็น
คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด สามารถ
ประมวลผลได้กว่า 100 ล้านคำาสั่งต่อวินาที จึง
ทำาให้ทำางานได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูง มี
ราคาแพงที่สุด เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เหมาะ
กับงานคำานวณที่ต้องคำานวณตัวเลขจำานวน
มหาศาล ให้เสร็จภายในระยะเวลาอันสั้น
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe
Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่
มีความเร็วในการประมวลผลสูงรองลงมาจากซู
เปอร์คอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์ของเครื่อง
เมนเฟรมส่วนมากจะมีระบบคอมพิวเตอร์ย่อย ๆ
ประกอบอยู่ด้วย เพื่อช่วยในการทำางานบาง
ประเภทให้กับเครื่องหลัก ใช้กับองค์กรใหญ่ ๆ
ทั่วไป เช่น งานด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
วิทยาศาสตร์ การควบคุมระบบเครือข่าย
ธนาคาร กลมอุตุนิยมวิทยา เป็นต้น
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• 3. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) เป็น
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดกลางที่มี
ประสิทธิภาพในการทำางานน้อยกว่าเมนเฟรม
สิ่งที่แตกต่างกันระหว่างเครื่องเมนเฟรมและ
เครื่องมินิคอมพิวเตอร์ คือ ความเร็วในการ
ทำางาน เนื่องจากมินิคอมพิวเตอร์ทำางานได้ช้า
กว่า และควบคุมผู้ใช้งานต่าง ๆ ในจำานวนที่
น้อยกว่า รวมทั้งสื่อที่เก็บข้อมูลมีความจุน้อยกว่า
เมนเฟรม ทำางานเฉพาะด้าน เช่น การคำานวณ
ทางด้านวิศวกรรม การจองห้องพักของโรงแรม
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• 4. เวิร์คสเตชันคอมพิวเตอร์ (Workstation
Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ
ที่สนับสนุนการทำางานของคอมพิวเตอร์เครือ
ข่าย ซึ่งใช้ในการจัดสรรและใช้ทรัพยากรร่วม
กัน เช่น แฟ้มข้อมูลโปรแกรมประยุกต์ อุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ เช่น เครื่องพิมพ์และอุปกรณ์อื่น ๆ
โดยการเชื่อมโยงกับเทอร์มินัล (Terminal)
หลาย ๆ เครื่อง
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• 5. ไมโครคอมพิวเตอร์
(Microcomputer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาด
เล็ก ราคาถูกสามารถเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า
เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal
Computer หรือ PC) เราสามารถแบ่ง
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ได้ดังนี้
• คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (Desktop
Computer) และ
• โน๊ตบุ๊คคอมพิวเตอร์ (Notebook Computer)
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
• ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
• ไมโครโปรเซสเซอร์
หน่วยความจำา
อุปกรณ์เก็บข้อมูล
 อุปกรณ์รับข้อมูล/แสดงผล
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• ซอฟต์แวร์ (Software)
• ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ(Operating System
Software)
• ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และ
ระบบปฏิบัติการ
หน่วยที่ 2 ระบบคำานวน
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• เลขฐาน 2
• เครื่องคอมพิวเตอร์รู้จักตัวเลขเพียง 2 ตัวเท่านั้น
คือ 0 และ 1 หากมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์
เป็นเครื่องมือช่วยทำางาน มนุษย์ต้องเรียนรู้ระบบ
เลขที่ประกอบด้วยตัวเลขเพียง 2 ตัวเช่นกัน จึง
ได้มีการคิดค้น ระบบเลขฐานสอง
(Binary) ขึ้นเพื่อช่วยในการสื่อสารกับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ โดยระบบเลขฐานสองเป็นระบบ
ตัวเลขที่ประกอบด้วยตัวเลขเพียง 2 ตัว คือ 0
และ 1 เท่านั้น ตัวอย่างเลขฐานสอง เช่น 1102 ,
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• เลขฐาน 8
•  ระบบตัวเลขที่มีตัวเลขแปดตัว คือ 0 - 7 เลขฐาน
 แปดนี้สร้างขึ้นจากเลขฐานสอง โดยการจัดกลุ่ม
เลขฐานสองออกเป็นกลุ่มละสามตัว (เริ่มจาก
ขวา) ตัวอย่างเช่น เลขฐานสองที่แทนเลข 74
ในฐานสิบ คือ 1001010 เมื่อจัดเป็นกลุ่มละสาม
จากขวาไปซ้าย ก็จะได้ 1 001 010 เลขฐาน
แปดก็คือ 112 (1 ฐานสองตัวแรก เท่ากับ 1 ฐาน
แปด, 001 ฐานสอง เท่ากับ 1 ฐานแปด และ 010
ฐานสอง เท่ากับ 2 ฐานแปด)
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• เลขฐาน 10
• ระบบจำานวนหรือระบบตัวเลข คือตัวเลขต่างๆ ที่
ใช้ในการคำานวณเพื่อประยุกต์ใช้ในงานด้าน
ต่างๆ ระบบจำานวนมีความสำาคัญอย่างมากเพื่อ
ในการใช้งานคำานวณตัวเลขต่างๆ เพื่อทำาการ
ประมวลผลให้ได้ผลลัพธ์ที่จะนำาไปใช้งาน โดย
ทั่วไประบบตัวเลขที่มนุษย์เรารู้จักมากที่สุดคือ
