SlideShare a Scribd company logo
ยุทธศาสตรวิชาชีพยุทธศาสตรวิชาชีพ ในใน 22 ทศวรรษหนาทศวรรษหนา
สาขาสาขา เภสัชกรรมการตลาดเภสัชกรรมการตลาด
8 ธันวาคม,2012
สมัชชาเภสัชกรรมไทย 99 ป
ยาเปนหนึ่งในปจจัยสําคัญในการใหบริการสุขภาพแกประชาชน ณ เวลาใดเวลาหนึ่งซึ่งจะขาดเสียมิได
การพัฒนาการของโรคทําใหมีความเจ็บปวยที่ยังไมมีวิธีการรักษาที่ดีอุบัติขึ้นตลอดเวลา ทําใหการคิดคนยา
ใหม ๆ จึงตองดําเนินตอไปอยางหลีกเลี่ยงไมได และปญหาการเขาถึงยาที่มีคุณภาพของประชาชนก็เปนปญหา
ที่สําคัญ อีกทั้งยาเปนสินคาที่ใชเพื่อการรักษาและบรรเทาโรค และยาก็เปนสินคาที่ไมสามารถประเมินคุณภาพ
ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลไดจากการมองเพียงภายนอก อีกทั้งยาอาจเกิดอันตรายแกผูใชไดเสมอหากใช ผิด
โรค ผิดขนาด ผิดวิธี ยา จึงอาจกอใหเกิดอันตรายมากพอๆ กับสรางคุณประโยชน
การใหขอมูลดานยาที่ถูกตองเปนปจจุบัน จึงถือไดวาเปนบทบาทที่สําคัญของเภสัชกร ซึ่งมีหนาที่ให
ขอมูล ความรู ทางดานยาตอบุคลากรตางๆ อาทิเชน แพทยผูสั่งจายยาแกผูปวย พยาบาลผูที่ชวยแพทยในการ
ดูแลผูปวยอยางใกลชิด ไปจนถึงแนะนําการใชยาแกผูปวย ประชาชนทั่วไป ใหมีความรูทางดานยาและนําไปสู
การใชยาอยางถูกตอง บทบาทการใหขอมูลยาและคําแนะนําเหลานี้เปนบทบาทของเภสัชกรทั้งสิ้นไมวาจะไป
ปฏิบัติอยูที่ใด ในหองยา ในรานยา หรือในบริษัทผูผลิตและจําหนายยาเอง
หากเราจะมองลึกลงไปในงานของเภสัชกรที่ทํางานในฝายขายและการตลาด ของบริษัทผูผลิตและ
จําหนายยา หรือ ที่เราเรียกวาเภสัชกรการตลาดนั้น นับเปนกลไกลําดับตน ๆ ในการเพิ่มการเขาถึงยาแก
ประชาชนไมเฉพาะแตในประเทศเรา แตครอบคลุมถึงการเขาถึงยาของประชากรทั่วโลก
เริ่มตนจากเภสัชกรรุนแรก ๆ ไดเขามาทําบทบาทพนักงานขายยารักษาโรคโดยเฉพาะใน
ยาที่มีความซับซอน และมีขอมูลรายละเอียดมาก โดยทําหนาที่ในการนําขอมูล และ
รายละเอียดของยาเพื่อนําไปใหแพทยและบุคลากรทางการแพทยไดนํายาและขอมูลดังกลาว
ไปใชในผูปวย
บทบาทของเภสัชกรการตลาดจึงเกิดขึ้น เนื่องจากเภสัชกรมีความรูโดยตรงทางดานยา
จึงสามารถเขาใจถึงขอมูลเกี่ยวกับยาไดอยางละเอียดและครบถวน อีกทั้งยังสามารถให
คําปรึกษาทางยาหากเกิดขอสงสัยในยาทั้งคุณสมบัติ คุณประโยชน การบริหารยานั้น ๆ ซึ่ง
พบวาเภสัชกรที่ทําบทบาทในการใหขอมูลยาที่มีความซับซอนไดดี เนื่องจากมีความรูทาง
เภสัชศาสตร โดยตรง
จํานวนเภสัชกรที่จบการศึกษาและเขามาทํางานในสาขาการตลาดนั้น มีจํานวนเพิ่มขึ้น
ตามลําดับ ประมาณการจํานวนเภสัชกรในปจจุบันมีถึง 4,000 คน
การกอตั้ง สมาคมเภสัชกรรมการตลาด (ประเทศไทย) เปนกาวสําคัญในการรวมตัวเพื่อวิชาชีพ
เภสัชกรรมการตลาด เพื่อแสดงบทบาทของเภสัชกรในการมีบทบาทในระบบสาธารณสุขไทยโดยคํานึง
ถึง บทบาทของการใหความรู ใหขอมูล และยังเปนที่ปรึกษาทางยาแกบุคลากรทางการแพทย บทบาท
หนาที่นี้หากดําเนินการภายใตเภสัชกร โดยใชวิชาชีพเภสัชศาสตรที่เรียนมาอยางแทจริง ยอมเปนบทบาท
ที่ดูแลและคุมครองผูบริโภค ซึ่งในที่นี้คือผูเจ็บปวยที่เขารับการรักษาดวยยา ใหไดยาที่ถูกตองเหมาะสม
ซึ่งนับเปนบทบาทที่คุมครองผูบริโภค ที่สําคัญบทบาทหนึ่งแกสังคม
เภสัชกรการตลาด หมายถึง เภสัชกร ผูมีใบประกอบโรคศิลป ที่มีหนาที่ ในการใหขอมูลความรู คําแนะนํา
ทางดานยาโดยใชความรูทางดานเภสัชศาสตรเพื่อเปนขอมูล ใหแกผูประกอบโรคศิลปะ หรือบุคลากรทางการแพทย
ในการนํายามารักษา บรรเทา แกผูปวย และยังมีบทบาทในการใหคําแนะนําในการใชยาแกผูปวย ซึ่งเปนบทบาท
พื้นฐานในการเปนเภสัชกร
เกณฑมาตรฐานประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม สาขาเภสัชกรรมการตลาด
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะ สมรรถนะ และการจัดการ
มาตรฐานที่ 2 การคัดสรร การกระจายยา
มาตรฐานที่ 3 การใหบริการขอมูลเพื่อสงเสริมการใชยาสมเหตุผล
มาตรฐานที่ 4 การดําเนินกิจกรรมทางการตลาด
มาตรฐานที่ 5 การติดตามความปลอดภัยหลังการตลาด
มาตรฐานที่ 6 การสงเสริมการวิจัยการตลาด
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะ สมรรถนะ และการจัดการ
เภสัชกรการตลาดตองมีภาวะผูนํา มีภาพลักษณที่นาเชื่อถือในการประกอบวิชาชีพ มี คุณธรรมจริยธรรม ทัศนคติและมนุษย
สัมพันธที่ดี สามารถประมวลความรูทางยา เพื่อใหคําปรึกษาแกผูที่เกี่ยวของ มีทักษะในการสื่อสารที่เหมาะสมสามารถสื่อสาร
ใหเกิดความเขาใจแกบุคลากรทางการแพทย ทุกสาขา มีการแสวงหาความรูอยางตอเนื่องใหทันตอสถานการณการเปลี่ยนแปลง
ของโรคและการใชยา มีความรู ความเขาใจและสามารถประยุกตองคความรูดานการจัดการ ดานการตลาด ลงสูการปฏิบัติ
สอดคลองกับสถานการณ รวมถึงมีความรูที่เกี่ยวของกับระบบสุขภาพของประเทศเพื่อสงเสริมบทบาทในการใชยาอยางสม
เหตุผล และปลอดภัยแกประชาชน
มาตรฐานที่ 2 การคัดสรร การกระจายยา
เภสัชกรการตลาดสามารถประมวลความรูดานเภสัชศาสตรที่เกี่ยวของในการคัดสรรยาครอบคลุมดานผลิตภัณฑ ผลลัพธ
ทางคลินิก เศรษฐศาสตร สังคม เพื่อใหไดขอมูลเชิงการตัดสินใจในการนํายาหรือผลิตภัณฑออกสูตลาด รวมถึงการเขาถึงยาของ
ประชาชน ภายใตระบบกระจายยาที่สอดคลองกับประเภทของยาและกฎระเบียบที่เกี่ยวของ เภสัชกรการตลาดสามารถสราง
ความมั่นใจวายายังคงคุณภาพในทุกจุด ตั้งแตเริ่มตนจนถึงผูบริโภคภายใตระบบโลจิสติกสที่เหมาะสม
มาตรฐานที่ 3 การใหบริการขอมูลเพื่อสงเสริมการใชยาสมเหตุสมผล
เภสัชกรการตลาดสามารถสืบคน วิเคราะหและประเมินความนาเชื่อถือของขอมูลและแหลงขอมูลทางวิชาการ มีทักษะใน
การถายทอด การสื่อสารทางวิชาชีพกับบุคลากรทางการแพทยที่เกี่ยวของ สามารถบูรณาการองคความรูดานเภสัชกรรมที่เปน
