SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
4C
Company
บริษัท เดอะบาร์บีคิวพลาซ่า จากัด ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2530 โดยคุณชูพงศ์ ชูพจน์เจริญ
มีแบรนด์ร้านอาหารภายใต้บริษัทนี้คือ แบรนด์บาร์บีคิวพลาซ่า
บาร์บีคิวพลาซ่า เป็นแบรนด์ร้านอาหารประเภทปิ้งย่าง เนื่องด้วยตอบรับเป็นอย่างดีจากลูกค้าจานวนมาก ทาให้มีการขยายสาขาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ปัจจุบันมีร้านบาร์บีคิวพลาซ่าในประเทศไทย จานวนทั้งสิ้น 102 สาขา ตั้งอยู่ ณ ศูนย์การค้าชั้นนา และห้างค้าปลีกขนาดใหญ่
ส่วนการลงทุนด้านธุรกิจอาหารของบาร์บีคิวพลาซ่าในต่างประเทศ มีการเปิดสาขาภายใต้แบรนด์บาร์บีคิวพลาซ่า ในลักษณะร่วมลงทุน
JointVenture กับนักธุรกิจในประเทศ
Timeline
ปี 2539 หลังจากเปิดมาได้ปีที่ 7 ก็ได้มีการออกแบบคาแร็คเตอร์บาร์บีกอน เป็นมาสค็อตหลักของแบรนด์ BBQ Plaza
ปี 2555 ฉลองครบรอบ 25 ปี ของบริษัท เดอะบาร์บีคิวพลาซ่า จากัด พร้อมฉลองเปิดสาขาครบ 91 แห่ง ทั่วประเทศ
ปี 2555 ปรับโฉมบาร์บีกอนให้ดูทันสมัยขึ้น
ปี 2556 เปิด BBQ Plaza สาขาแรกในกรุงจาการ์ต้า ประเทศอินโดนีเซีย โดยร่วมทุนกับบริษัท การยา มันนา
ปี 2556 เปลี่ยนโลโก้บาร์บีคิวพลาซ่าจากเดิมเป็นแบบใหม่
ปี 2557 ฉลองครอบรอบเปิดสาขาครบ 100 แห่ง
Consumer
Current Market
การตลาดปัจจุบันของ BBQ Plaza นั้นเป็นการตลาดแบบน่านน้าสีแดง ซึ่งมีการแข่งขันกันค่อนข้างสูง เนื่องจากธุรกิจ
ปิ้งย่างนั้นเป็นธุรกิจทาเงินที่ได้รับความนิยมจากผู้ประกอบการมากหน้าหลายตา อีกทั้งยังมีคู่แข่งที่เป็นแบรนด์ท้องถิ่น
ทั้งยังเลือกใช้วัตถุดิบที่มีคุณภาพ ซึ่งที่สังเกตได้อย่างชัดเจนเลยนั้นก็คือ แบรนด์ญี่ปุ่น ซึ่งมีความได้เปรียบทั้งทางด้าน
วัตถุดิบและคุณภาพ แต่ก็ยังมีจุดที่เสียเปรียบให้กับเราซึ่งก็คือกลุ่มเป้าหมายและราคา
Customer
BBQ Plaza นั้นมีกลุ่มลูกค้าที่หลากหลาย ซึ่งก็คือมีทุกเพศ ทุกวัย ทั้งกลุ่มครอบครัว กลุ่มวัยรุ่น หรือกระทั่ง
กลุ่มวัยทางาน ที่มีรายได้ตั้งแต่น้อยไปจนถึงปานกลาง
Market size
แบรนด์ BBQ Plaza นั้นเป็นที่นิยมในประเทศ เนื่องจากเป็นแบรนด์ที่มีสาขาทั่วประเทศ
อีกทั้งยังมีราคาที่ไม่แพงมาก และยังวัตถุดิบที่มีคุณภาพ ซึ่งธุรกิจประเภทนี้มีการแข่งขันกันค่อนข้างสูงเนื่องเป็นธุรกิจทาเงิน
ที่ได้รับความนิยม ส่งผลให้เกิดแบรนด์ใหม่ๆขึ้นมา ทั้งจากแบรนด์ในประเทศ หรือจากแบรนด์ต่างประเทศก็ตาม
Growing or Decilinning
BBQ Plaza มีแนวโน้มที่จะเจริญเติมโตขึ้นอย่างต่อเนื่องเพราะมีการขยายสาขาไปยังประเทศเพื่อนบ้าน อย่างอินโดนีเซียและมาเลเซีย
ซึ่งทาให้ในอนาคตแบรนด์บาร์บีคิวพลาซ่าเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายมากขึ้นและยังส่งผลให้มีการแข่งขัน
ที่รุนแรงกับแบรนด์ท้องถิ่นมากขึ้นอีกด้วย
New Market
มีการขยายขอบเขตของธุรกิจจากเพียงแค่ภายในประเทศไทย ไปสู่ตลาดของประเทศเพื่อนบ้านรอบข้าง เช่น
ลาว กัมพูชา สิงคโปร เวียดนาม เป็นต้น มีแนวโน้มที่จะขยายไปสู่ระดับโลกในอนาคต ซึ่งจะทาให้มี
การแข่งขันที่สูงขึ้นอย่างมากมายตามมาเช่นเดียวกัน
Competitor
Power of buyers
เนื่องจากธุรกิจร้านอาหารสไตล์ปิ้งย่างมีเป็นจานวนมาก ทั้งยังมีมากมายหลายราคาที่ผกผันตามคุณภาพของวัตถุดิบและปัจจัยอื่นๆ
ทาให้ลูกค้ามีตัวเลือกในการตัดสินค่อนข้างมาก ส่งผลให้อานาจการต่อรองของผู้บริโภคมีมากกว่าผู้ค้า
Substitute products
นอกเหนือจากการแข่งขันกันเองในธุรกิจปิ้งย่างแล้ว ยังมีคู่แข่งอื่นๆที่เรียกได้ว่าเป็นสินค้าทดแทน
เช่น MK ที่ทาธุรกิจสุกี้จิ้มจุ่มที่เน้นการขายอาหารเพื่อสุขภาพ หรือ Fuji ร้านอาหารที่มาในสไตล์ญี่ปุ่น
Competitive rivalry
ในธุรกิจปิ้งย่าง BBQ Plaza มีกาลังเติบโตและขยายสาขาไปยังที่ต่างๆ และยังมีแบรนด์ใหม่ธุรกิจประเภทนี้
เกิดใหม่มาเรื่อยๆ ทาให้มีการแข่งขันที่ดุเดือด ส่งผลให้บาร์บีคิวพลาซ่าต้องคิดค้นกลยุทธ์ต่างๆ ขึ้นมาเพื่อรับมือ
กับคู่แข่งอยู่เรื่อยๆ และยังมีการออกแบบมาสคอต”บาบีก้อน”ทาให้ผู้บริโภคเกิดความเชื่อมโยง
และผูกพันธ์กับแบรนด์ BBQ Plaza มากขึ้น
New competitors
เนื่องจากธุรกิจปิ้งย่างกาลังเป็นที่นิยมของตลาด ทาให้นักลงทุนมีความสนใจในการลงทุนกับธุรกิจประเภทนี้
ส่งผลให้เกิดแบรนด์ปิ้งย่างใหม่ๆ เกิดขึ้นเป็นจานวนมาก
วิธีการป้องกันคือ BBQ Plaza ต้องพัฒนาและรักษาทั้งคุณภาพของวัตถุดิบและการบริการ รวมทั้ง
ภาพลักษณ์ของแบรนด์ให้ดูดี
Current competitors
เนื่องจากธุรกิจปิ้งย่างมีหลายแบรนด์ในปัจจุบันอาทิเช่นร้าน GAON Korean BBQ Restaurant /
Grills House Yakiniku&Seafood เป็นต้น อีกทั้งสถานที่ตั้งร้านของ BBQ Plaza
ซึ่งมักจะตั้งอยู่ตามห้างสรรพสินค้าต่างๆ ในขณะเดียวกัน แบรนด์ปิ้งย่างอื่นๆ ก็มักจะถูกวางร้าน
ให้อยู่บริเวณระแวกเดียวกัน
อย่างไรก็ตามก็ไม่ควรที่จะตัดแบรนด์อื่นๆที่อยู่นอกกลุ่มเป้าหมาย เพราะว่าร้านพวกนี้อาจจะ
คิดกลยุทธ์ใหม่ๆ เพื่อแข่งขัน ดังนั้น BBQ Plaza จึงควรพัฒนาสินค้าและบริการของร้านอย่าง
ต่อเนื่องเพื่อป้องกันไม่ให้เสียเปรียบเรื่องฐานลูกค้านี้ถูกแย่งชิงไปโดยคู่แข่งขัน
Power suppliers or vendors
เนื่องจากโดยพื้นฐานแล้ว ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีผู้ผลิตในด้านเกษตรกรรมและปศุสัตย์เป็น
จานวนมาก ทาให้มีผู้ส่งออกวัตถุดิบเยอะขึ้นตาม ส่งผลให้แบรนด์BBQ Plaza มีอานาจใน
การเลือกซื้อที่สูง
Context
Political
ปัจจัยเกี่ยวกับการเมือง และนโยบายต่าง ๆ ของประเทศซึ่งจะมีผลกับการดาเนินธุรกิจ เช่น Thailand4.0