ระบบตัวเลขฐานสิบ (Decimal Number
System) คือเลข 0,1,2,3,4,5,6,7,8,9 รวม
ทั้งหมด 10 ตัว
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• เลขฐาน 16
• ระบบเลขฐานที่มีสัญลักษณ์ 16 ตัว (ฐานสิบมี 10
ตัวคือ 0-9) โดยปกติจะใช้สัญลักษณ์ 0 1 2 3 4 5
6 7 8 9 A B C D E F ในการแสดงหรือเขียนทั้ง 16
ตัว
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การแปลงเลขฐานต่างๆ เป็นเลขฐานสอง
• (37)10 = ( ? )2ตัวหาร
2
37 เศษ
2 18 1
2 9 0
2 4 1
2 2 0
1 0
คำาตอบ
(37)10
=
(100101)2
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การแปลงเลขฐาน สิบหกเป็นฐานสอง
• ทำาได้โดยการเปรียบเทียบค่าจากขวาไปซ้ายที
ละ 4 บิต ดังตัวอย่าง
ED3516E D 3 5
1110 1101 0011 0101
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การแปลงเลขฐานต่างๆเป็นฐาน สิบ
m
m
n
n
n
n
rarararararaN −
−
−
−
−
−
+++++++= ...... 1
1
0
0
1
1
1
1
a = ค่าของตัวเลขแต่ละหลัก
n =
ตำาแหน่งหลักสูงสุดของ
จำานวนเต็ม
m =
ตำาแหน่งหลักสูงสุดของ
ทศนิยม
r = ฐาน (Base)
N = ขนาดของตัวเลข
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
(7392)10
= (7x103
)
+(3x102
)+(9x101
)+ (2x100
)
(125.21)10
= (1x102)
+(2x101
)+(5x100
)+(2x10-1
)+(1x10-2
)
(11001)2
= (1x24
)+ (1x23
)+ (0x22
)+
(0x21
)+ (1x20
)
(11010.11)2
=
(1x24
)+(1x23
)+(0x22
)+(1x21
)+(0x20
)+(1x2-
1
)+(1x2-2
)
(4021.2) =
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การแปลงเลขฐานแปดเป็นฐานสอง
• การแปลงเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสอง จะ
กระทำาโดยใช้การใช้เลข 1 บิต (Bit ย่อมาจาก
Binary Digit) ของเลขฐานแปดแทนด้วยเลข
ฐานสองจำานวน 3 บิต ดังนั้นการแปลงเลขฐาน
แปดเป็นเลขฐานสอง และการแปลงเลขฐานสอง
เป็นเลขฐานแปด กระทำาได้โดยการแทนค่า
ต่างๆ ดังแสดงใน ตารางแสดงความสัมพันธ์
ระหว่างเลขฐานแปดกับเลขฐานสอง
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• ตารางความสัมพันธ์เลขฐานแปด
กับเลขฐานสอง
เลขฐาน
แปด
(Octal)
เลขฐาน
สอง
(Binary)
0 000
1 001
2 010
3 011
4 100
5 101
6 110
7 111
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• ตัวอย่างเช่น...
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• (01101001001.01010)2 = ( ? )8
• 001 = 1, 101 = 5, 001 = 1,001 = 1,
010 = 2, 100 = 4
• คำาตอบ
0 1 1 0 1 0 0 1 0 0 1 . 0 1 0 1 0
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• (524.61)8 = ( ? )2
• 5 = 101, 2 = 010, 4 = 100, 6 = 110, 1
= 001
• คำาตอบ
• (524.61)8
= (101010100.110001)2
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• วิธีการแปลงเลขฐานสองเป็นฐานสิบหก จะ
ทำาการจัดกลุ่มของเลขฐานสองทีละ 4 บิต โดย
ให้จัดกลุ่มจากบิตที่มีนัยสำาคัญน้อยที่สุด (LSD)
ไปบิตที่มีนัยสำาคัญสูงสุด (MSD) ถ้าจับกลุ่มไม่
ครบทีละ 4 บิต ให้เพิ่มดิจิต 0 ข้างหน้าบิตที่มี
นัยสำาคัญสูงสุดจนครบ 4 บิต
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• รูปแบบเทคนิคการแปลงเลขฐาน
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ(6504.327)8 = ( ? )16
แปลงเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสอง
6 = 110, 5 = 101, 0 = 000, 4 = 100, 3
= 011, 2 = 010, 7 = 111
จะได้
(6504.327)8
=
( 110101000100.011010111 )2
จากนั้นแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบหก
คำาตอบ
(6504.327) =
ตาราง Ascii code
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• จงแปลงเลขฐานต่อไปนี้...
ฐานสอง ฐานสิบหก ฐานสิบ ฐานแปด
168
AB
142
0101001
01111
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และ
ระบบปฏิบัติการ
หน่วยที่ 3
ระบบปฏิบัติการ DOS
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• ระบบปฏิบัติการ(Operating System) เป็นกลุ่ม
ของโปรแกรมที่ทำาหน้าที่ในการควบคุมการ
ทำางานร่วมกันของระบบเครื่องคอมพิวเตอร์กับ
อุปกรณ์รอบข้าง เช่น จอภาพ แป้นพิมพ์ ดิสก์
หรือเครื่องพิมพ์
• MS-DOS เป็นระบบปฏิบัติการตัวหนึ่งที่นิยมใช้
กันอย่างแพร่หลายในระบบเครื่องคอมพิวเตอร์
IBM หรือเครื่องเลียนแบบ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การเรียกใช้ MS-DOS
• วิธีที่นิยมใช้มากคือเรียกผ่านหน้าต่าง RUM
โดยใช้ Short cut “กดปุ่ม Windows” + R แล้ว
พิมพ์ cmd ในช่องหน้าต่าง RUN กดปุ่ม Enter
จะพบหน้าต่าง DOS
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• คำาสั่งของดอส
• คำาสั่งในระบบดอส จะแบ่งออกเป็น 2 ชนิด
คือ