ปจจุบันเพื่อใหเกิดการใชยาอยางถูกตอง สมเหตุสมผล โดยคํานึงถึงประสิทธิภาพและความปลอดภัยของผูบริโภคเปนสําคัญ
มาตรฐานที่ 4 การดําเนินกิจกรรมทางการตลาด
เภสัชกรการตลาดตองดําเนินกิจกรรมทางการตลาด บนพื้นฐานความเปนวิชาชีพ โดยมุงหวังใหผูบริโภคเขาถึง
ยาที่มีคุณภาพมีประสิทธิภาพและความปลอดภัย รวมถึงชวยใหบุคลากรทางการแพทยมีทางเลือกในการใชผลิตภัณฑ
ที่เหมาะสม เพื่อประโยชนตอผูบริโภค กิจกรรมทางการตลาดตองคํานึงถึงความรับผิดชอบตอสังคมเปนสําคัญ
มาตรฐานที่ 5 การเฝาระวังและติดตามความปลอดภัยของเภสัชภัณฑ
เภสัชกรการตลาดตองตระหนักถึงความรับผิดชอบ และสามารถใชความรูทางดานเภสัชศาสตรในการประเมิน
ติดตามขอเท็จจริงดานความปลอดภัยของเภสัชภัณฑ เพื่อนําผลมาพิจารณาดําเนินการอยางเหมาะสม เพื่อใหเภสัช
ภัณฑที่อยูในตลาดเกิดประโยชนสูงสุดตอผูบริโภค
มาตรฐานที่ 6 การสงเสริมการวิจัยการตลาด
เภสัชกรการตลาดสามารถดําเนินการ สงเสริม หรือมีสวนรวมในการศึกษาวิจัย เพื่อคนหาความตองการและ
เพิ่มโอกาสในการเขาถึงเภสัชภัณฑที่เหมาะสมมากขึ้น ในดานการรักษา สงเสริม หรือปองกันความเจ็บปวย
ตลอดจนสงเสริมการศึกษาวิจัยในสถานพยาบาลเพื่อประเมินความเหมาะสมในการใชยา และเพื่อพัฒนาการ
ประกอบวิชาชีพ
ผูวิจัย สมาคมเภสัชกรรมการตลาด (ประเทศไทย)
ระยะเวลาการทําวิจัย ตั้งแต 1 พฤษภาคม 2555 ถึง 11 มิถุนายน 2555
วัตถุประสงค เพื่อศึกษาความเห็นของบุคลากรทางการแพทย ไดแกแพทย และเภสัชกรโรงพยาบาลตอ
การปฏิบัติงานวิชาชีพเภสัชกรรมการตลาด โดยการสัมภาษณกลุมตัวอยาง
ผลจากการวิจัยพบวา
1) งานที่เภสัชกรการตลาดมานําเสนอตอแพทยและเภสัชกรโรงพยาบาล สวนใหญเปนขอมูลยาทั่วไป ขอมูล
การศึกษาทางคลินิกและการย้ําเตือนชื่อผลิตภัณฑ นอกจากนี้บางสวนยังระบุถึงการนําเสนอขอมูลเปรียบเทียบกับยาตัวอื่นๆ ดวย
สวนที่ มีการพูดถึงบางไดแก การติดตามการใชยา คุณภาพของยา (ยาสามัญ) นําของมาให เชิญประชุม และการทํา
คุณลักษณะยา (specification)
2) งานที่แพทยและเภสัชกรมองวาทําไดดี ไดแก การนําขอมูลใหมๆ มานําเสนอ การตอบคําถามที่ชัดเจน การนําเสนอ
ประเด็น การรักษาใหแพทยฉุกคิด ระมัดระวังในการใชยาตางๆ นอกจากนี้ยังมีขอมูลเพิ่มเติมวาเภสัชกรการตลาดทําหนาที่
ไดดีกวา เจาหนาที่ที่ไมใชเภสัชกรในดานการใหขอมูล แตในดานการขายและการใหบริการเจาหนาที่ที่ไมใชเภสัชกรทํา
บทบาทได ดีกวาเภสัชกรการตลาดจากบริษัทที่ใหญกวาทําหนาที่ไดดีกวาบริษัทที่เล็กกวา นอกจากนี้ กิจกรรมใหความรูที่เปน
ประโยชนตอการรักษาผูปวย ไดแก การสอนการใชอุปกรณ การใหความรูเรื่องการดูแลตนเองของผูปวย การรวม
ชวยใน การคัดกรองผูปวย การใหขอมูลที่เหมาะสมกับประเภทของผูปวย การใหยาฟรีกับผูปวยบางกลุมที่ไมสามารถจาย
ได การ เขารวมกิจกรรมอื่น ๆ ของโรงพยาบาลที่เปดโอกาสใหทางเภสัชกรการตลาดสามารถมีสวนในการสนับสนุนได
3) สิ่งที่ควรปรับปรุงทางวิชาการ ไดแก การใหขอมูลเชิงลึก การใหขอมูลดานเดียว การใหขอมูลไมตรงประเด็น ขอมูลที่ไม
อางอิงหลักฐาน สิ่งที่ควรปรับปรุงในการทํางานทั่วไป ไดแก จังหวะการเขาพบวาแพทยวางหรือไม การถามเรื่องเดิม
ซ้ําๆ เมื่อมาจากบริษัทเดียวกัน บุคลิกภาพและมารยาทที่ไมเหมาะสม เชน การแทรกผูปวยที่ OPD การแตงตัวไมสุภาพ การ
บริการในเรื่องสวนตัว การโจมตียาตัวอื่นๆ การใหของที่มีมูลคาสูงเกิน
4) สิ่งที่อยากเห็นในอนาคต ไดแก
• ความเปนมืออาชีพ การใหขอมูลที่ครบถวนทุกดานและถูกตอง ความเขาใจขั้นตอนการรักษาโรคและผูปวย ทําใหรูไดวายาแตละ
ตัวอยูในขั้นตอนใดและเหมาะหรือไม เหมาะกับผูปวยกลุมใด
• มีกาลเทศะ มีความพอดี เพิ่มความรูทั่วไป และยาอื่นๆ หรือทางเลือกอื่นในการรักษา และอยากใหชวยกัน ยกระดับอาชีพ
• อยากใหเภสัชกรการตลาดชวยกันยกระดับการทํางาน ไมเนนการทํายอดขายอยางเดียว มีความรูรอบดาน นําเสนอขอมูลที่
ถูกตองครบถวน
ความเห็นอื่น ๆ
• การมีระบบผูแทนยาอาจทําใหเกิดการใชยาที่ไมสมเหตุสมผลหรือเกินพอดีได
• บุคลากรดานอื่นเขามาทําหนาที่มากขึ้น และมีความอดทนสูงกวาเภสัชกร
• ในปจจุบันการสืบคนขอมูลตางๆทําไดงายจากอินเตอรเน็ตทําใหการรับขอมูลโดยตรงจากเภสัชกรการตลาดยาลดนอยลง
สรุป: แนวทางการปรับเปลี่ยนแกไขวิชาชีพใหดียิ่งขึ้น ตองพัฒนาความรูทางวิชาการและการยอมรับใหมากขึ้น โดยนําเสนอ
ขอมูลเชิงลึกไดดี พัฒนาความรูความเขาใจในขั้นตอนการรักษาของแพทย และยาตัวอื่น ๆ การใหขอมูลยาตองใหขอมูลครบถวน
ทุกดาน เพื่อยกระดับความเชื่อมั่นจากบุคลากรทางการแพทย เหลานี้เปนการเพิ่มคุณคาใหกับวิชาชีพไดดียิ่งขึ้น
กําหนดยุทธศาสตร และแผนงาน
1.สรางความชัดเจนในวิชาชีพเภสัชกรการตลาดใหเภสัชกรการตลาดที่ปฏิบัติงาน และองคกรที่เภสัชกรปฏิบัติงาน
(W5, W6, T2 ,T3, S1,S2,O7)
2.แสดงบทบาทสภาวะผูนําแหงวิชาชีพรวมกับสาขาอื่นๆ และเปนสวนสําคัญในการสนับสนุนใหเกิดการใชยาอยาง
ถูกตองเหมาะสม (S1, S3, O2, O3, W3, W4, W7)
3.สรางเครือขายเขมแข็งระหวางวิชาชีพเภสัช กับสมาคมวิชาชีพอื่น แพทย พยาบาล (O5, S1, W3, W4)
4.พัฒนาเภสัชกรการตลาดรุนใหม ที่มีความรู ทักษะ และคุณธรรม โดยรวมมือกับภาคการศึกษาในการพัฒนา
หลักสูตร และการเรียนการสอน (W5 ,W7, T5)
5.สรางระบบ การตรวจสอบ ความสามารถของเภสัชกรผูปฏิบัติวิชาชีพ และองคกรที่เภสัชกรการตลาดปฏิบัติงาน
เพื่อสรางมาตรฐาน โดยรวมมือกับสภาวิชาชีพ (O3, O4, T2, S1,O7)
6.สรางการยอมรับในวิชาชีพเภสัชกรการตลาด กับประชาชน (O3, O4, S3, S7)
แผนยุทธศาสตรที่ 1:
สรางความชัดเจนในวิชาชีพเภสัชกรการตลาดใหเภสัชกรการตลาดที่ปฏิบัติงาน