ที่เอื้ออานวยกับธุรกิจอาหารของเรา ในส่วนของระดับโลกความสัมพันธ์ของประเทศไทยกับประเทศต่าง ๆนั้น
กระทรวงวัฒนธรรมก็ได้
มีประกาศนโยบายในการพัฒนาประเทศ บุคลากร สังคม รายได้ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ซึ่งส่งผลดีต่อการ
ดาเนินธุรกิจของเราในระดับโลกอย่างยิ่ง
Economic
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ เช่นรายได้ของคนในประเทศ การเติบโตของเศรษฐกิจ ต้นทุนต่างๆ
เช่น ค่าแรง ราคาวัตถุดิบ หรือหากเกิดวิกฤตที่กระทบต่อเศรษฐกิจของคนในชาติก็อาจจะ
ส่งผลให้ผู้บริโภคเกิดความลังเลที่จะบริโภคอาหารราคาแพง และส่งผลให้ราคาต้นทุน
วัตถุดิบสูงขึ้น
Environment
เกี่ยวกับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม เช่นสภาพภูมิอากาศที่เหมาะสมกับการผลิตวัตถุดิบ
หรือปัญหาภัยแล้งที่จะมีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม
Legal
ปัจจัยเกี่ยวกับกฎหมายต่างๆที่ส่งผลต่อธุรกิจทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น กฎหมายค่าแรง กฎหมายแรงงาน กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
อาทิ อย.กฎหมายฉลากแบบจีนหรือกฎหมายควบคุมคุณภาพวัตถุดิบซึ่งอาจส่งผลต่อค่าใช้จ่ายมากขึ้น
Technology
ปัจจัยภายนอกเกี่ยวกับเทคโนโลยีของประเทศไทยเรา เช่น การใช้เทคโนโลยีที่พัฒนาเพื่อ
ความสะดวกสบายของลูกค้า ได้แก่ การสร้างแอพพลิเคชั่น BBQ Plaza
ซึ่งนอกจากลูกค้าจะได้รับข่าวสาร โปรโมชั่น และกิจกรรมต่าง ๆของทางร้านก่อนใครแล้ว ภายในแอพฯ
มีระบบสมาชิกสะสมแต้ม เพื่อนาไปแลกส่วนลดและสิทธิพิเศษต่าง ๆ มีระบบสิทธิพิเศษที่น่าสนใจ
อย่างเช่นปาร์ตี้วันเกิด (Happy Birthday Party) หรือ การบริการฉลองวันเกิดแบบจัดเต็ม และยัง
มีระบบที่น่าสนใจอย่างการระบุพิกัดร้านอีกด้วย
Social
เกี่ยวกับด้านสังคมวัฒนธรรม (Lifestyle) เช่น คนสมัยนี้มีแนวโน้มรักสุขภาพมากขึ้น
ร้าน BBQ Plaza จึงมีตัวเลือกที่ตอบโจทย์ด้านสุขภาพไม่ว่าจะผักและของที่มีประโยชน์อื่นๆ
ในส่วนของประเภทของ 16 Consumer Trends
คือ Better business ร้าน BBQ Plaza ให้ความสาคัญกับการพัฒนาศักยภาพของบุคคาลกร
โดยสร้างศูนย์ฝึกอบรมบาร์บีคิวพลาซ่าเพื่อใช้เป็นสถานที่สาหรับฝึกอบรมพนักงานทุกระดับ
พร้อมห้องครัวและร้านอาหารจาลองเพื่อให้พนักงานทุกคน
ได้ฝึกทางานจริงก่อนเริ่มปฎิบัติงานยังสาขา นอกจากนี้ยังสร้างห้องพักพนักงานเพิ่มเติม
Brand Plan
Purpose : Happy place
Vision : Happiness is our currency
Mission : - จัดตั้งศูนย์ฝึกอบรมพนักงาน เพื่อให้พนักงานสามารถดูแลลูกค้าและทางานอย่างมีความสุข
- สร้างบรรยากาศในร้านให้เต็มไปด้วยความสุข ไม่ว่าจะด้วยการตกแต่งร้าน เพลง
หรือแม้กระทั่ง พนักงานทุกคนที่มี ความสุขในการบริการ
- บริการด้วยวัตถุดิบที่ผ่านการตรวจสอบและคัดสรรคมาอย่างดี
Values : กินอยู่ดี ชีวิตดี มีความสุข
Positioning : .เราเป็นมากกว่าแค่มื้ออาหาร
Archetype : Caregiver
Jester
Everyman
Brand Communication Plan
Global Brand Communication
Think Global, Act Local มีการปรับเปลี่ยนวัตถุดิบ เมนูอาหาร การตกแต่งร้านตามพื้นที่ท้องถิ่น แต่ใช้การวาง
แผนบริหารจัดการเหมือนกันทุกสาขาทั่วโลก
เราเลือกทาการสื่อสารผ่านช่องทาง Twitter เพราะเป็นSNSที่ชาวญี่ปุ่นใช้งานกัน
มากที่สุด โดยสิ่งที่เราจะทาในการสื่อสารในประเทศญี่ปุ่นคือการนาแบรนด์ BBQ Plaza
ไปร่วมมือกับอนิเมชั่นชื่อดังของญี่ปุ่น อย่างเรื่อง ยอดนักปรุงโซมะ ซึ่งเป็นอนิเมชั่น
เกี่ยวกับการทาอาหารชื่อดังและยังมีการพูดเกี่ยวกับมิตรภาพเพื่อนฝูง ที่สอดคล้อง
กับแบรนด์ BBQ Plaza ของเราที่เป็นพื้นที่แห่งความสุขโดยจะใช้ตัวละครมาวาดให้แต่ง
ชุดของพนักงานบาร์บีคิว พลาซ่า และยังมีของที่ระลึกอย่างกล่องข้าว
แก้วน้า บัตรสมาชิก ลายยอดนักปรุงโซมะ x BBQ Plaza ซึ่งจะทาเป็นปริ้นAD
โพสสื่อสารผ่านทางลงTwitter
นอกจากนี้แล้วยังมีการสื่อสารในลักษณะเดียวกันผ่านช่องท่าง official
บนFacebook และใน IG
X
Paid
โคกับการ์ตูน ทีวี บิลบอร์ด รถประจาทาง รถบรรทุก
Own
เพจเฟสบุ็ค เพจทวิตเตอร์ หน้าร้าน เว็บไซต์ แอพพลิเคชั่น
Earn
การเช็คอินร้าน ลูกค้าแชร์เพจ รีวิว ยูทูปเบอร์...
Pain Point
ด้วยความที่BBQ Plaza เป็นแบรนด์ปิ้งย่าง ดังนั้นด้วยกระแสสุขภาพในปัจจุบันอาจจะส่งผลให้ความนิยมใน
การกินปิ้งย่างน้อยลง
CSR
ตั้งกองทุนช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางธรรมชาติ รวมทั้งนาตะเกียบที่ใช้แล้วในร้านเอาไปบดและอัดใหม่เป็นเก้าอี้หรือโต๊ะ
และบริจากไปยังโรงเรียนหรือพื้นที่สาธารณะ
ประวัติ
4C Analysis Model
Company
บริษัท เดอะบาร์บีคิวพลาซ่า จากัด ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2530 โดยคุณชูพงศ์ ชูพจน์เจริญ เป็นบริษัทที่ดาเนินธุรกิจร้านอาหารทั้งในประเทศ
และต่างประเทศ มีแบรนด์ร้านอาหารที่อยู่ภายใต้การบริหารงานของบริษัทฯ จานวน 3 แบรนด์ ได้แก่ บาร์บีคิวพลาซ่า จุ่มแซ่บฮัท
และ ฮ็อท สตาร์ นาเสนอรูปแบบอาหารในสไตล์ที่แตกต่างกันออกไป คลอบคลุมความต้องการของลูกค้าที่หลากหลาย
บาร์บีคิวพลาซ่า เป็นแบรนด์ร้านอาหารประเภทปิ้งย่างบนกระทะทองเหลือง เปิดให้บริการสาขาแรกที่ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว
ในเดือนกรกฎาคม ปี 2530 ลักษณะอาหารเป็นรูปแบบปิ้งย่างซึ่งภายหลังจากการเปิดสาขาแรก ร้านบาร์บีคิวพลาซ่าได้รับความนิยม
และการตอบรับเป็นอย่างดีจากลูกค้าจานวนมาก ทาให้บริษัทฯ ได้ขยายสาขาเพิ่มขึ้นทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัดอย่างต่อเนื่อง