1.คำาสั่งภายใน(Internal Command)
• หมายถึง คำาสั่งที่ถูกบรรจุอยู่ในระบบดอสแล้ว
เมื่อเราเข้าสู่ระบบดอสแล้ว จะสามารถเรียกใช้
คำาสั่งเหล่านี้ได้ทันที
2.คำาสั่งภายนอก(External Command)
• หมายถึง คำาสั่งของดอสที่ถูกเก็บไว้เป็นไฟล์ใน
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• กฎเกณฑ์ของคำาสั่ง DOS
โดยทั่วไปแล้วคำาสั่งที่เป็นสร้าง Directory คือ
คำาสั่ง MD ต้องระวังการตั้งชื่อ โดยจะมีคำาสงวน
(reserved words) คือ
CON, COM1 - COM4, PRN, AUX, LPT1 สาเหตุที่
คำาเหล่านี้เป็นคำาสงวนเนื่องจาก
CON - The display monitor
PRN - Default value is LPT1; this value can be
changed
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การใช้แป้นพิมพ์ควบคุมการทำางานของ DOS
โดยทั่วไปแล้วหน้าต่าง Command line นั้น
จะมีคำาสั่งบนแป้นนั้นโดยทั่วไปแล้วจะใช้พิมพ์
คำาสั่งทั่วๆไปแต่ยังปุ่มทางลัดที่นิยมใช้กันโดย
ทั่วไป
1.ปุ่มลูกศรขึ้น ใช้เพื่อเรียกใช้คำาสั่งที่เคยใช้มา
แล้วก่อนหน้านี้ 1 คำาสั่งและเรียงไปเรื่อยๆ อีก
2.ปุ่มลูกศรลง ใช้เพื่อเรียกใช้คำาสั่งย้อนลงไป
จากลูกศรขึ้น 1 ลำาดับ
3.ปุ่ม Enter ใช้ยืนยันคำาสั่งและสั่งให้คำาสั่งเริ่ม
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• แฟ้มข้อมูลหรือ Directory
คือ ชื่อกลุ่มของไฟล์ที่เกี่ยวข้องที่ได้รับการ
แบ่งโดยการตั้งชื่อมาตรฐานจากกลุ่มของไฟล์
ซึ่งในระบบปฏิบัติการ DOS มีคำาสั่งที่ใช้
จัดการเกี่ยวกับ Directory หลายแบบเช่น MD
หรือ Mkdir และคำาสั่ง DIR เป็นต้น
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การตั้งชื่อแฟ้มข้อมูล
โดยทั่วไปการจัดการกับชื่อของแฟ้มข้อมูลหรือ
Directory มี 2 แบบคือ การสร้างใหม่และการ
เปลี่ยนชื่อ (Rename)
1.การสร้าง Directory นั้นจะใช้คำาสั่ง
MD รูปแบบ C:> md c:win
2.การเปลี่ยนชื่อ Directory นั้นจะใช้คำาสั่ง
REN รูปแบบ D:>ren work Allfiles
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ• คำาสั่งต่างๆของ DOS
ลำาดั
บ คำาสั่ง ผลลัพธ์
1 cls ล้างจอภาพ (Clear Screen)
2 @echo off
ไม่แสดงการทำางานของคำาสั่งใน Batch
File
3 dir /? แสดงคำาแนะนำาการใช้คำาสั่ง dir
4 dir > a
นำาผลการแสดงรายชื่อแฟ้ม ไปใส่ไว้ใน
แฟ้ม a
5 dir a
แสดงรายละเอียดของแฟ้ม a เช่น ขนาด
แฟ้ม วันที่ที่สร้าง
6 echo aa แสดงตัวอักษร aa ทางจอภาพ
7 echo aa > a.bat
สร้างแฟ้ม a.bat ที่มีตัวอักษา 2 ตัว แต่แฟ้ม
จะมีขนาด 4 bytes
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• คำาสั่งต่างๆของ DOS (ต่อ)
8 echo aa >> a.bat
เพิ่มตัวอักษรอีก 2 ตัวต่อท้ายแฟ้ม
a.bat
9 type a.bat แสดงข้อมูลในแฟ้ม a.bat
10 copy con a.bat
สร้างและเขียนข้อมูลลงแฟ้ม a.bat
ผ่าน console ปิดแฟ้มด้วย ctrl-z
11 pause หยุดรอรับการกดปุ่มใดใด
12 del a.bat
ลบแฟ้ม a.bat ออกจากเครื่อง ไม่พบ
ใน recycle bin
13 md a สร้างโฟลเดอร์ชื่อ a
14 deltree a ลบโฟลเดอร์ชื่อ a
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ• คำาสั่งต่างๆของ DOS (ต่อ)
15 cd 
เปลี่ยนตำาแหน่ง cursor จาก
directory ที่อยู่ ไปยัง root directory
16 cd a
เปลี่ยนตำาแหน่ง cursor จาก
directory ที่อยู่ เข้าไปในห้อง a
17 cd ..
เปลี่ยนตำาแหน่ง cursor จาก
directory ที่อยู่ ออกมา 1 ระดับ
18 cd ..b
เปลี่ยนตำาแหน่ง cursor จาก
directory ที่อยู่ ออกมา 1 ระดับแล้ว
เข้าไปยังห้อง b
19 rd a ลบห้อง หรือโฟเดอร์ชื่อ a
20 dir a /w/s แสดงรายชื่อแฟ้มในห้อง a
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
21
echo y | del
c:windowscommand.c
om ลบแฟ้ม แต่ถ้าถามยืนยันให้ตอบ yes
22
if exist %1 goto
fileexists ตรวจการมีอยู่ของแฟ้ม
23 shutdown -r -f -t 0
สั่ง restart force ปิดเครื่องไม่เตือน
ทันที
24 ipconfig /release ยกเลิก IP Address ที่มีอยู่
25 ipconfig /renew
ขอ IP Address ใหม่จากเครื่อง
บริการ DHCP
คำาสั่งต่างๆของ DOS (ต่อ)
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และ
ระบบปฏิบัติการ
หน่วยที่ 4
ระบบสารบัญแฟ้มข้อมูล
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• ความหมายของระบบสารบัญสารข้อมูล
คือ กลุ่มของ Directory หลายๆอันมารวมกัน
อยู่จัดเป็นแบบแผนอย่างมีระเบียบอยู่ภายใน
พื้นที่เดียวกันทั้งหมด ซึ่ง Dos ก็ยังคงมีความ
สามารถและบทบาทในการจัดการ ไฟล์ในรูป
แบบสารบัญข้อมูล (Tree) โดยคำาสั่งส่วนใหญ่ก็
คงยังเป็นคำาสั่งจำาพวก md, ren, del, dir, copy,
xcopy, move เป็นต้น เพียงแต่มีความหลาก
หลายมาขึ้นมาครั้งก่อนๆ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ• โครงสร้างของระบบสารบัญแฟ้มข้อมูล