และองคกรที่เภสัชกรปฏิบัติงาน
•กําหนดบทบาทหนาที่ของเภสัชกรในการปฏิบัติงาน และกําหนดเกณฑมาตรฐาน
•จัดงานสัมมนาและประชาสัมพันธ เรื่องบทบาทวิชาชีพ ออกสูสมาชิกและวิชาชีพอื่นๆ
•ประสานงาน และ รวมมือ กับองคกรที่เภสัชกรปฏิบัติงานใหเขาใจบทบาทหนาที่และเกณฑการปฏิบัติ
หนาที่ของเภสัชกรการตลาด
•รวมกับสภาวิชาชีพ และภาครัฐ ในการผลักดันใหมีการพิจารณาบทลงโทษหากมีผูทําหนาที่ดังกลาว
ซึ่งไมใชเภสัชกรผูปฏิบัติหนาที่
แผนยุทธศาสตรที่ 2:
แสดงบทบาทสภาวะผูนําแหงวิชาชีพรวมกับสาขาอื่นๆ และเปนสวนสําคัญใน
การสนับสนุนใหเกิดการใชยาอยางถูกตองเหมาะสม
•ประชาสัมพันธ บทบาทและหนาที่ของเภสัชกรการตลาด สูเภสัชกรผูปฏิบัติงานและ บุคลากรทาง
การแพทย
•ผลักดันมาตรฐานวิชาชีพลงสูการปฏิบัติ
•รวมมือกับโรงพยาบาล ภาครัฐ ในการตอตาน การใชยาไมสมเหตุผล
•เขารวมเปนหนึ่งในเภสัชกรรมโรงพยาบาล เภสัชกรรมชุมชน และสาขาอื่น ๆ ในการสนับสนุนการใชยา
อยางถูกตองเหมาะสม
•สงเสริมการวิจัยการตลาด ที่สนับสนุน และควบคุม เพื่อใหเกิดการใชยาอยางถูกตองเหมาะสม
แผนยุทธศาสตรที่ 3 :
สรางเครือขายเขมแข็งระหวางวิชาชีพเภสัชกับสมาคมวิชาชีพอื่นๆ
•จัดแลกเปลี่ยนแนวคิดกับสมาคมวิชาชีพอื่น ๆ เชน แพทยสภา , สภาการพยาบาล สมาคมทางการแพทย
เพื่อสนับสนุนใหเกิดการเขาใจของการปฏิบัติหนาที่ของเภสัชกรการตลาด
•จัดการสัมมนา รวมกับเภสัชกรโรงพยาบาล และเภสัชกรชุมชน ในการพัฒนาบทบาท และหนาที่ของ
เภสัชกรการตลาดใหเปนที่ยอมรับ
•สรางความสัมพันธกับเครือขายเภสัชกรคุมครองผูบริโภค เพื่อความตอเนื่องในการสงมอบขอมูลแก
ผูปวย
แผนยุทธศาสตรที่ 4:
พัฒนาเภสัชกรการตลาดรุนใหม ที่มีความรู ทักษะ และคุณธรรม โดยรวมมือกับ
ภาคการศึกษาในการพัฒนาหลักสูตร และการเรียนการสอน
•รวมมือกับภาคการศึกษาในการกําหนด หลักสูตร และสมรรถนะ ของเภสัชกรการตลาด
•รวมกับภาคการศึกษา ในการอบรม ดานจริยธรรม และปฐมนิเทศนักศึกษาฝกงาน
•รวมมือกับภาครัฐและเอกชนในการจัดอบรมเสริมทักษะแกเภสัชกรการตลาด (เชน ทักษะในการ
สื่อสารขอมูล ทักษะการเปนผูนํา ทักษะการนําเสนองาน เปนตน)
แผนยุทธศาสตรที่ 5:
สรางระบบ การตรวจสอบ ความสามารถของเภสัชกรผูปฏิบัติวิชาชีพ และ
องคกรที่เภสัชกรการตลาดปฏิบัติงาน เพื่อสรางมาตรฐาน โดยรวมมือกับสภา
วิชาชีพ
•รวมมือกับภาคการศึกษา ในการจัดหลักสูตรเพื่อเสริมพื้นฐานทางวิชาการ แกเภสัชกรที่ปฏิบัติงาน
และจัดการสอบประเมินความรู
•รวมกับสภาเภสัชกรรม ในการกําหนดการประเมินความสามารถของเภสัช กรผูปฏิบัติวิชาชีพและ
ประสานงานรวมกับสภาในการเขามามีสวนรวมใน การประเมินการปฏิบัติงาน ตามมาตรฐานที่กําหนด
•ขอความรวมมือ องคกรภาคเอกชนที่เภสัชกรการตลาดปฏิบัติงาน ใหเขาใจและตระหนักถึงบทบาทหนาที่
แผนยุทธศาสตรที่ 6:
สรางการยอมรับในวิชาชีพเภสัชกรการตลาด กับประชาชน
•เผยแพรบทบาทของเภสัชกรการตลาด ตอประชาชน โดยการประชาสัมพันธเชิงรุก
•เปนแหลงขอมูล และใหคําปรึกษา ทางยาแกประชาชน
การประมาณความตองการกําลังคนใน 10 ปขางหนา
สาขา
จํานวนเภสัชกร (คน)
ปจจุบัน ตองการ
ป 2562
ชดเชยสูญเสีย สวนตาง
เภสัชกรโรงพยาบาล 7,146 15,238 1,429 9,665
- รพศ./รพท. 1,902 7,184
- รพช. 2,594 5,249
- อื่นๆ 2,650 2,805
เภสัชกรชุมชน (รานยา) 3,000 8,006 600 8,606
เภสัชกรอุตสาหกรรม 1,700 2,835 * 1,135
เภสัชกรการตลาด 3,873 5,810 * 1,937
เภสัชรคุมครองผูบริโภค 1,013 2,365 120 1,472
- สสจ. 488 1,123 * 635
- อย. 360 848 77 565
- กรมวิทยาศาสตรการแพทย 165 394 43 272
เภสัชกรการศึกษา 954 1,192 155 393
รวม 25,845 53,049 2,424 24,680
สรุปเปรียบเทียบจํานวนกําลังคนที่มีในปจจุบันกับความตองการในอนาคต
* ใชตัวเลขอัตราการเพิ่มซึ่งรวมการสูญเสียและทดแทนแลว
บทบาทเภสัชกรการตลาดในอนาคต
การมุงเนนบทบาทมีสวนรวมกับบุคลากรทางการแพทยเพื่อทําใหผูปวยไดรับยาที่
เหมาะสมและถูกตองแมนยํา
การมีความรูในองครวม ความเขาใจในโรค ยาที่ใชในการรักษาโรคทั้งหมด
การพัฒนาศักยภาพของเภสัชกรการตลาดใหเปนผูมีความรูและเชี่ยวชาญจริงๆ ใน
ดานยาและระบบสาธารณสุขโดยรวม
หากเภสัชกรการตลาดไมสามารถแสดงความรูและความเชี่ยวชาญได บริษัท ผูผลิต
และจําหนายยา อาจเปลี่ยนแปลงโครงสรางองคกร และหาบุคลากรทางดานอื่น ๆ เขามา
รับผิดชอบงานตามบทบาทและหนาที่ที่กลาวมา
ขอบพระคุณ
บทบาทเภสัชกรการตลาดในอนาคต
การมุงเนนบทบาทมีสวนรวมกับบุคลากรทางการแพทย เพื่อทําใหผูปวยไดรับยาที่เหมาะสมและ
ถูกตองแมนยํา เกิดความคุมคามากที่สุด รวมไปถึงการนําเสนอขอมูลคุณคาของยาเชิงเศรษฐศาสตร
การมีความรูในองครวม ความเขาใจในโรค ยาที่ใชในการรักษาโรคทั้งหมด เพื่อใหผูปวยสามารถ
ไดรับยาที่มีคุณคาสมกับราคาที่ตองจาย และมีบทบาทในการทําหนาที่ดูแลและควบคุมการกระจายยาให
มีประสิทธิภาพ รวมไปถึงการติดตามเฝาระวังดานความปลอดภัยและอาการไมพึงประสงคของยาตอ
ผูปวย
การพัฒนาศักยภาพของเภสัชกรการตลาดใหเปนผูมีความรูและเชี่ยวชาญจริง ๆ ในดานยาและ
ระบบสาธารณสุขโดยรวมจําเปนยิ่ง รูปแบบของงานที่จะเปลี่ยนจากการขาย หรือการสงมอบยาไปที่
สถานพยาบาลตาง ๆ มา เปนผูที่ใหขอมูลยา พรอมคําปรึกษาเพื่อที่จะมุงเนน ใหบุคลากรทางการแพทย
ไดนํายานั้น ๆ ไปรักษาบรรเทาโรคไดอยางถูกตอง และมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
หากเภสัชกรการตลาดไมสามารถแสดงความรูและความเชี่ยวชาญได บริษัท ผูผลิตและจําหนายยา
อาจเปลี่ยนแปลงโครงสรางองคกร และหาบุคลากรทางดานอื่น ๆ เขามารับผิดชอบงานตามบทบาทและ
หนาที่ที่กลาวมา