ปัจจุบันมีร้านบาร์บีคิวพลาซ่าในประเทศไทย จานวนทั้งสิ้น 102 สาขา ตั้งอยู่ ณ ศูนย์การค้าชั้นนา และห้างค้าปลีกขนาดใหญ่
ทั้งในกรุงเทพฯและตามหัวเมืองหลักของจังหวัดต่าง ๆ
สาหรับการลงทุนด้านธุรกิจอาหารของบาร์บีคิวพลาซ่าในต่างประเทศ บริษัทฯ มีการเปิดจาหน่ายอาหารภายใต้แบรนด์บาร์บีคิวพลาซ่า
โดยเป็นการร่วมทุนในลักษณะ Joint Venture กับนักธุรกิจในประเทศ สาหรับประเทศมาเลเซีย มีร้านบาร์บีคิวพลาซ่าเปิดให้
บริการตามศูนย์การค้าหลักๆ จานวนทั้งสิ้น 17 สาขา ในประเทศอินโดนีเซีย มีร้านอาหารบาร์บีคิวพลาซ่าเปิดให้บริการจานวน 2 สาขา
และเพื่อให้การดาเนินงานด้านคุณภาพมาตรฐานอาหารของร้านบาร์บีคิวพลาซ่าทุกสาขาเป็นหนึ่งเดียวกัน
บาร์บีคิวพลาซ่าได้ก่อตั้งศูนย์กลางกระจายสินค้า (ครัวกลาง) บนพื้นที่ขนาด 5,000 ตารางเมตร ณ นิคมอุตสาหกรรมนวนคร อ.คลองหลวง
จ.ปทุมธานี ในปี 2551 เพื่อเป็นศูนย์กลางในการกระจายสินค้าทั้งของสด เนื้อสัตว์ ผัก และวัตถุดิบต่างๆ ไปยังร้านอาหารบาร์บีคิวพลาซ่า
สาขาต่างๆ ทั่วประเทศ
ปัจจุบันบริษัทฯ มีพนักงานทั้งในส่วนสานักงานและร้านอาหารมากกว่า 3,000 คน ที่ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการผลักดันให้องค์กร
เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง บริษัทฯ จึงให้ความสาคัญกับการพัฒนาศักยภาพของบุคคาลกร โดยสร้างศูนย์ฝึกอบรมบาร์บีคิวพลาซ่า
เป็นตึกขนาด 4 ชั้น บนพื้นที่ขนาด 4,000 ตารางเมตร บนถนนรัชดาภิเษก จ.กรุงเทพ เพื่อใช้เป็นสถานที่สาหรับฝึกอบรมพนักงานทุกระดับ
ตั้งแต่พนักงานประจาสานักงานและพนักงานประจาสาขา พร้อมห้องครัวและร้านอาหารจาลองเพื่อให้พนักงานทุกคนได้ฝึกทางานจริง
ก่อนเริ่มปฎิบัติงานยังสาขา นอกจากนี้ยังสร้างห้องพักพนักงานเพิ่มเติม เพื่อให้พนักงานสาขาประจาต่างจังหวัดได้มีที่พักค้าง
ระหว่างการฝึกอบรมอีกด้วย
นอกเหนือจากความสาคัญด้านการพัฒนาบุคคลากรของบริษัทฯ แล้ว ในฐานะที่บริษัทฯ เป็นบริษัทฯ ของคนไทย ตั้งอยู่ในประเทศไทย
บริหารงานโดยคนไทย จึงเล็งเห็นความสาคัญของการมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมควบคู่ไปกับการดาเนินงานทางธุรกิจ ดังนั้น บริษัทฯ
จึงกาหนดหนึ่งในพันธกิจสาคัญของบริษัทฯ ด้วยการส่งเสริมให้พนักงานทุกคนมีส่วนร่วมกับบริษัทฯ ในการพัฒนาและให้ความช่วยเหลือสังคม
ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การให้ความช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสในสังคม การส่งเสริมศิลปะวัฒนธรรมที่ดีงามของชาติ การส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อม
และการให้ความช่วยเหลือเมื่อประเทศประสบภัยทางธรรมชาติ เป็นต้น
Timeline
ปี 2539 หลังจากเปิดมาได้ปีที่ 7 ก็ได้มีบาร์บีกอน เจ้ามังกรตัวเขียวตัวแทนสัญลักษณ์แบรนด์มาเป็น 1 ในครอบครัวบาร์บีคิวพลาซ่า
ปี 2548 เปิดสาขาครบ 50 สาขา
เปิดสาขาแรกที่ประเทศมาเลเซีย ที่ 1 Utama เมือง Kuala Lumpur โดยร่วมทุนกับบริษัท ดับเบิ้ลเอ ฟู้ด โฮลดิ้ง จากัด (W.A.Food Holdings
SDN. BHD.) เพื่อเปิดร้านบาร์บีคิวพลาซ่า ในประเทศมาเลเซีย
ปี 2551 ศูนย์กลางกระจายสินค้า (ครัวกลาง) ณ นิคมอุตสาหกรรมนวนคร อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี มีพื้นที่ขนาด 5,000 ตารางเมตร เพื่อเป็นศูนย์กลางในการ
กระจายวัตถุดิบไปยังร้านอาหารสาขาต่างๆทั่วประเทศ ด้วยกระบวนการและขั้นตอนการขนส่งที่ได้มาตรฐานระดับสากล
ปี 2554 เปลี่ยนโลโก้แบรนด์จุ่มแซ่บฮัทจากเดิมเป็นแบบใหม่
ปี 2555 ก่อสร้างศูนย์ฝึกอบรมบาร์บีคิวพลาซ่า บนถนนรัชดาภิเษก จ.กรุงเทพ
ฉลองครบรอบ 25 ปี ของบริษัท เดอะบาร์บีคิวพลาซ่า จากัด พร้อมฉลองเปิดสาขาครบ 91 แห่ง ทั่วประเทศ
ปี 2555 ปรับโฉมบาร์บีกอนให้ดูทันสมัยขึ้น
ปี 2556 เปิดศูนย์กลางกระจายสินค้า (ครัวกลาง) ในประเทศมาเลเซีย ขนาดพื้นที่ 1,000 ตารางเมตร เพื่อเป็นศูนย์กลางในการกระจายวัตถุดิบไปยังร้านอาหาร
สาขา สามารถรองรับฐานการผลิตได้ถึง 20 สาขา
เปิดบาร์บีคิวพลาซ่าสาขาแรกในกรุงจาการ์ต้า ที่ Puri Indra Mall ประเทศอินโดนีเซีย โดยร่วมทุนกับบริษัท การยา มันนา จากัด (PT. KARYA
MANNA)
ปี 2556 เปลี่ยนโลโก้บาร์บีคิวพลาซ่าจากเดิมเป็นแบบใหม่
ปี 2557 ฉลองครอบรอบเปิดสาขาครบ 100 แห่ง
ปี 2557 แถลงข่าวเปิดตัวแบรนด์ใหม่ ฮ็อทสตาร์ นาเข้ามาจากประเทศไต้หวัน
ปี 2558 เปิดร้านฮ็อทสตาร์ร้านแรกในประเทศไทยที่ศูนย์การค้า ดิ เอ็มควอเทียร์ (The EmQuartier) สุขุมวิท ซอย 35 ชั้น B พร้อมแนะนาสองเมนูไฮไลท์
ไก่ทอดชิ้นใหญ่ไซส์ XXL ขนาดใหญ่เท่าหน้า และฮ็อทสตาร์ เลมอนเนด น้ามะนาวสีฟ้า
Consumer
Current Market
การตลาดปัจจุบันของบาร์บีคิวพลาซ่านั้นเป็นการตลาดแบบน่านน้าสีแดง ซึ่งมีการแข่งขันกันค่อนข้างสูง เนื่องจากธุรกิจ
ปิ้งย่างนั้นเป็นธุรกิจทาเงินที่ได้รับความนิยมจากผู้ประกอบการมากหน้าหลายตา อีกทั้งยังมีคู่แข่งที่เป็นแบรนด์ท้องถิ่น
ทั้งยังเลือกใช้วัตถุดิบที่มีคุณภาพ ซึ่งที่สังเกตได้อย่างชัดเจนเลยนั้นก็คือ แบรนด์ญี่ปุ่น ซึ่งมีความได้เปรียบทั้งทางด้าน
วัตถุดิบและคุณภาพ แต่ก็ยังมีจุดที่เสียเปรียบให้กับเราซึ่งก็คือกลุ่มเป้าหมายและราคา
Customer
บาร์บีคิวพลาซ่านั้นมีกลุ่มลูกค้าที่กว้างขวาง ซึ่งก็คือมีทุกเพศ ทุกวัย ทั้งกลุ่มครอบครัว กลุ่มวัยรุ่น หรือกระทั่งกลุ่มวัยทางาน ที่มีรายได้
ตั้งแต่เล็กน้อยไปจนถึงปานกลาง ซึ่งค่อนข้างต่างจากแบรนด์อื่นที่เน้นเฉพาะกลุ่มลูกค้าวัยทางานที่มีรายได้ค่อนข้างสูง ทาให้
บาร์บีคิวพลาซ่านั้นค่อนข้างมีกลุ่มลูกค้าที่ครอบคลุม
Market size