ปฏิบัติการเกี่ยวกับ Directory
1. Search for a file
2. Create a file
3. Delete a file
4. List a directory แสดงรายชื่อแฟ้มใน 1
directory
5. Rename a file
6. Traverse the file system แสดง หรือเก็บราย
ชื่อแฟ้มในทุก directory ได้
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• โครงสร้างไดเรกทรอรี่เชิงตรรก (Logical
structure of the directory)
1.Single-level directory
2.Two-level directory
3.Tree-structured directory
4.Acylic-graph directory
5.General graph directory
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การสร้างระบบสารบัญแฟ้มข้อมูล
1.ทำาได้โดยคำาสั่ง MD โดยผู้ใช้จะต้องระบุ
ตำาแหน่งที่จะให้ระบบแฟ้มข้อมูลไปอยู่โดยใช้คำา
สั่ง CD ฯลฯ
2.เมื่อเข้าถึง path ที่ต้องการแล้วให้พิมพ์ MD [ชื่อ
โฟลเดอร์]
3.หากต้องการสร้างไฟล์ภายในโฟลเดอร์นั้นให้
ใช้คำาสั่ง CD [ชื่อโฟลเดอร์] กด Enter
4.หากต้องการสร้างโฟลเดอร์อีกให้กลับไปทำาซำ้า
ข้อ 1.
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การเข้าถึงสารบัญแฟ้มข้อมูล
1.การเข้าถึงสารบัญแฟ้มข้อมูลทำาได้โดยคำาสั่ง CD
2.คำาสั่ง CD [ชื่อโฟลเดอร์] คือการเข้าถึงโฟลเดอร์
ใน path นั้นๆ
3.คำาสั่ง Dir คือแสดงรายละเอียดข้อมูลที่มีในแฟ้ม
4.คำาสั่ง Type [ชื่อไฟล์].[นามสกุลไฟล์] เป็นคำาสั่ง
แสดงข้อมูลในไฟล์
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การลบระบบสารบัญแฟ้มข้อมูล
1.คำาสั่งลบแฟ้มนั้นแยกออกคือการลบและย้ายรวม
ถึงคัดลอก
2.คำาสั่งที่ใช้ลบแฟ้มข้อมูลนั้นจะใช้คำาสั่ง RD [ชื่อ
โฟลเดอร์]
3.คำาสั่งลบไฟล์จะใช้คำาสั่ง DEL [ชื่อไฟล์].
[นามสกุลไฟล์]
4.คำาสั่งย้ายไฟล์จะใช้คำาสั่ง
MOVE [ชื่อไฟล์].[นามสกุลไฟล์] [โฟลเดอร์ที่อยู่
ใหม่]
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การออกจากสารบัญแฟ้มข้อมูล
1.การออกจากแฟ้มข้อมูลนั้นยังคงใช้คำาสั่ง CD
2.คำาสั่ง CD.. คือการถอยหลังจาก Path ปัจจุบันไป
1 Path
3.คำาสั่ง CD คือการถอยหลังไปยัง Root path
4.หากต้องการไปยัง Root path อื่นให้พิมพ์ [ไดร์]:
เช่น D:
แต่มีข้อจำาคือไม่สามารถอยู่ใน Path เดียวกันไม่
สามารถใช้ได้ตัวอย่างเช่น
D:>workhotelforweb จะไม่สามารถใช้ D: ได้
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การดูโครงสร้างระบบสารบัญแฟ้มข้อมูล
โครงสร้างของระบบแฟ้มข้อมูลนั้นมีความ
ซับซ้อนของโครงสร้างและวิธีการสร้างหากมี
กลุ่มของไฟล์และการรวมตัวกันของ Directory
โดยทั่วๆ ไปแล้วจะแบ่งเป็น 3 ระดับคือ
1.Single-level directory
2.Two-level directory
3.Tree-structured directory
ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปแบบที่ 3 แบบ Tree
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การลบโครงสร้างของสารบัญแฟ้มข้อมูล
• คำาสั่งที่ใช้ลบโครงสร้างของระบบสารบัญแฟ้ม
ข้อมูลคือคำาสั่ง
RD /s /q[ไดร์ :] path ขยาย
/s คือลบไฟล์ทุกไฟล์ที่กำาลังทำางานในระบบ
สารบัญแฟ้มข้อมูลไฟล์นั้นทั้งหมด
/q คือการลบอย่างเร็วโดยไม่แสดงข้อความ
เตือนหากพบปัญหา
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และ
ระบบปฏิบัติการ
หน่วยที่ 5
แบตซ์ไฟล์
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• ความหมายของแบตซ์ไฟล์
(BATCH file) แฟ้มแบบหนึ่งใน DOS หรือ
OS/2 ที่สามารถประมวลผลได้ โดยการระบุคำา
สั่งที่ต้องการให้ดำาเนินการเข้าไป และชื่อสกุล
ของแฟ้มนี้คือ .bat สามารถสร้างขึ้นด้วย Text
Editor ซึ่งไมโครซอฟท์วินโดว์ให้การสนับสนุน
 แบตซ์ไฟล์
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การสร้างแบตซ์ไฟล์
Text Editor ทั่วไปสามารถเขียนไฟล์ Batch
file ได้ทั้งนั้นเพียงแต่ Save นามสกุลเป็น .bat
หรือ .exe บน windows ก็มี Note pad ที่สามารถ
สร้างได้หรือ Edit plus, Notepad++ เป็นต้น
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ• ตัวอย่างภาษา Batch
@echo off
if exist %1 goto fileexists
goto nofile
:fileexists
echo the file %1 exists
rem other commands here .....
goto end
:nofile
echo the file %1 does not exist
goto end
:end
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การเรียกใช้งานไฟล์ Batch
การเรียกใช้ไฟล์ . Bat หรือ .EXE หากเรียกผ่าน
หน้าต่าง Command Lind นั้นต้องใช้คำาสั่ง Type
[ชื่อไฟล์].bat
หรือใช้วิธีการดับเบิ้ลคลิกที่ไฟล์ก็สามารถรัน
ไฟล์ได้เช่นเดียวกัน
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การเขียนเมนูตอบโต้ตอบด้วยแบตซ์ไฟล์
แบตซ์ไฟล์กล่าวคือการเอาคำาสั่งที่ใช้บน
Command Line มาเขียนรวมกันเป็นกลุ่มแล้วให้
ภาษา Batch อีกนัยหนึ่งไฟล์ที่เป็นไวรัสส่วน