More Related Content

What's hot

Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicines
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicinesWho guidelines on good manufacturing practices for herbal medicines
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicines
Vorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
Utai Sukviwatsirikul
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
Preeyapat Lengrabam
 
3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management
Watcharin Chongkonsatit
 
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
Utai Sukviwatsirikul
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
Utai Sukviwatsirikul
 
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
Utai Sukviwatsirikul
 
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...
Utai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
แผ่นพับปรับวิถีชีวิตพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แผ่นพับปรับวิถีชีวิตพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแผ่นพับปรับวิถีชีวิตพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แผ่นพับปรับวิถีชีวิตพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
CAPD AngThong
 
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ Utai Sukviwatsirikul
 
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมจรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
Surang Judistprasert
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
DMS Library
 
ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11
Suphatsorn Pennuanoong
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
Rachanont Hiranwong
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAkkradet Keawyoo
 

What's hot (20)

Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicines
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicinesWho guidelines on good manufacturing practices for herbal medicines
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicines
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management
 
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
 
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
แผ่นพับปรับวิถีชีวิตพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แผ่นพับปรับวิถีชีวิตพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแผ่นพับปรับวิถีชีวิตพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แผ่นพับปรับวิถีชีวิตพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
 
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมจรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
 
ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 

Similar to ยุทธศาสตร์วิชาชีพเภสัชกรรมการตลาด

โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
Utai Sukviwatsirikul
 
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทกเภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
pitsanu duangkartok
 
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
pitsanu duangkartok
 
การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย
การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทยการนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย
การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย
Utai Sukviwatsirikul
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Utai Sukviwatsirikul
 