แบรนด์บาร์บีคิวพลาซ่านั้นเป็นแบรนด์ที่ค่อนข้างเป็นที่นิยมในประเทศ เนื่องจากเป็นแบรนด์ที่มีสาขาเยอะ ครอบคลุมไปทั่วประเทศ
อีกทั้งยังมีราคาที่ไม่แพงมาก สามารถจับต้องได้ และยังวัตถุดิบที่มีคุณภาพ ทาให้มีผู้คนมากมายตัดสินใจเลือกที่จะบริโภคบาร์บีคิวพลาซ่า
ซึ่งธุรกิจอาหารประเภทนี้มีการแข่งขันกันค่อนข้างสูงเนื่องเป็นธุรกิจทาเงินที่ค่อนข้างได้รับความนิยม ส่งผมให้เกิดแบรนด์ใหม่ๆขึ้นมา
เรื่อยๆ ทั้งจากแบรนด์คนไทยเอง หรือจากแบรนด์ต่างประเทศที่ต้องการที่จะมาตีตลาดบ้านเรา
Growing or Decilinning
บาร์บีคิวพลาซ่า นั้นมีแนวโน้มที่จะเจริญเติมโตขึ้นอย่างต่อเนื่องเพราะเริ่มมีการขยายสาขาไปยังประเทศเพื่อนบ้าน
อย่างอินโดนีเซียและมาเลเซีย ซึ่งจะส่งผลให้ในอนาคตแบรนด์บาร์บีคิวพลาซ่า
จะเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายมากขึ้นและยังส่งผลให้มีการแข่งขัน
ที่รุนแรงกับแบรนด์ท้องถิ่นมากขึ้นอีกด้วย
New Market
มีการขยายขอบเขตของธุรกิจจากเพียงแค่ภายในประเทศไทย ไปสู่ตลาดของประเทศเพื่อนบ้านรอบข้าง เช่น ลาว กัมพูชา สิงคโปร
เวียดนาม เป็นต้น มีแนวโน้มที่จะขยายไปสู่ระดับโลกในอนาคต ซึ่งจะทาให้มีการแข่งขันที่สูงขึ้นอย่างมากมายตามมา
เช่นเดียวกัน
Competitor
1. Power of buyers
เนื่องจากธุรกิจร้านอาหารสไตล์ปิ้งย่างมีเป็นจานวนมาก ทั้งยังมีมากมายหลายราคาที่ผกผันตามคุณภาพของวัตถุดิบและปัจจัยอื่นๆ
ทาให้ลูกค้ามีตัวเลือกในการตัดสินค่อนข้างมาก ส่งผลให้อานาจการต่อรองของผู้บริโภคมีมากกว่าผู้ค้า
2. Substitute products
นอกเหนือจากการแข่งขันกันเองในธุรกิจปิ้งย่างแล้ว ยังมีคู่แข่งอื่นๆที่เรียกได้ว่าเป็นสินค้าทดแทน
เช่น MK ที่ทาธุรกิจสุกี้จิ้มจุ่มที่เน้นการขายอาหารเพื่อสุขภาพ หรือ Fuji ร้านอาหารที่มาในสไตล์ญี่ปุ่น
3. Competitive rivalry
ในธุรกิจปิ้งย่าง BBQ Plaza มีกาลังเติบโตและขยายสาขาไปยังที่ต่างๆ และยังมีแบรนด์ใหม่ธุรกิจประเภทนี้เกิดใหม่
มาเรื่อยๆ ทาให้มีการแข่งขันกันค่อนข้างดุเดือด ส่งผลให้บาร์บีคิวพลาซ่าต้องคิดค้นกลยุทธ์ต่างๆ ขึ้นมาเพื่อรับมือกับคู่แข่ง
อยู่เรื่อยๆ และยังมีการออกแบบมาสคอต”บาบีก้อน”ทาให้ผู้บริโภคเกิดความเชื่อมโยง
และผูกพันธ์กับแบรนด์ BBQ Plaza มากขึ้น
4. New competitors
เนื่องจากธุรกิจปิ้งย่างกาลังเป็นที่นิยมของตลาด ทาให้นักลงทุนมีความสนใจในการลงทุนกับธุรกิจประเภทนี้ส่งผลให้เกิดแบรนด์ปิ้งย่างใหม่ๆ
เกิดขึ้นเป็นจานวนมาก
วิธีการป้องกันคือคือการที่ BBQ Plaza ต้องพัฒนาและรักษาทั้งคุณภาพของวัตถุดิบและการบริการ รวมทั้ง ภาพลักษณ์ของแบรนด์ให้ดูดี
5. Current competitors
เนื่องจากธุรกิจปิ้งย่างมีหลายแบรนด์ในปัจจุบันอาทิเช่นร้าน GAON Korean BBQ Restaurant /
Grills House Yakiniku&Seafood เป็นต้น อีกทั้งสถานที่ตั้งร้านของ BBQ Plaza ซึ่งมักจะตั้งอยู่ตามห้างสรรพสินค้าต่างๆ
ในขณะเดียวกันนั่นเอง แบรนด์ปิ้งย่างอื่นๆ ก็มักจะถูกวางร้านให้อยู่บริเวณระแวกเดียวกันเช่นกัน
อย่างไรก็ตามก็ไม่ควรที่จะตัดแบรนด์อื่นๆที่อยู่นอกกลุ่มเป้าหมาย เพราะว่าร้านพวกนี้อาจจะคิดกลยุทธ์ใหม่ๆ
ในการขายสินค้าเพื่อแข่งขันกับกลุ่มที่อยู่รวมกัน ดังนั้นBBQ Plaza จึงควรพัฒนาสินค้าและบริการของร้านอย่างต่อเนื่องเพื่อ
ป้องกันมิให้ข้อได้เปรียบเรื่องฐานลูกค้านี้ถูกแย่งชิงไปโดยคู่แข่งขัน
6. Power suppliers or vendors
เนื่องจากโดยพื้นฐานแล้ว ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีผู้ผลิตในด้านเกษตรกรรมและปศุสัตย์เป็นจานวนมาก
ทาให้มีผู้ส่งออกวัตถุดิบเยอะขึ้นตาม ส่งผลให้แบรนด์BBQ Plaza มีอานาจในการเลือกซื้อที่สูง
Context
Political :: ปัจจัยเกี่ยวกับการเมือง และนโยบายต่าง ๆ ของประเทศซึ่งจะมีผลกับการดาเนินธุรกิจ เช่น Thailand4.0
ที่เอื้ออานวยกับธุรกิจอาหารของเรา ในส่วนของระดับโลกความสัมพันธ์ของประเทศไทยกับประเทศต่าง ๆนั้น กระทรวงวัฒนธรรมก็ได้
มีประกาศนโยบายในการพัฒนาประเทศ บุคลากร สังคม รายได้ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เพื่อภาพลักษณ์ที่ดีและ
เกียรติภูมิไทยในเวทีโลก ซึ่งส่งผลดีต่อการดาเนินธุรกิจของเราในระดับโลกอย่างยิ่ง
Economic ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ เช่นรายได้ของคนในประเทศ การเติบโตของเศรษฐกิจ ต้นทุนต่างๆ เช่น ค่าแรง ราคาวัตถุดิบ
หรือหากเกิดวิกฤตที่กระทบต่อเศรษฐกิจของคนในชาติก็อาจจะส่งผลให้ผู้บริโภคเกิดความลังเลที่จะบริโภคอาหารราคาแพง
อีกทั้งจะส่งผลให้ราคาต้นทุนวัตถุดิบสูงขึ้น
Environment เกี่ยวกับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม เช่นสภาพภูมิอากาศที่เหมาะสมกับการผลิตวัตถุดิบ
หรือปัญหาภัยแล้งที่จะมีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม
Legal ปัจจัยเกี่ยวกับกฎหมายต่างๆที่ส่งผลต่อธุรกิจทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น กฎหมายค่าแรง กฎหมายแรงงาน
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค อาทิ อย.กฎหมายฉลากแบบจีนหรือกฎหมายควบคุมคุณภาพวัตถุดิบซึ่งอาจส่งผลต่อค่าใช้จ่ายมากขึ้น
Technology :: ปัจจัยภายนอกเกี่ยวกับเทคโนโลยีของประเทศไทยเรา เช่น การใช้เทคโนโลยีที่พัฒนาไปอีกขึ้นเพื่อ
ความสะดวกสบายของลูกค้า ได้แก่ การสร้างแอพพลิเคชั่น บาร์บีคิวพลาซ่า ซึ่งนอกจากลูกค้าจะได้รับข่าวสาร โปรโมชั่น
และกิจกรรมต่าง ๆของทางร้านก่อนใครแล้ว ภายในแอพฯ มีระบบสมาชิกสะสมแต้ม เพื่อนาไปแลกส่วนลดและสิทธิพิเศษต่าง ๆ
มีระบบสิทธิพิเศษที่น่าสนใจ อย่างเช่นปาร์ตี้วันเกิด (Happy Birthday Party) หรือ การบริการฉลองวันเกิดแบบจัดเต็ม