ใหญ่ถูกสร้างด้วยภาษา Batch การซ่อนไฟล์
การสั่งรีสตาร์ทเครื่องอัตโนมัติเองหากเราศึกษา
ภาษา Batch แล้วอาการดังกล่าวมานั้นบาง
อาการสามารถแก้ไขได้โดยภาษา Batch
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการBatch Processing
call เรียก batch file  อื่น
echo  แสดงข้อความ
if  เลือกทำาตามเงื่อนไข
goto ไปยังลาเบล
rem หมายเหตุ
pause  หยุดรอ
for  ทำาซำ้า
shift เลื่อนสำาหรับ %0 ถึง %9
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และ
ระบบปฏิบัติการ
หน่วยที่ 6
ระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• ความหมายของระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เป็นโปรแกรมที่
ใช้ควบคุมการทำางานของเครื่องคอมพิวเตอร์
เพื่อให้อุปกรณ์ทำางานตามที่ได้ออกแบบไว้ โดย
ทั่วไปเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่จะมีระบบ
ปฏิบัติการที่ใหญ่ซับซ้อนและทำางานได้มากกว่า
 เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการที่เราคุ้นเคยบนเครื่อง
คอมพิวเตอร์ PC, Notebook, Tablet,
Smartphone ก็มี Linux, MICROSOFT Windows,
APPLE Mac OS X, APPLE iOS, GOOGLE Android,
และ NOKIA Symbian เป็นต้น
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการหน้าที่ของระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการจะอำานวยความสะดวกแก่ผู้
ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ในลักษณะที่ผู้ใช้ไม่
 จำาเป็นต้องทราบกลไกการทำางาน หรือ
 ฮาร์ดแวร์ของระบบ แบ่งออกได้ดังนี้
1. ติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface)  คือ ผู้ที่ใช้
สามารถที่จะติดต่อหรือควบคุมการทำางานของ
เครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านทางด้านระบบปฏิบัติ
 การ โดยที่ระบบปฏิบัติการนั้นจะส่งข้อความ
ตอบโต้ไปยังผู้ใช้เพื่อที่จะให้ผู้ใช้ป้อนคำาสั่งหรือ
 สั่งการด้วยอุปกรณ์รับข้อมูลต่างๆ ที่มีอยู่
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• 2. ควบคุมดูแลอุปกรณ์และการทำางานของ
เครื่องคอมพิวเตอร์
             เนื่องจากผู้ใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์
ผ่านทางระบบปฏิบัติการ อาจไม่จำาเป็นต้องมี
ความรู้ความเข้าใจถึงหลักการทำางานภายใน
 เครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนั้นระบบปฏิบัติการจึง
ต้องมีหน้าที่ควบคุมดูแลการทำางานของอุปกรณ์
 ต่างๆ เพื่อให้การทำางานของระบบเป็นไปได้
 อย่างถูกต้อง และสอดคล้อง
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• 3.  จัดสรรทรัพยากรต่าง ๆ ในระบบ
 ทรัพยากร (Resource)  คือ สิ่งที่ถูกใช้ไปเพื่อ
   ให้โปรแกรมดำาเนินต่อไปได้ เช่น
หน่วยประมวลผล (CPU) หน่วยความ
จำา (Memory) อุปกรณ์รับและแสดงผล
ข้อมูล(Input/Output)  ดังนั้น ระบบปฏิบัติการจะ
ต้องจัดสรรทรัพยากรเหล่านี้เพื่อให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด
ระบบปฏิบัติการสามารถจักสรรทรัพยากรให้มี
 ประสิทธิภาพแล้ว การทำางานของโปรแกรมต่าง
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• ระบบปฏิบัติการโดยทั่วไปจะมีคุณสมบัติในการ
ทำางานแบบต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
1.การทำางานแบบ Multi – Tasking คือ ความ
สามารถในการทำางานได้หลาย ๆ งาน หรือ
หลาย ๆ โปรแกรมในเวลาเดียวกัน
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การทำางานแบบ Multi – User ในระบบการเชื่อม
โยงคอมพิวเตอร์เข้าไว้ด้วยกันแบบเครือข่าย
ระบบปฏิบัติการที่ทำาหน้าที่ควบคุมความสามารถ
ในการทำางานกับผู้ใช้ได้หลาย ๆ คน ขณะที่มี
การประมวลผลของงานพร้อม ๆ กัน
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• ประเภทของระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว(stand-alone
OS)เป็นระบบปฏิบัติการที่มุ่งเน้นและให้บริการ
สำาหรับผู้ใช้เพียงคนเดียว นิยมใช้สำาหรับเครื่อง
 คอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลและทำางานแบบทั่วไป
   เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์หรือสำานักงาน ซึ่งจะ
ถูกติดตั้งระบบปฏิบัติการนี้ไว้ใช้รองรับการ
     ทำางานบางอย่าง เช่น พิมพ์รายงาน ดูหนัง
   หรือเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต เป็นต้น
ปัจจุบันพัฒนาให้มีคุณสมบัติที่เป็นเครื่องลูกข่าย
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
•     ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (network
OS) เป็นระบบการที่มุ่งเน้นและบริการสำาหรับผู้
ใช้หลายๆคน(multi-user) นิยมใช้สำาหรับงาน
ให้บริการและประมวลผลข้อมูลสำาหรับเครือข่าย