Rdu drug store 2560
Rdu drug store 2560Rdu drug store 2560
Rdu drug store 2560
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขคู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
Vorawut Wongumpornpinit
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
Komsan Iemthaisong
 
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูลอนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
Utai Sukviwatsirikul
 
Rdu book
Rdu bookRdu book
Rdu book
Aimmary
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
Paradee Plodpai
 
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพการพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
Utai Sukviwatsirikul
 
Convenient pharmacy
Convenient pharmacyConvenient pharmacy
Convenient pharmacy
Utai Sukviwatsirikul
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยTanawat Sudsuk
 
Rational Drug Use Hospital Manual
Rational Drug Use Hospital ManualRational Drug Use Hospital Manual
Rational Drug Use Hospital Manual
Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to ยุทธศาสตร์วิชาชีพเภสัชกรรมการตลาด (20)

โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
 
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทกเภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
 
Piyapan
PiyapanPiyapan
Piyapan
 
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 
การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย
การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทยการนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย
การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย
 
Rdu book
Rdu bookRdu book
Rdu book
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
 
Rdu drug store 2560
Rdu drug store 2560Rdu drug store 2560
Rdu drug store 2560
 
คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.
 
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขคู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
 
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูลอนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
 
Rdu book
Rdu bookRdu book
Rdu book
 
Rdu
RduRdu
Rdu
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
 
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพการพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
 
Convenient pharmacy
Convenient pharmacyConvenient pharmacy
Convenient pharmacy
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
 
Rational Drug Use Hospital Manual
Rational Drug Use Hospital ManualRational Drug Use Hospital Manual
Rational Drug Use Hospital Manual
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
Utai Sukviwatsirikul
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
Utai Sukviwatsirikul
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
Utai Sukviwatsirikul
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Utai Sukviwatsirikul
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
Utai Sukviwatsirikul
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Utai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
Utai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
Utai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
Utai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptives
Utai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptives
 