และยังมีระบบที่น่าสนใจอย่างการระบุพิกัดร้านอีกด้วย
Social :: เกี่ยวกับด้านสังคมวัฒนธรรม (Lifestyle) เช่น คนสมัยนี้มีแนวโน้มรักสุขภาพมากขึ้น ที่ร้านบาร์บีคิวพลาซ่า
จึงมีตัวเลือกมากมายไม่ว่าจะเน้นไปที่ผักและของที่มีประโยชน์ และ ในส่วนของประเภทของ 16 Consumer Trends
คือBetter business ร้านบาร์บีคิวพลาซ่าให้ความสาคัญกับการพัฒนาศักยภาพของบุคคาลกร
โดยสร้างศูนย์ฝึกอบรมบาร์บีคิวพลาซ่าเพื่อใช้เป็นสถานที่สาหรับฝึกอบรมพนักงานทุกระดับ
ตั้งแต่พนักงานประจาสานักงานและพนักงานประจาสาขา พร้อมห้องครัวและร้านอาหารจาลองเพื่อให้พนักงานทุกคน
ได้ฝึกทางานจริงก่อนเริ่มปฎิบัติงานยังสาขา นอกจากนี้ยังสร้างห้องพักพนักงานเพิ่มเติม
เพื่อให้พนักงานสาขาประจาต่างจังหวัดได้มีที่พักค้างระหว่างการฝึกอบรมอีกด้วย
Global Brand Strategy
กลยุทธ์ข้ามชาติ (Multidomestic Strategy)
ทางเราจะทาการให้อานาจการตัดสินใจให้กับตัวแทนต่างประเทศเป็นผู้ดูแลโดยตรง แต่คงเอกลักษณ์ความเป็นบาร์บีคิวพลาซ่าอย่าง
การฝึกพนักงานและคุณภาพเอาไว้ ซึ่งจะมีการใช้วัตถุดิบและปรับปรุงสูตรบางอย่างเพื่อให้เข้ากับวัฒนธรรมการกินของคนญี่ปุ่นมากขึ้น
Gobal Brand Communication
Think Global, Act Local มีการปรับเปลี่ยนวัตถุดิบ เมนูอาหาร การตกแต่งร้านตามพื้นที่ท้องถิ่น แต่ใช้การวางแผนบริหาร
จัดการเหมือนกันทุกสาขาทั่วโลก
Purpose : Happy place
Vision : Happiness is our currency
Mission : - จัดตั้งศูนย์ฝึกอบรมพนักงาน เพื่อให้พนักงานสามารถดูแลลูกค้าและทางานอย่างมีความสุข
-สร้างบรรยากาศในร้านให้เต็มไปด้วยความสุข ไม่ว่าจะด้วยการตกแต่งร้าน เพลง หรือแม้กระทั่งพนักงานทุกคนที่มี
ความสุขในการบริการ
-บริการด้วยวัตถุดิบที่ผ่านการตรวจสอบและคัดสรรคมาอย่างดี
Values : กินอยู่ดี ชีวิตดี มีความสุข
Positioning : เราเป็นมากกว่าแค่มื้ออาหาร
Archetype : Caregiver
Jester
Everyman
Business Model Canvas : BAR B Q PLAZA
Key Partner
-เจ้าของพื้นที่
-ผู้จัดจาหน่ายวัตถุดิบ
-ผู้จัดจาหน้าอุปกรณ์
เฉพาะของแบรนด์
-เจ้าของเฟรนไชส์
Key Activities
-ร้านอาหารปิ้ง-ย่าง
-ศูนย์ฝึกอบรมพนักงาน
-การดูแล บริการลูกค้า
-การจัดหาวัตถุดิบ
Key Resources
-พนักงานที่มีความสุขในการ
บริการลูกค้า
-ศูนย์กลางกระจายสินค้า
-สื่อเน็ตเวิร์ค
-Call center
Value Proposition
-เราวางตัวว่าเราเป็นพื้นที่แห่งความสุข
ไม่ใช่แค่มื้ออาหาร
-เรามีศูนย์ฝึกอบรมพนักงานก่อนที่จะมา
บริการ เพื่อที่พนักงานของเราจะสามารถ
จะสามารถบริการลูกค้าได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
-เรามีศูนย์กลางกระจายสินค้าเพื่อให้
คุณภาพวัตถุดิบเป็นไปในมาตรฐานเดียว
กัน
Customer
Relationship
-บริการเป็นกันเอง
-มีโปรโมชั่นพิเศษ
-เกมและกิจกรรม
-บัตรสมาชิก
-AI บาร์บีก้อน
Channel
-สาขาที่มากมาย
-Call center
-โฆษณาและ
การประชาสัมพันธ์
-เว็บไซต์และโซเชี่ยล
Customer
Segment
-ครอบครัว
-กลุ่มวัยรุ่น
-กลุ่มวัยทางาน
-คู่รัก
Cost Structure
-วัตถุดิบ -ค่าการทาการตลาด
-ค่าเช่าพื้นที่ -ค่าขนส่ง
-ค่าจ้างพนักงาน
Revenue Streams
-บัตรสมาชิก -ของสะสม
-อาหาร
-เฟรนไชส์
Omnichannel
การประชาสัมพันธ์ของแบรนด์ บาร์บีคิว พลาซ่านั้นมีด้วยกันหลากหลายช่องทาง เพื่อเข้าถึงกลุ่มลูกค้าให้ได้อย่างทั่วถึงที่สุด
โดยมีการให้ข้อมูลลูกค้า ทั้งจากหน้าเว็ปไซต์โดยลูกค้าสามารถที่จะค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับโปรโมชั่น ประวัติความเป็นมา รวมถึง
การประชาสัมพันธ์ต่างๆของทางองค์กรได้ด้วยตัวของลูกค้าเอง หรือการให้ข้อมูลจากทางเพจของบาร์บีคิวพลาซ่าผ่านทางเฟสบุ๊ค
โดยให้แอดมินขององค์กรเป็นผู้ประชาสัมพันธ์ข่าวสารไปให้ลูกค้าเพื่อให้ทราบข้อมูลโดยตรง หรือการติดประกาศไว้หน้าร้านค้า
ของบาร์บีคิวพลาซ่า เพื่อช่วยลูกค้าในการตัดสินใจที่จะใช้บริการอีกด้วย อีกทั้งยังมีแอพลิเคชั่นที่ช่วยให้ลูกค้าสามรถจองคิวไว้ล่วงหน้า
ได้ด้วย ซึ่งการที่ลูกค้าสามารถเข้าถึงได้อย่างหลากหลายจากช่องทางเหล่านี้จะช่วยเพิ่มความสัมพันธ์ของลูกค้าและองค์กร
ให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น
Influencer Branding
สาหรับการใช้ผู้มีอิทธิพลทางความคิดของญี่ปุ่นในการประชาสัมพันธ์แบรนด์บาร์บีคิวพลาซ่านั้น เราเลือกที่จะใช้บุคคลที่ให้
ความรู้สึกอบอุ่น เป็นกันเอง และมีความตลก เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคได้ทุกเพศทุกวัย อีกทั้งด้วยภาพลักษณ์ที่มีความตลกและ
เป็นกันเอง ทาให้สามารถเข้าถึงผู้บริโภคได้ง่าย โดยคนที่เราเลือกก็คือ Sawamura Ikki ซึ่งเป็นดาราที่มีชื่อเสียงมาก
ในประเทศญี่ปุ่นและมีฐานแฟนคลับค่อนข้างเยอะ ซึ่งสามารถช่วยในการสื่อสารแบรนด์บาร์บีคิวพลาซ่าให้เป็นที่รู้จักได้เป็นอย่างดี
การออกแบบนวัตกรรมเพื่อสังคม
อย่างที่รู้กันว่าประเทศญี่ปุ่นนั้นเป็นประเทศที่มีการแข่งขันสูงจึงส่งผลให้ประชาชนมีความตรึงเครียดสูงตามไปด้วย
เราจึงคิดที่จะผลิต AI ตัวคาร์เตอร์ประจาแบรนด์ที่มีชื่อว่า บาร์บีก้อน ออกมาเพื่อเป็นสื่อกลางในการประชาสัมพันธ์โดยจะสร้าง
บัญชีทวิตเตอร์ของบาร์บีก้อนขึ้นที่จะสามารถตอบโต้กับผู้คนได้อัตโนมัติ
อ้างอิง
http://tenkaichi.com.sg
https://www.hofstede-insights.com/country-comparison/japan/
http://barbqplaza.com
http://www.foodpassion.co.th
http://kintan.ukhttp://www.gyu-kaku.com
รายชื่อสมาชิก
ศุภวิชญ์ เตียเจริญ 1580319760
ปิยวัฒน์ การะเวช 1580322491
พงศกร กุลซื่อ 1580319646
ธีรธัช นิลอ่อน 1580317418
สรวิชญ์ ไชยราช 1580321287