 โดยเฉพาะ มักพบเห็นได้กับการนำาไปใช้ใน
 องค์กรธุรกิจทั่วไป เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้ง
 ระบบปฏิบัติการเหล่านี้จะเรียกว่า เครื่อง sever
ซึ่งเป็นเสมือนเครื่องแม่ข่ายที่ให้บริการข้อมูล
 ต่างๆ ที่จำาเป็นสำาหรับผุ้ใช้
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• ระบบปฏิบัติการแบบฝัง   (embeded OS)
เป็นระบบปฏิบัติการที่พบเห็นได้ในอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก เช่น พีดีเอ หรือ
Smart phone  บางรุ่น สามารถช่วยในการ
ทำางานของอุปกรณ์แบบไม่ประจำาที่เหล่านี้ได้
 เป็นอย่างดี เกิดขึ้นมาหลังสุดพร้อมๆกับที่
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาเหล่านี้ได้รับความ
 นิยมมากขึ้น บางระบบมีคุณสมบัติที่ใกล้เคียง
กับระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยวด้วย เช่น รองรับ
 การทำางานทั่วไป ดูหนัง ฟังเพลงหรือเชื่อมต่อ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• ขอบเขตการใช้งานของโปรแกรมระบบปฏิบัติ
การวินโดวส์
บริษัทไมโครซอฟต์ได้แนวคิดของระบบการใช้
งานที่เรียกว่า GUI (Graphical User Interface)
ซึ่งมีผู้คิดค้นขึ้นก่อนหน้านั้นไม่นานนักมาใช้ใน
ระบบปฏิบัติการตัวใหม่ที่มีชื่อว่า Windows ส่ง
ผลให้ผู้ใช้และระบบปฏิบัติการสามารถทำางาน
งานร่วมกันได้คล่องตัวมากยิ่งขึ้น เพราะเป็นการ
นำาเอารูปแบบของสัญลักษณ์ที่เป็นภาพกราฟิก
เข้ามาแทนการป้อนข้อมูลคำาสั่งทีละบรรทัด
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
Windows ใช้หลักการแบ่งงานออกเป็นส่วน
ๆ ที่เรียกว่า หน้าต่างงาน (windows) ซึ่งจะแสดง
ผลลัพธ์ของแต่ละโปรแกรม ปัจจุบันได้รับความ
นิยมในการใช้งานอย่างแพร่หลายและมีการ
ผลิตและจำาหน่ายออกมาหลายๆ รุ่นด้วย
กันWindows 8 เป็นเวอร์ชันล่าสุดที่ได้มีการ
พัฒนาและจำาหน่ายไปยังทั่วโลก
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การใช้งานปุ่ม Start
ปุ่ม Start คือปุ่มที่อยู่ได้มุมล่างซ้ายเป็นปุ่มที่
ใช้สำาหรับเป็นทางลัดไปสู่โปรแกรมต่างๆ ที่ผู้ใช้
(User) ใช้บ่อยรวมถึงการเปิดปิดเครื่องการเข้า
ถึง Control ต่างๆที่สำาคัญๆ Control Panel,My
computer, Devices and Printer เป็นต้น สามารถ
เรียกใช้ปุ่ม Start โดยปุ่มรูปสัญลักษณ์วินโดว์
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• ลักษณะของทาสก์บาร์ จะเป็นส่วนแสดงสถานะ
การทำางานของเครื่อง เช่น ขณะนั้น มีการเรียก
ใช้ โปรแกรมใด
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• แสดงหรือซ่อนเครื่องมือบน Taskbar
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ• การย้ายตำาแหน่งของ Taskbar
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การตั้ง
เวลา
ข้อสังเกต
: หาก
นาฬิกา
เริ่มเดิน
ไม่ตรง
ให้
สันนิษฐา
นว่าถ่าน
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การปรับแต่ง Taskbar
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• ปรับแต่งไอคอนใน Sysytem Tray
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• ดูรายชื่อโปรแกรมที่มีการเรียกใช้งานใน
ขณะนั้น
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การใช้เมาส์ (Mouse)
 เมาส์ (Mouse) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำาหรับควบคุม
ตัวชี้ตำาแหน่งบนจอภาพให้ผู้ใช้สั่งงานโดยการ
กดปุ่มบนเกม เช่น การเลือกเมนูคำาสั่ง การย้าย
ข้อความ โดยทั่วไปเมาส์ที่มีจำาหน่ายในท้อง
ตลาดมีอยู่หลายชนิดด้วยกัน อาจมีปุ่มกด 2 ปุ่ม
หรือมากกว่า แต่ที่นิยมใช้ในปัจจุบันจะเป็นแบบ
2  ปุ่ม คือ ปุ่มซ้ายและขวา
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
•  คลิก (Click) เลื่อนตัวชี้เมาส์ไปตำาแหน่งที่
ต้องการเลือก คลิกแล้วปล่อยที่ปุ่มด้านซ้ายของ
เมาส์ 1 ครั้ง ส่วนใหญ่เป็นการเลือกไอคอนหรือ
ปุ่มคำาสั่งหรือคลิกเลือกเมนูที่ต้องการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
•  คลิกขวา (Right-click) เลื่อนตัวชี้เมาส์ไป
ตำาแหน่งที่ต้องการเลือก คลิกแล้วปล่อยที่ปุ่ม
ด้านขวาของเมาส์ 1 ครั้ง มักเป็นการเลือกใช้
เมนูลัด
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
•  ดับเบิลคลิก (Double-click) เลื่อนตัวชี้เมาส์ไป
  ตำาแหน่งที่ต้องการเลือก คลิกแล้วปล่อยที่ปุ่ม
ด้ายซ้ายของเมาส์ติดกันอย่างรวดเร็ว 2 ครั้ง
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
•  แดรก (Drag) เลื่อนตัวชี้เมาส์ไปตำาแหน่งที่
 ต้องการเลือกกดที่ปุ่มด้านซ้ายของเมาส์ค้างไว้
พร้อมกับลากเมาส์ไปในทิศทางที่ต้องการ มักใช้
ในการเคลื่อนย้ายวัตถุ หรือการสร้างขอบเขต