ยุทธศาสตร์วิชาชีพเภสัชกรรมการตลาด

  • 1. ยุทธศาสตรวิชาชีพยุทธศาสตรวิชาชีพ ในใน 22 ทศวรรษหนาทศวรรษหนา สาขาสาขา เภสัชกรรมการตลาดเภสัชกรรมการตลาด 8 ธันวาคม,2012 สมัชชาเภสัชกรรมไทย 99 ป
  • 2. ยาเปนหนึ่งในปจจัยสําคัญในการใหบริการสุขภาพแกประชาชน ณ เวลาใดเวลาหนึ่งซึ่งจะขาดเสียมิได การพัฒนาการของโรคทําใหมีความเจ็บปวยที่ยังไมมีวิธีการรักษาที่ดีอุบัติขึ้นตลอดเวลา ทําใหการคิดคนยา ใหม ๆ จึงตองดําเนินตอไปอยางหลีกเลี่ยงไมได และปญหาการเขาถึงยาที่มีคุณภาพของประชาชนก็เปนปญหา ที่สําคัญ อีกทั้งยาเปนสินคาที่ใชเพื่อการรักษาและบรรเทาโรค และยาก็เปนสินคาที่ไมสามารถประเมินคุณภาพ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลไดจากการมองเพียงภายนอก อีกทั้งยาอาจเกิดอันตรายแกผูใชไดเสมอหากใช ผิด โรค ผิดขนาด ผิดวิธี ยา จึงอาจกอใหเกิดอันตรายมากพอๆ กับสรางคุณประโยชน การใหขอมูลดานยาที่ถูกตองเปนปจจุบัน จึงถือไดวาเปนบทบาทที่สําคัญของเภสัชกร ซึ่งมีหนาที่ให ขอมูล ความรู ทางดานยาตอบุคลากรตางๆ อาทิเชน แพทยผูสั่งจายยาแกผูปวย พยาบาลผูที่ชวยแพทยในการ ดูแลผูปวยอยางใกลชิด ไปจนถึงแนะนําการใชยาแกผูปวย ประชาชนทั่วไป ใหมีความรูทางดานยาและนําไปสู การใชยาอยางถูกตอง บทบาทการใหขอมูลยาและคําแนะนําเหลานี้เปนบทบาทของเภสัชกรทั้งสิ้นไมวาจะไป ปฏิบัติอยูที่ใด ในหองยา ในรานยา หรือในบริษัทผูผลิตและจําหนายยาเอง หากเราจะมองลึกลงไปในงานของเภสัชกรที่ทํางานในฝายขายและการตลาด ของบริษัทผูผลิตและ จําหนายยา หรือ ที่เราเรียกวาเภสัชกรการตลาดนั้น นับเปนกลไกลําดับตน ๆ ในการเพิ่มการเขาถึงยาแก ประชาชนไมเฉพาะแตในประเทศเรา แตครอบคลุมถึงการเขาถึงยาของประชากรทั่วโลก
  • 3. เริ่มตนจากเภสัชกรรุนแรก ๆ ไดเขามาทําบทบาทพนักงานขายยารักษาโรคโดยเฉพาะใน ยาที่มีความซับซอน และมีขอมูลรายละเอียดมาก โดยทําหนาที่ในการนําขอมูล และ รายละเอียดของยาเพื่อนําไปใหแพทยและบุคลากรทางการแพทยไดนํายาและขอมูลดังกลาว ไปใชในผูปวย บทบาทของเภสัชกรการตลาดจึงเกิดขึ้น เนื่องจากเภสัชกรมีความรูโดยตรงทางดานยา จึงสามารถเขาใจถึงขอมูลเกี่ยวกับยาไดอยางละเอียดและครบถวน อีกทั้งยังสามารถให คําปรึกษาทางยาหากเกิดขอสงสัยในยาทั้งคุณสมบัติ คุณประโยชน การบริหารยานั้น ๆ ซึ่ง พบวาเภสัชกรที่ทําบทบาทในการใหขอมูลยาที่มีความซับซอนไดดี เนื่องจากมีความรูทาง เภสัชศาสตร โดยตรง จํานวนเภสัชกรที่จบการศึกษาและเขามาทํางานในสาขาการตลาดนั้น มีจํานวนเพิ่มขึ้น ตามลําดับ ประมาณการจํานวนเภสัชกรในปจจุบันมีถึง 4,000 คน
  • 4. การกอตั้ง สมาคมเภสัชกรรมการตลาด (ประเทศไทย) เปนกาวสําคัญในการรวมตัวเพื่อวิชาชีพ เภสัชกรรมการตลาด เพื่อแสดงบทบาทของเภสัชกรในการมีบทบาทในระบบสาธารณสุขไทยโดยคํานึง ถึง บทบาทของการใหความรู ใหขอมูล และยังเปนที่ปรึกษาทางยาแกบุคลากรทางการแพทย บทบาท หนาที่นี้หากดําเนินการภายใตเภสัชกร โดยใชวิชาชีพเภสัชศาสตรที่เรียนมาอยางแทจริง ยอมเปนบทบาท ที่ดูแลและคุมครองผูบริโภค ซึ่งในที่นี้คือผูเจ็บปวยที่เขารับการรักษาดวยยา ใหไดยาที่ถูกตองเหมาะสม ซึ่งนับเปนบทบาทที่คุมครองผูบริโภค ที่สําคัญบทบาทหนึ่งแกสังคม
  • 5. เภสัชกรการตลาด หมายถึง เภสัชกร ผูมีใบประกอบโรคศิลป ที่มีหนาที่ ในการใหขอมูลความรู คําแนะนํา ทางดานยาโดยใชความรูทางดานเภสัชศาสตรเพื่อเปนขอมูล ใหแกผูประกอบโรคศิลปะ หรือบุคลากรทางการแพทย ในการนํายามารักษา บรรเทา แกผูปวย และยังมีบทบาทในการใหคําแนะนําในการใชยาแกผูปวย ซึ่งเปนบทบาท พื้นฐานในการเปนเภสัชกร เกณฑมาตรฐานประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม สาขาเภสัชกรรมการตลาด มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะ สมรรถนะ และการจัดการ มาตรฐานที่ 2 การคัดสรร การกระจายยา มาตรฐานที่ 3 การใหบริการขอมูลเพื่อสงเสริมการใชยาสมเหตุผล มาตรฐานที่ 4 การดําเนินกิจกรรมทางการตลาด มาตรฐานที่ 5 การติดตามความปลอดภัยหลังการตลาด มาตรฐานที่ 6 การสงเสริมการวิจัยการตลาด
  • 6. มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะ สมรรถนะ และการจัดการ เภสัชกรการตลาดตองมีภาวะผูนํา มีภาพลักษณที่นาเชื่อถือในการประกอบวิชาชีพ มี คุณธรรมจริยธรรม ทัศนคติและมนุษย สัมพันธที่ดี สามารถประมวลความรูทางยา เพื่อใหคําปรึกษาแกผูที่เกี่ยวของ มีทักษะในการสื่อสารที่เหมาะสมสามารถสื่อสาร ใหเกิดความเขาใจแกบุคลากรทางการแพทย ทุกสาขา มีการแสวงหาความรูอยางตอเนื่องใหทันตอสถานการณการเปลี่ยนแปลง ของโรคและการใชยา มีความรู ความเขาใจและสามารถประยุกตองคความรูดานการจัดการ ดานการตลาด ลงสูการปฏิบัติ สอดคลองกับสถานการณ รวมถึงมีความรูที่เกี่ยวของกับระบบสุขภาพของประเทศเพื่อสงเสริมบทบาทในการใชยาอยางสม เหตุผล และปลอดภัยแกประชาชน มาตรฐานที่ 2 การคัดสรร การกระจายยา เภสัชกรการตลาดสามารถประมวลความรูดานเภสัชศาสตรที่เกี่ยวของในการคัดสรรยาครอบคลุมดานผลิตภัณฑ ผลลัพธ ทางคลินิก เศรษฐศาสตร สังคม เพื่อใหไดขอมูลเชิงการตัดสินใจในการนํายาหรือผลิตภัณฑออกสูตลาด รวมถึงการเขาถึงยาของ ประชาชน ภายใตระบบกระจายยาที่สอดคลองกับประเภทของยาและกฎระเบียบที่เกี่ยวของ เภสัชกรการตลาดสามารถสราง ความมั่นใจวายายังคงคุณภาพในทุกจุด ตั้งแตเริ่มตนจนถึงผูบริโภคภายใตระบบโลจิสติกสที่เหมาะสม มาตรฐานที่ 3 การใหบริการขอมูลเพื่อสงเสริมการใชยาสมเหตุสมผล เภสัชกรการตลาดสามารถสืบคน วิเคราะหและประเมินความนาเชื่อถือของขอมูลและแหลงขอมูลทางวิชาการ มีทักษะใน การถายทอด การสื่อสารทางวิชาชีพกับบุคลากรทางการแพทยที่เกี่ยวของ สามารถบูรณาการองคความรูดานเภสัชกรรมที่เปน ปจจุบันเพื่อใหเกิดการใชยาอยางถูกตอง สมเหตุสมผล โดยคํานึงถึงประสิทธิภาพและความปลอดภัยของผูบริโภคเปนสําคัญ