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)Nattakorn Sunkdon
 
เถ้าแก่น้อย บ่าย
เถ้าแก่น้อย บ่ายเถ้าแก่น้อย บ่าย
เถ้าแก่น้อย บ่ายsutaphat neamhom
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)Nattakorn Sunkdon
 
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภคการรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภคRatchadaporn Khwanpanya
 
Customer Relationship Management การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า
Customer Relationship Management การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้าCustomer Relationship Management การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า
Customer Relationship Management การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้าUtai Sukviwatsirikul
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟNattakorn Sunkdon
 
Strategic Marketing Management : MK Restaurant
Strategic Marketing Management : MK RestaurantStrategic Marketing Management : MK Restaurant
Strategic Marketing Management : MK RestaurantSorawit Yuenyongvithayakul
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planinnoobecgoth
 
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การออกแบบ และ ตกแต่งร้านค้า
การออกแบบ และ ตกแต่งร้านค้าการออกแบบ และ ตกแต่งร้านค้า
การออกแบบ และ ตกแต่งร้านค้าBoohsapun Thopkuntho
 
BDC412 ชาตรามือ
 BDC412 ชาตรามือ BDC412 ชาตรามือ
BDC412 ชาตรามือcinmmt
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecreamตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecreamNattakorn Sunkdon
 
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryNattakorn Sunkdon
 
วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์
วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์
วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์ธิติพล เทียมจันทร์
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpaตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpaNattakorn Sunkdon
 

What's hot (20)

ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
 
เถ้าแก่น้อย บ่าย
เถ้าแก่น้อย บ่ายเถ้าแก่น้อย บ่าย
เถ้าแก่น้อย บ่าย
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
 
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภคการรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
 
Customer Relationship Management การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า
Customer Relationship Management การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้าCustomer Relationship Management การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า
Customer Relationship Management การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
 
Oishi
OishiOishi
Oishi
 
Strategic Marketing Management : MK Restaurant
Strategic Marketing Management : MK RestaurantStrategic Marketing Management : MK Restaurant
Strategic Marketing Management : MK Restaurant
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Plan
 
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
 
การออกแบบ และ ตกแต่งร้านค้า
การออกแบบ และ ตกแต่งร้านค้าการออกแบบ และ ตกแต่งร้านค้า
การออกแบบ และ ตกแต่งร้านค้า
 
BDC412 ชาตรามือ
 BDC412 ชาตรามือ BDC412 ชาตรามือ
BDC412 ชาตรามือ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecreamตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
 
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
 
วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์
วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์
วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
Tipco
TipcoTipco
Tipco
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpaตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
 
บทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketingบทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketing
 

Similar to 3012 bdc412-bb qplaza (7)

Managing franchise branding
Managing franchise brandingManaging franchise branding
Managing franchise branding
 
Moji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.PowerpointMoji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.Powerpoint
 
Moji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.PowerpointMoji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.Powerpoint
 
5 (1)
5 (1)5 (1)
5 (1)
 
Presentation งานกลุ่ม1
Presentation งานกลุ่ม1Presentation งานกลุ่ม1
Presentation งานกลุ่ม1
 
การผลิตสื่อส่งเสริมการตลาด
การผลิตสื่อส่งเสริมการตลาดการผลิตสื่อส่งเสริมการตลาด
การผลิตสื่อส่งเสริมการตลาด
 