ของการเลือกวัตถุ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การกำาหนด Printer
 การพิมพ์ใน Windows  คลิกเมนู แฟ้ม ที่พบ
 ได้ในโปรแกรมส่วนใหญ่ แล้วจึงคลิก พิมพ์การ
ดำาเนินการดังกล่าวจะเป็นการเปิดกล่อง
 โต้ตอบ พิมพ์ ซึ่งเป็นพื้นที่ให้คุณสามารถ
เปลี่ยนการตั้งค่าพื้นฐาน เช่น เครื่องพิมพ์ที่จะ
ใช้หรือจำานวนสำาเนาที่ต้องการพิมพ์
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การกำาหนด Printer ให้เป็นเครื่องเริ่มต้น
(Default)
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ•  โฟลเดอร์เป็นที่ที่ใช้ โปรแกรม ไฟล์ข้อมูล หรือ
 แม้แต่ สร้างโฟลเดอร์ย่อยๆ เป็นการจัดเก็บไฟล์
 ข้อมูลอย่างเป็นระเบียบ จะทำาให้สามารถค้นหา
ข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว โดยในโฟลเดอร์สามารถ
ที่จะสร้างโฟลเดอร์ย่อยๆ ได้ตามต้องการ
โฟลเดอร์ที่เก็บเฉพาะไฟล์ข้อมูลเท่านั้น เช่น
 โฟลเดอร์ My Documents
โฟลเดอร์ที่สามารถใช้งานร่วมกันได้ระหว่าง
ผู้ใช้ที่เชื่อมต่อเครือข่าย
โฟลเดอร์สำาหรับเก็บโปรแกรมและข้อมูล
ทั่วไป
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• ไฟล์ เปรียบได้กับเอกสารแต่ละฉบับที่จัดเก็บ
 ข้อมูลต่างๆ เอาไว้ ในเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่อง
หนึ่งจะมีไฟล์อยู่จำานวนมาก หากเก็บไฟล์ต่างๆ
เหล่านั้นปะปนกัน จะทำาให้ไม่สามารถนำามาใช้
ประโยชน์ได้ในเวลาอันรวดเร็ว ซึ่งต้องใช้เวลา
ในการค้นหาอีก ดังนั้น จึงควรเก็บไฟล์ต่างๆ
 เหล่านี้ไว้ในโฟลเดอร์ (folder)
• โฟลเดอร์  จะแบ่งเป็นลำาดับชั้น จากชั้นบนสุด
แล้วสามารถแตกแยกโฟลเดอร์ในระดับรองๆ ลง
    มาได้ตามความต้องการของผู้ใช้ โดย รูป
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ• ตัวอย่างผังการเก็บไฟล์ข้อมูลและโฟลเดอร์
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การจัดการเกี่ยวกับไฟล์และโฟลเดอร์สามารทำา
ในรูปแบบต่างได้หลายแบบเช่น Copy, Past,
Cut, Delete โดยความสามารถเหล่านี้จะอยู่ใน
เมนูคลิกขวาและยังมีปุ่มทางลัด (Short cut) คือ
Ctrl + C, Ctrl + V, Ctrl + X, Del ตามลำาดับ ยังมี
การ Copy แบบทางลัดอีกทางคือ Sent To… สา
มารเลือก path ที่ต้องการให้ไฟล์ไปลงได้ซึ่ง
Default ไว้นิยมใช้ในการ Copy ไฟล์ไปยัง
Flash Drive
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การย้ายหน้าต่าง
การย้ายหน้าต่างทำาได้หลายวิธีโดยการใช้
ปุ่ม โดยเลื่อนเมาส์ไปคลิก ปุ่มซ้าย
พับหน้าต่าง ปุ่มกลางลด/ขยายหน้าต่าง ปุ่มขวา
ปิดหน้าต่าง อีกส่วนคือการเปิดหน้าต่างที่พับไว้
จาก Task bar โดยการวางเมาส์ที่หน้าต่างที่
ต้องการแล้วคลิก
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
ยังมีการใช้ปุ่มทางลัดที่นิยมกันมาก ย้าย
หน้าต่างหลักโดยกดปุ่ม Alt + Tab และ ปุ่ม
Windows ( ) + Tab ซึ่งการกดปุ่มแบบที่ 2 จะ
ใช้ได้ใน Windows 7 ขึ้นไปจะย้ายหน้าต่างใน
รูปแบบมีมิติกว่าแบบแรก
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การปรับขนาดหน้าต่าง
ทำาได้โดยการนำาเมาส์ไปวางแล้วยังขอบหรือ
มุมดังรูป แล้วทำาการคลิกแล้วลากเมาส์เข้า-ออก
เพื่อปรับลดขยายหน้าต่าง หรือใช่ปุ่ม
ตรงกลางเพื่อลด/ขยายหน้าต่างได้เช่นเดียวกัน
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การเรียกใช้โปรแกรม
โปรแกรมมีหลากหลายรูปแบบหลักๆแล้ว
โปรแกรมที่สำาคัญๆผู้ใช้มักจะนำาไปหน้า
Desktop ซึ่งโปรแกรมนั้นๆ จะมี Icon ประจำาอยู่
แล้วเพียงผู้ใช้นำาเมาส์ไปวางที่ Icon นั้นๆแล้ว
ดับเบิ้ลคลิกเพื่อเรียกใช้งานโปรแกรม อีกส่วน
หนึ่งของโปรแกรมนั้นจะอยู่ในปุ่ม Start เพียงกด
ปุ่มและเลือก Icon โปรแกรมนั้นๆ คลิกที่
โปรแกรมเพื่อเรียกใช้โปรแกรม
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ• การขอดูคุณสมบัติเครื่อง
วิธีที่มักพบเห็นและรวดเร็วที่สุดคือการนำา
เมาส์ไปวางที่ Icon “My computer” คลิกขวา
เลือก Propreties
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• หากต้องการเช็คอย่างละเอียดลึก Hard ware ที่
ใช้ในแต่ระดับบน Main Board นั้นแนะนำาให้ใช้
โปรแกรม CPU-Z
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การออกจากโปรแกรม
ใช้ปุ่ม ปุ่มสีแดงขวาสุดในการปิด
โปรแกรมหรือใช้ปุ่มลัด Alt + F4 แทนได้ขั้นตอน
นี้เป็นขั้นตอนที่ต้องให้ความสำาคัญในระดับหนึ่ง
เนื่องจากอาจจะเกิดการถามของโปรแกรมว่า
ไฟล์ยังไม่ได้ทำาการ Save ได้
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ
ปฏิบัติการ
• การปิดเครื่อง โดยทั่วไปนิยมใช้อยู่ 4 แบบ
1.Shut down ปิดเครื่อง
2.Sleep พักเครื่อง
3.Restart เริ่มการเครื่องใหม่
4.Hibernate โหมดพักเครื่องแบบ
ไม่ใช้ไฟฟ้า