  • 7. มาตรฐานที่ 4 การดําเนินกิจกรรมทางการตลาด เภสัชกรการตลาดตองดําเนินกิจกรรมทางการตลาด บนพื้นฐานความเปนวิชาชีพ โดยมุงหวังใหผูบริโภคเขาถึง ยาที่มีคุณภาพมีประสิทธิภาพและความปลอดภัย รวมถึงชวยใหบุคลากรทางการแพทยมีทางเลือกในการใชผลิตภัณฑ ที่เหมาะสม เพื่อประโยชนตอผูบริโภค กิจกรรมทางการตลาดตองคํานึงถึงความรับผิดชอบตอสังคมเปนสําคัญ มาตรฐานที่ 5 การเฝาระวังและติดตามความปลอดภัยของเภสัชภัณฑ เภสัชกรการตลาดตองตระหนักถึงความรับผิดชอบ และสามารถใชความรูทางดานเภสัชศาสตรในการประเมิน ติดตามขอเท็จจริงดานความปลอดภัยของเภสัชภัณฑ เพื่อนําผลมาพิจารณาดําเนินการอยางเหมาะสม เพื่อใหเภสัช ภัณฑที่อยูในตลาดเกิดประโยชนสูงสุดตอผูบริโภค มาตรฐานที่ 6 การสงเสริมการวิจัยการตลาด เภสัชกรการตลาดสามารถดําเนินการ สงเสริม หรือมีสวนรวมในการศึกษาวิจัย เพื่อคนหาความตองการและ เพิ่มโอกาสในการเขาถึงเภสัชภัณฑที่เหมาะสมมากขึ้น ในดานการรักษา สงเสริม หรือปองกันความเจ็บปวย ตลอดจนสงเสริมการศึกษาวิจัยในสถานพยาบาลเพื่อประเมินความเหมาะสมในการใชยา และเพื่อพัฒนาการ ประกอบวิชาชีพ
  • 8. ผูวิจัย สมาคมเภสัชกรรมการตลาด (ประเทศไทย) ระยะเวลาการทําวิจัย ตั้งแต 1 พฤษภาคม 2555 ถึง 11 มิถุนายน 2555 วัตถุประสงค เพื่อศึกษาความเห็นของบุคลากรทางการแพทย ไดแกแพทย และเภสัชกรโรงพยาบาลตอ การปฏิบัติงานวิชาชีพเภสัชกรรมการตลาด โดยการสัมภาษณกลุมตัวอยาง ผลจากการวิจัยพบวา 1) งานที่เภสัชกรการตลาดมานําเสนอตอแพทยและเภสัชกรโรงพยาบาล สวนใหญเปนขอมูลยาทั่วไป ขอมูล การศึกษาทางคลินิกและการย้ําเตือนชื่อผลิตภัณฑ นอกจากนี้บางสวนยังระบุถึงการนําเสนอขอมูลเปรียบเทียบกับยาตัวอื่นๆ ดวย สวนที่ มีการพูดถึงบางไดแก การติดตามการใชยา คุณภาพของยา (ยาสามัญ) นําของมาให เชิญประชุม และการทํา คุณลักษณะยา (specification) 2) งานที่แพทยและเภสัชกรมองวาทําไดดี ไดแก การนําขอมูลใหมๆ มานําเสนอ การตอบคําถามที่ชัดเจน การนําเสนอ ประเด็น การรักษาใหแพทยฉุกคิด ระมัดระวังในการใชยาตางๆ นอกจากนี้ยังมีขอมูลเพิ่มเติมวาเภสัชกรการตลาดทําหนาที่ ไดดีกวา เจาหนาที่ที่ไมใชเภสัชกรในดานการใหขอมูล แตในดานการขายและการใหบริการเจาหนาที่ที่ไมใชเภสัชกรทํา บทบาทได ดีกวาเภสัชกรการตลาดจากบริษัทที่ใหญกวาทําหนาที่ไดดีกวาบริษัทที่เล็กกวา นอกจากนี้ กิจกรรมใหความรูที่เปน ประโยชนตอการรักษาผูปวย ไดแก การสอนการใชอุปกรณ การใหความรูเรื่องการดูแลตนเองของผูปวย การรวม ชวยใน การคัดกรองผูปวย การใหขอมูลที่เหมาะสมกับประเภทของผูปวย การใหยาฟรีกับผูปวยบางกลุมที่ไมสามารถจาย ได การ เขารวมกิจกรรมอื่น ๆ ของโรงพยาบาลที่เปดโอกาสใหทางเภสัชกรการตลาดสามารถมีสวนในการสนับสนุนได
  • 9. 3) สิ่งที่ควรปรับปรุงทางวิชาการ ไดแก การใหขอมูลเชิงลึก การใหขอมูลดานเดียว การใหขอมูลไมตรงประเด็น ขอมูลที่ไม อางอิงหลักฐาน สิ่งที่ควรปรับปรุงในการทํางานทั่วไป ไดแก จังหวะการเขาพบวาแพทยวางหรือไม การถามเรื่องเดิม ซ้ําๆ เมื่อมาจากบริษัทเดียวกัน บุคลิกภาพและมารยาทที่ไมเหมาะสม เชน การแทรกผูปวยที่ OPD การแตงตัวไมสุภาพ การ บริการในเรื่องสวนตัว การโจมตียาตัวอื่นๆ การใหของที่มีมูลคาสูงเกิน 4) สิ่งที่อยากเห็นในอนาคต ไดแก • ความเปนมืออาชีพ การใหขอมูลที่ครบถวนทุกดานและถูกตอง ความเขาใจขั้นตอนการรักษาโรคและผูปวย ทําใหรูไดวายาแตละ ตัวอยูในขั้นตอนใดและเหมาะหรือไม เหมาะกับผูปวยกลุมใด • มีกาลเทศะ มีความพอดี เพิ่มความรูทั่วไป และยาอื่นๆ หรือทางเลือกอื่นในการรักษา และอยากใหชวยกัน ยกระดับอาชีพ • อยากใหเภสัชกรการตลาดชวยกันยกระดับการทํางาน ไมเนนการทํายอดขายอยางเดียว มีความรูรอบดาน นําเสนอขอมูลที่ ถูกตองครบถวน ความเห็นอื่น ๆ • การมีระบบผูแทนยาอาจทําใหเกิดการใชยาที่ไมสมเหตุสมผลหรือเกินพอดีได • บุคลากรดานอื่นเขามาทําหนาที่มากขึ้น และมีความอดทนสูงกวาเภสัชกร • ในปจจุบันการสืบคนขอมูลตางๆทําไดงายจากอินเตอรเน็ตทําใหการรับขอมูลโดยตรงจากเภสัชกรการตลาดยาลดนอยลง สรุป: แนวทางการปรับเปลี่ยนแกไขวิชาชีพใหดียิ่งขึ้น ตองพัฒนาความรูทางวิชาการและการยอมรับใหมากขึ้น โดยนําเสนอ ขอมูลเชิงลึกไดดี พัฒนาความรูความเขาใจในขั้นตอนการรักษาของแพทย และยาตัวอื่น ๆ การใหขอมูลยาตองใหขอมูลครบถวน ทุกดาน เพื่อยกระดับความเชื่อมั่นจากบุคลากรทางการแพทย เหลานี้เปนการเพิ่มคุณคาใหกับวิชาชีพไดดียิ่งขึ้น
  • 10.
  • 11. กําหนดยุทธศาสตร และแผนงาน 1.สรางความชัดเจนในวิชาชีพเภสัชกรการตลาดใหเภสัชกรการตลาดที่ปฏิบัติงาน และองคกรที่เภสัชกรปฏิบัติงาน (W5, W6, T2 ,T3, S1,S2,O7) 2.แสดงบทบาทสภาวะผูนําแหงวิชาชีพรวมกับสาขาอื่นๆ และเปนสวนสําคัญในการสนับสนุนใหเกิดการใชยาอยาง ถูกตองเหมาะสม (S1, S3, O2, O3, W3, W4, W7) 3.สรางเครือขายเขมแข็งระหวางวิชาชีพเภสัช กับสมาคมวิชาชีพอื่น แพทย พยาบาล (O5, S1, W3, W4) 4.พัฒนาเภสัชกรการตลาดรุนใหม ที่มีความรู ทักษะ และคุณธรรม โดยรวมมือกับภาคการศึกษาในการพัฒนา หลักสูตร และการเรียนการสอน (W5 ,W7, T5) 5.สรางระบบ การตรวจสอบ ความสามารถของเภสัชกรผูปฏิบัติวิชาชีพ และองคกรที่เภสัชกรการตลาดปฏิบัติงาน เพื่อสรางมาตรฐาน โดยรวมมือกับสภาวิชาชีพ (O3, O4, T2, S1,O7) 6.สรางการยอมรับในวิชาชีพเภสัชกรการตลาด กับประชาชน (O3, O4, S3, S7)