BDC412 MK
BDC412 MKBDC412 MK
BDC412 MK
 

3012 bdc412-bb qplaza

  • 1.
  • 2. 4C Company บริษัท เดอะบาร์บีคิวพลาซ่า จากัด ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2530 โดยคุณชูพงศ์ ชูพจน์เจริญ มีแบรนด์ร้านอาหารภายใต้บริษัทนี้คือ แบรนด์บาร์บีคิวพลาซ่า บาร์บีคิวพลาซ่า เป็นแบรนด์ร้านอาหารประเภทปิ้งย่าง เนื่องด้วยตอบรับเป็นอย่างดีจากลูกค้าจานวนมาก ทาให้มีการขยายสาขาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันมีร้านบาร์บีคิวพลาซ่าในประเทศไทย จานวนทั้งสิ้น 102 สาขา ตั้งอยู่ ณ ศูนย์การค้าชั้นนา และห้างค้าปลีกขนาดใหญ่ ส่วนการลงทุนด้านธุรกิจอาหารของบาร์บีคิวพลาซ่าในต่างประเทศ มีการเปิดสาขาภายใต้แบรนด์บาร์บีคิวพลาซ่า ในลักษณะร่วมลงทุน JointVenture กับนักธุรกิจในประเทศ Timeline ปี 2539 หลังจากเปิดมาได้ปีที่ 7 ก็ได้มีการออกแบบคาแร็คเตอร์บาร์บีกอน เป็นมาสค็อตหลักของแบรนด์ BBQ Plaza ปี 2555 ฉลองครบรอบ 25 ปี ของบริษัท เดอะบาร์บีคิวพลาซ่า จากัด พร้อมฉลองเปิดสาขาครบ 91 แห่ง ทั่วประเทศ ปี 2555 ปรับโฉมบาร์บีกอนให้ดูทันสมัยขึ้น ปี 2556 เปิด BBQ Plaza สาขาแรกในกรุงจาการ์ต้า ประเทศอินโดนีเซีย โดยร่วมทุนกับบริษัท การยา มันนา ปี 2556 เปลี่ยนโลโก้บาร์บีคิวพลาซ่าจากเดิมเป็นแบบใหม่ ปี 2557 ฉลองครอบรอบเปิดสาขาครบ 100 แห่ง
  • 3. Consumer Current Market การตลาดปัจจุบันของ BBQ Plaza นั้นเป็นการตลาดแบบน่านน้าสีแดง ซึ่งมีการแข่งขันกันค่อนข้างสูง เนื่องจากธุรกิจ ปิ้งย่างนั้นเป็นธุรกิจทาเงินที่ได้รับความนิยมจากผู้ประกอบการมากหน้าหลายตา อีกทั้งยังมีคู่แข่งที่เป็นแบรนด์ท้องถิ่น ทั้งยังเลือกใช้วัตถุดิบที่มีคุณภาพ ซึ่งที่สังเกตได้อย่างชัดเจนเลยนั้นก็คือ แบรนด์ญี่ปุ่น ซึ่งมีความได้เปรียบทั้งทางด้าน วัตถุดิบและคุณภาพ แต่ก็ยังมีจุดที่เสียเปรียบให้กับเราซึ่งก็คือกลุ่มเป้าหมายและราคา Customer BBQ Plaza นั้นมีกลุ่มลูกค้าที่หลากหลาย ซึ่งก็คือมีทุกเพศ ทุกวัย ทั้งกลุ่มครอบครัว กลุ่มวัยรุ่น หรือกระทั่ง กลุ่มวัยทางาน ที่มีรายได้ตั้งแต่น้อยไปจนถึงปานกลาง Market size แบรนด์ BBQ Plaza นั้นเป็นที่นิยมในประเทศ เนื่องจากเป็นแบรนด์ที่มีสาขาทั่วประเทศ อีกทั้งยังมีราคาที่ไม่แพงมาก และยังวัตถุดิบที่มีคุณภาพ ซึ่งธุรกิจประเภทนี้มีการแข่งขันกันค่อนข้างสูงเนื่องเป็นธุรกิจทาเงิน ที่ได้รับความนิยม ส่งผลให้เกิดแบรนด์ใหม่ๆขึ้นมา ทั้งจากแบรนด์ในประเทศ หรือจากแบรนด์ต่างประเทศก็ตาม
  • 4. Growing or Decilinning BBQ Plaza มีแนวโน้มที่จะเจริญเติมโตขึ้นอย่างต่อเนื่องเพราะมีการขยายสาขาไปยังประเทศเพื่อนบ้าน อย่างอินโดนีเซียและมาเลเซีย ซึ่งทาให้ในอนาคตแบรนด์บาร์บีคิวพลาซ่าเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายมากขึ้นและยังส่งผลให้มีการแข่งขัน ที่รุนแรงกับแบรนด์ท้องถิ่นมากขึ้นอีกด้วย New Market มีการขยายขอบเขตของธุรกิจจากเพียงแค่ภายในประเทศไทย ไปสู่ตลาดของประเทศเพื่อนบ้านรอบข้าง เช่น ลาว กัมพูชา สิงคโปร เวียดนาม เป็นต้น มีแนวโน้มที่จะขยายไปสู่ระดับโลกในอนาคต ซึ่งจะทาให้มี การแข่งขันที่สูงขึ้นอย่างมากมายตามมาเช่นเดียวกัน
  • 5. Competitor Power of buyers เนื่องจากธุรกิจร้านอาหารสไตล์ปิ้งย่างมีเป็นจานวนมาก ทั้งยังมีมากมายหลายราคาที่ผกผันตามคุณภาพของวัตถุดิบและปัจจัยอื่นๆ ทาให้ลูกค้ามีตัวเลือกในการตัดสินค่อนข้างมาก ส่งผลให้อานาจการต่อรองของผู้บริโภคมีมากกว่าผู้ค้า Substitute products นอกเหนือจากการแข่งขันกันเองในธุรกิจปิ้งย่างแล้ว ยังมีคู่แข่งอื่นๆที่เรียกได้ว่าเป็นสินค้าทดแทน เช่น MK ที่ทาธุรกิจสุกี้จิ้มจุ่มที่เน้นการขายอาหารเพื่อสุขภาพ หรือ Fuji ร้านอาหารที่มาในสไตล์ญี่ปุ่น Competitive rivalry ในธุรกิจปิ้งย่าง BBQ Plaza มีกาลังเติบโตและขยายสาขาไปยังที่ต่างๆ และยังมีแบรนด์ใหม่ธุรกิจประเภทนี้ เกิดใหม่มาเรื่อยๆ ทาให้มีการแข่งขันที่ดุเดือด ส่งผลให้บาร์บีคิวพลาซ่าต้องคิดค้นกลยุทธ์ต่างๆ ขึ้นมาเพื่อรับมือ กับคู่แข่งอยู่เรื่อยๆ และยังมีการออกแบบมาสคอต”บาบีก้อน”ทาให้ผู้บริโภคเกิดความเชื่อมโยง และผูกพันธ์กับแบรนด์ BBQ Plaza มากขึ้น New competitors เนื่องจากธุรกิจปิ้งย่างกาลังเป็นที่นิยมของตลาด ทาให้นักลงทุนมีความสนใจในการลงทุนกับธุรกิจประเภทนี้ ส่งผลให้เกิดแบรนด์ปิ้งย่างใหม่ๆ เกิดขึ้นเป็นจานวนมาก วิธีการป้องกันคือ BBQ Plaza ต้องพัฒนาและรักษาทั้งคุณภาพของวัตถุดิบและการบริการ รวมทั้ง ภาพลักษณ์ของแบรนด์ให้ดูดี
  • 6. Current competitors เนื่องจากธุรกิจปิ้งย่างมีหลายแบรนด์ในปัจจุบันอาทิเช่นร้าน GAON Korean BBQ Restaurant / Grills House Yakiniku&Seafood เป็นต้น อีกทั้งสถานที่ตั้งร้านของ BBQ Plaza ซึ่งมักจะตั้งอยู่ตามห้างสรรพสินค้าต่างๆ ในขณะเดียวกัน แบรนด์ปิ้งย่างอื่นๆ ก็มักจะถูกวางร้าน ให้อยู่บริเวณระแวกเดียวกัน อย่างไรก็ตามก็ไม่ควรที่จะตัดแบรนด์อื่นๆที่อยู่นอกกลุ่มเป้าหมาย เพราะว่าร้านพวกนี้อาจจะ คิดกลยุทธ์ใหม่ๆ เพื่อแข่งขัน ดังนั้น BBQ Plaza จึงควรพัฒนาสินค้าและบริการของร้านอย่าง ต่อเนื่องเพื่อป้องกันไม่ให้เสียเปรียบเรื่องฐานลูกค้านี้ถูกแย่งชิงไปโดยคู่แข่งขัน Power suppliers or vendors เนื่องจากโดยพื้นฐานแล้ว ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีผู้ผลิตในด้านเกษตรกรรมและปศุสัตย์เป็น จานวนมาก ทาให้มีผู้ส่งออกวัตถุดิบเยอะขึ้นตาม ส่งผลให้แบรนด์BBQ Plaza มีอานาจใน การเลือกซื้อที่สูง