More Related Content

What's hot

ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานFreshsica Chunyanuch
 
สรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
สรุปคำศัพท์ทางการบริหารสรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
สรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
ไกรลาศ จิบจันทร์
 
ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญา
shikapu
 
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรมโครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
MooAuan_Mini
 
โครงงานระบบกรองน้ำ
โครงงานระบบกรองน้ำโครงงานระบบกรองน้ำ
โครงงานระบบกรองน้ำ
ศจิษฐา ทองถม
 
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
ปรัชญาทวี พงพยัคฆ์
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุtechno UCH
 
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
รัชศวรรณ มูลหา
 
แบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศ
แบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศแบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศ
แบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศ
Sirigunlaya Wongwisas
 
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)phatrinn555
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
Thanawut Rattanadon
 
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียนบันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
สภานักเรียน ส.ป. samutprakanstudentcouncil
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
Sircom Smarnbua
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ รร โนนสะอาดพิทยา 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ รร โนนสะอาดพิทยา 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ รร โนนสะอาดพิทยา 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ รร โนนสะอาดพิทยา 1
KruKaiNui
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
อรยา ม่วงมนตรี
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
Thanawut Rattanadon
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
Happy Sara
 
น้ำมันมะพร้าว
น้ำมันมะพร้าวน้ำมันมะพร้าว
น้ำมันมะพร้าว
ศุภณัฐ สวัสดีมาครับ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Radompon.com
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
Sutthiluck Kaewboonrurn
 

What's hot (20)

ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
สรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
สรุปคำศัพท์ทางการบริหารสรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
สรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
 
ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญา
 
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรมโครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
 
โครงงานระบบกรองน้ำ
โครงงานระบบกรองน้ำโครงงานระบบกรองน้ำ
โครงงานระบบกรองน้ำ
 
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
 
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
 
แบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศ
แบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศแบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศ
แบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
 
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียนบันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ รร โนนสะอาดพิทยา 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ รร โนนสะอาดพิทยา 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ รร โนนสะอาดพิทยา 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ รร โนนสะอาดพิทยา 1
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
 
น้ำมันมะพร้าว
น้ำมันมะพร้าวน้ำมันมะพร้าว
น้ำมันมะพร้าว
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 

Similar to สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ

ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์vgame_emagv
 
งานนำเสนอนะ
งานนำเสนอนะงานนำเสนอนะ
งานนำเสนอนะjongjang
 
งานนำเสนอนะจ๊ะ
งานนำเสนอนะจ๊ะงานนำเสนอนะจ๊ะ
งานนำเสนอนะจ๊ะjongjang
 
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นโครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
Beerza Kub
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์Pokypoky Leonardo
 
computer
computercomputer
Week01
Week01Week01
Week01
tree653
 
Week01
Week01Week01
Intro computer
Intro computerIntro computer
Intro computer
chalermsri1
 
Week01
Week01Week01
Week01
tree653
 
คอม
คอมคอม
คอม
kanchanaporn
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
suporn
 

Similar to สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ (20)

Ch1 com tech
Ch1 com techCh1 com tech
Ch1 com tech
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอนะ
งานนำเสนอนะงานนำเสนอนะ
งานนำเสนอนะ
 
งานนำเสนอนะจ๊ะ
งานนำเสนอนะจ๊ะงานนำเสนอนะจ๊ะ
งานนำเสนอนะจ๊ะ
 
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นโครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
computer
computercomputer
computer
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week02
Week02Week02
Week02
 
Intro computer
Intro computerIntro computer
Intro computer
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
Week01
Week01Week01
Week01
 

Recently uploaded

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