  • 12. แผนยุทธศาสตรที่ 1: สรางความชัดเจนในวิชาชีพเภสัชกรการตลาดใหเภสัชกรการตลาดที่ปฏิบัติงาน และองคกรที่เภสัชกรปฏิบัติงาน •กําหนดบทบาทหนาที่ของเภสัชกรในการปฏิบัติงาน และกําหนดเกณฑมาตรฐาน •จัดงานสัมมนาและประชาสัมพันธ เรื่องบทบาทวิชาชีพ ออกสูสมาชิกและวิชาชีพอื่นๆ •ประสานงาน และ รวมมือ กับองคกรที่เภสัชกรปฏิบัติงานใหเขาใจบทบาทหนาที่และเกณฑการปฏิบัติ หนาที่ของเภสัชกรการตลาด •รวมกับสภาวิชาชีพ และภาครัฐ ในการผลักดันใหมีการพิจารณาบทลงโทษหากมีผูทําหนาที่ดังกลาว ซึ่งไมใชเภสัชกรผูปฏิบัติหนาที่
  • 13. แผนยุทธศาสตรที่ 2: แสดงบทบาทสภาวะผูนําแหงวิชาชีพรวมกับสาขาอื่นๆ และเปนสวนสําคัญใน การสนับสนุนใหเกิดการใชยาอยางถูกตองเหมาะสม •ประชาสัมพันธ บทบาทและหนาที่ของเภสัชกรการตลาด สูเภสัชกรผูปฏิบัติงานและ บุคลากรทาง การแพทย •ผลักดันมาตรฐานวิชาชีพลงสูการปฏิบัติ •รวมมือกับโรงพยาบาล ภาครัฐ ในการตอตาน การใชยาไมสมเหตุผล •เขารวมเปนหนึ่งในเภสัชกรรมโรงพยาบาล เภสัชกรรมชุมชน และสาขาอื่น ๆ ในการสนับสนุนการใชยา อยางถูกตองเหมาะสม •สงเสริมการวิจัยการตลาด ที่สนับสนุน และควบคุม เพื่อใหเกิดการใชยาอยางถูกตองเหมาะสม
  • 14. แผนยุทธศาสตรที่ 3 : สรางเครือขายเขมแข็งระหวางวิชาชีพเภสัชกับสมาคมวิชาชีพอื่นๆ •จัดแลกเปลี่ยนแนวคิดกับสมาคมวิชาชีพอื่น ๆ เชน แพทยสภา , สภาการพยาบาล สมาคมทางการแพทย เพื่อสนับสนุนใหเกิดการเขาใจของการปฏิบัติหนาที่ของเภสัชกรการตลาด •จัดการสัมมนา รวมกับเภสัชกรโรงพยาบาล และเภสัชกรชุมชน ในการพัฒนาบทบาท และหนาที่ของ เภสัชกรการตลาดใหเปนที่ยอมรับ •สรางความสัมพันธกับเครือขายเภสัชกรคุมครองผูบริโภค เพื่อความตอเนื่องในการสงมอบขอมูลแก ผูปวย
  • 15. แผนยุทธศาสตรที่ 4: พัฒนาเภสัชกรการตลาดรุนใหม ที่มีความรู ทักษะ และคุณธรรม โดยรวมมือกับ ภาคการศึกษาในการพัฒนาหลักสูตร และการเรียนการสอน •รวมมือกับภาคการศึกษาในการกําหนด หลักสูตร และสมรรถนะ ของเภสัชกรการตลาด •รวมกับภาคการศึกษา ในการอบรม ดานจริยธรรม และปฐมนิเทศนักศึกษาฝกงาน •รวมมือกับภาครัฐและเอกชนในการจัดอบรมเสริมทักษะแกเภสัชกรการตลาด (เชน ทักษะในการ สื่อสารขอมูล ทักษะการเปนผูนํา ทักษะการนําเสนองาน เปนตน)
  • 16. แผนยุทธศาสตรที่ 5: สรางระบบ การตรวจสอบ ความสามารถของเภสัชกรผูปฏิบัติวิชาชีพ และ องคกรที่เภสัชกรการตลาดปฏิบัติงาน เพื่อสรางมาตรฐาน โดยรวมมือกับสภา วิชาชีพ •รวมมือกับภาคการศึกษา ในการจัดหลักสูตรเพื่อเสริมพื้นฐานทางวิชาการ แกเภสัชกรที่ปฏิบัติงาน และจัดการสอบประเมินความรู •รวมกับสภาเภสัชกรรม ในการกําหนดการประเมินความสามารถของเภสัช กรผูปฏิบัติวิชาชีพและ ประสานงานรวมกับสภาในการเขามามีสวนรวมใน การประเมินการปฏิบัติงาน ตามมาตรฐานที่กําหนด •ขอความรวมมือ องคกรภาคเอกชนที่เภสัชกรการตลาดปฏิบัติงาน ใหเขาใจและตระหนักถึงบทบาทหนาที่
  • 17. แผนยุทธศาสตรที่ 6: สรางการยอมรับในวิชาชีพเภสัชกรการตลาด กับประชาชน •เผยแพรบทบาทของเภสัชกรการตลาด ตอประชาชน โดยการประชาสัมพันธเชิงรุก •เปนแหลงขอมูล และใหคําปรึกษา ทางยาแกประชาชน
  • 18. การประมาณความตองการกําลังคนใน 10 ปขางหนา สาขา จํานวนเภสัชกร (คน) ปจจุบัน ตองการ ป 2562 ชดเชยสูญเสีย สวนตาง เภสัชกรโรงพยาบาล 7,146 15,238 1,429 9,665 - รพศ./รพท. 1,902 7,184 - รพช. 2,594 5,249 - อื่นๆ 2,650 2,805 เภสัชกรชุมชน (รานยา) 3,000 8,006 600 8,606 เภสัชกรอุตสาหกรรม 1,700 2,835 * 1,135 เภสัชกรการตลาด 3,873 5,810 * 1,937 เภสัชรคุมครองผูบริโภค 1,013 2,365 120 1,472 - สสจ. 488 1,123 * 635 - อย. 360 848 77 565 - กรมวิทยาศาสตรการแพทย 165 394 43 272 เภสัชกรการศึกษา 954 1,192 155 393 รวม 25,845 53,049 2,424 24,680 สรุปเปรียบเทียบจํานวนกําลังคนที่มีในปจจุบันกับความตองการในอนาคต * ใชตัวเลขอัตราการเพิ่มซึ่งรวมการสูญเสียและทดแทนแลว
  • 19. บทบาทเภสัชกรการตลาดในอนาคต การมุงเนนบทบาทมีสวนรวมกับบุคลากรทางการแพทยเพื่อทําใหผูปวยไดรับยาที่ เหมาะสมและถูกตองแมนยํา การมีความรูในองครวม ความเขาใจในโรค ยาที่ใชในการรักษาโรคทั้งหมด การพัฒนาศักยภาพของเภสัชกรการตลาดใหเปนผูมีความรูและเชี่ยวชาญจริงๆ ใน ดานยาและระบบสาธารณสุขโดยรวม หากเภสัชกรการตลาดไมสามารถแสดงความรูและความเชี่ยวชาญได บริษัท ผูผลิต และจําหนายยา อาจเปลี่ยนแปลงโครงสรางองคกร และหาบุคลากรทางดานอื่น ๆ เขามา รับผิดชอบงานตามบทบาทและหนาที่ที่กลาวมา
  • 21. บทบาทเภสัชกรการตลาดในอนาคต การมุงเนนบทบาทมีสวนรวมกับบุคลากรทางการแพทย เพื่อทําใหผูปวยไดรับยาที่เหมาะสมและ ถูกตองแมนยํา เกิดความคุมคามากที่สุด รวมไปถึงการนําเสนอขอมูลคุณคาของยาเชิงเศรษฐศาสตร การมีความรูในองครวม ความเขาใจในโรค ยาที่ใชในการรักษาโรคทั้งหมด เพื่อใหผูปวยสามารถ ไดรับยาที่มีคุณคาสมกับราคาที่ตองจาย และมีบทบาทในการทําหนาที่ดูแลและควบคุมการกระจายยาให มีประสิทธิภาพ รวมไปถึงการติดตามเฝาระวังดานความปลอดภัยและอาการไมพึงประสงคของยาตอ ผูปวย การพัฒนาศักยภาพของเภสัชกรการตลาดใหเปนผูมีความรูและเชี่ยวชาญจริง ๆ ในดานยาและ ระบบสาธารณสุขโดยรวมจําเปนยิ่ง รูปแบบของงานที่จะเปลี่ยนจากการขาย หรือการสงมอบยาไปที่ สถานพยาบาลตาง ๆ มา เปนผูที่ใหขอมูลยา พรอมคําปรึกษาเพื่อที่จะมุงเนน ใหบุคลากรทางการแพทย ไดนํายานั้น ๆ ไปรักษาบรรเทาโรคไดอยางถูกตอง และมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล หากเภสัชกรการตลาดไมสามารถแสดงความรูและความเชี่ยวชาญได บริษัท ผูผลิตและจําหนายยา อาจเปลี่ยนแปลงโครงสรางองคกร และหาบุคลากรทางดานอื่น ๆ เขามารับผิดชอบงานตามบทบาทและ หนาที่ที่กลาวมา