  • 7. Context Political ปัจจัยเกี่ยวกับการเมือง และนโยบายต่าง ๆ ของประเทศซึ่งจะมีผลกับการดาเนินธุรกิจ เช่น Thailand4.0 ที่เอื้ออานวยกับธุรกิจอาหารของเรา ในส่วนของระดับโลกความสัมพันธ์ของประเทศไทยกับประเทศต่าง ๆนั้น กระทรวงวัฒนธรรมก็ได้ มีประกาศนโยบายในการพัฒนาประเทศ บุคลากร สังคม รายได้ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ซึ่งส่งผลดีต่อการ ดาเนินธุรกิจของเราในระดับโลกอย่างยิ่ง Economic ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ เช่นรายได้ของคนในประเทศ การเติบโตของเศรษฐกิจ ต้นทุนต่างๆ เช่น ค่าแรง ราคาวัตถุดิบ หรือหากเกิดวิกฤตที่กระทบต่อเศรษฐกิจของคนในชาติก็อาจจะ ส่งผลให้ผู้บริโภคเกิดความลังเลที่จะบริโภคอาหารราคาแพง และส่งผลให้ราคาต้นทุน วัตถุดิบสูงขึ้น Environment เกี่ยวกับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม เช่นสภาพภูมิอากาศที่เหมาะสมกับการผลิตวัตถุดิบ หรือปัญหาภัยแล้งที่จะมีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม
  • 8. Legal ปัจจัยเกี่ยวกับกฎหมายต่างๆที่ส่งผลต่อธุรกิจทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น กฎหมายค่าแรง กฎหมายแรงงาน กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค อาทิ อย.กฎหมายฉลากแบบจีนหรือกฎหมายควบคุมคุณภาพวัตถุดิบซึ่งอาจส่งผลต่อค่าใช้จ่ายมากขึ้น Technology ปัจจัยภายนอกเกี่ยวกับเทคโนโลยีของประเทศไทยเรา เช่น การใช้เทคโนโลยีที่พัฒนาเพื่อ ความสะดวกสบายของลูกค้า ได้แก่ การสร้างแอพพลิเคชั่น BBQ Plaza ซึ่งนอกจากลูกค้าจะได้รับข่าวสาร โปรโมชั่น และกิจกรรมต่าง ๆของทางร้านก่อนใครแล้ว ภายในแอพฯ มีระบบสมาชิกสะสมแต้ม เพื่อนาไปแลกส่วนลดและสิทธิพิเศษต่าง ๆ มีระบบสิทธิพิเศษที่น่าสนใจ อย่างเช่นปาร์ตี้วันเกิด (Happy Birthday Party) หรือ การบริการฉลองวันเกิดแบบจัดเต็ม และยัง มีระบบที่น่าสนใจอย่างการระบุพิกัดร้านอีกด้วย Social เกี่ยวกับด้านสังคมวัฒนธรรม (Lifestyle) เช่น คนสมัยนี้มีแนวโน้มรักสุขภาพมากขึ้น ร้าน BBQ Plaza จึงมีตัวเลือกที่ตอบโจทย์ด้านสุขภาพไม่ว่าจะผักและของที่มีประโยชน์อื่นๆ ในส่วนของประเภทของ 16 Consumer Trends คือ Better business ร้าน BBQ Plaza ให้ความสาคัญกับการพัฒนาศักยภาพของบุคคาลกร โดยสร้างศูนย์ฝึกอบรมบาร์บีคิวพลาซ่าเพื่อใช้เป็นสถานที่สาหรับฝึกอบรมพนักงานทุกระดับ พร้อมห้องครัวและร้านอาหารจาลองเพื่อให้พนักงานทุกคน ได้ฝึกทางานจริงก่อนเริ่มปฎิบัติงานยังสาขา นอกจากนี้ยังสร้างห้องพักพนักงานเพิ่มเติม
  • 9. Brand Plan Purpose : Happy place Vision : Happiness is our currency Mission : - จัดตั้งศูนย์ฝึกอบรมพนักงาน เพื่อให้พนักงานสามารถดูแลลูกค้าและทางานอย่างมีความสุข - สร้างบรรยากาศในร้านให้เต็มไปด้วยความสุข ไม่ว่าจะด้วยการตกแต่งร้าน เพลง หรือแม้กระทั่ง พนักงานทุกคนที่มี ความสุขในการบริการ - บริการด้วยวัตถุดิบที่ผ่านการตรวจสอบและคัดสรรคมาอย่างดี Values : กินอยู่ดี ชีวิตดี มีความสุข Positioning : .เราเป็นมากกว่าแค่มื้ออาหาร Archetype : Caregiver Jester Everyman
  • 10. Brand Communication Plan Global Brand Communication Think Global, Act Local มีการปรับเปลี่ยนวัตถุดิบ เมนูอาหาร การตกแต่งร้านตามพื้นที่ท้องถิ่น แต่ใช้การวาง แผนบริหารจัดการเหมือนกันทุกสาขาทั่วโลก เราเลือกทาการสื่อสารผ่านช่องทาง Twitter เพราะเป็นSNSที่ชาวญี่ปุ่นใช้งานกัน มากที่สุด โดยสิ่งที่เราจะทาในการสื่อสารในประเทศญี่ปุ่นคือการนาแบรนด์ BBQ Plaza ไปร่วมมือกับอนิเมชั่นชื่อดังของญี่ปุ่น อย่างเรื่อง ยอดนักปรุงโซมะ ซึ่งเป็นอนิเมชั่น เกี่ยวกับการทาอาหารชื่อดังและยังมีการพูดเกี่ยวกับมิตรภาพเพื่อนฝูง ที่สอดคล้อง กับแบรนด์ BBQ Plaza ของเราที่เป็นพื้นที่แห่งความสุขโดยจะใช้ตัวละครมาวาดให้แต่ง ชุดของพนักงานบาร์บีคิว พลาซ่า และยังมีของที่ระลึกอย่างกล่องข้าว แก้วน้า บัตรสมาชิก ลายยอดนักปรุงโซมะ x BBQ Plaza ซึ่งจะทาเป็นปริ้นAD โพสสื่อสารผ่านทางลงTwitter นอกจากนี้แล้วยังมีการสื่อสารในลักษณะเดียวกันผ่านช่องท่าง official บนFacebook และใน IG X
  • 11. Paid โคกับการ์ตูน ทีวี บิลบอร์ด รถประจาทาง รถบรรทุก Own เพจเฟสบุ็ค เพจทวิตเตอร์ หน้าร้าน เว็บไซต์ แอพพลิเคชั่น Earn การเช็คอินร้าน ลูกค้าแชร์เพจ รีวิว ยูทูปเบอร์... Pain Point ด้วยความที่BBQ Plaza เป็นแบรนด์ปิ้งย่าง ดังนั้นด้วยกระแสสุขภาพในปัจจุบันอาจจะส่งผลให้ความนิยมใน การกินปิ้งย่างน้อยลง CSR ตั้งกองทุนช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางธรรมชาติ รวมทั้งนาตะเกียบที่ใช้แล้วในร้านเอาไปบดและอัดใหม่เป็นเก้าอี้หรือโต๊ะ และบริจากไปยังโรงเรียนหรือพื้นที่สาธารณะ
  • 12.
  • 15. Company บริษัท เดอะบาร์บีคิวพลาซ่า จากัด ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2530 โดยคุณชูพงศ์ ชูพจน์เจริญ เป็นบริษัทที่ดาเนินธุรกิจร้านอาหารทั้งในประเทศ และต่างประเทศ มีแบรนด์ร้านอาหารที่อยู่ภายใต้การบริหารงานของบริษัทฯ จานวน 3 แบรนด์ ได้แก่ บาร์บีคิวพลาซ่า จุ่มแซ่บฮัท และ ฮ็อท สตาร์ นาเสนอรูปแบบอาหารในสไตล์ที่แตกต่างกันออกไป คลอบคลุมความต้องการของลูกค้าที่หลากหลาย บาร์บีคิวพลาซ่า เป็นแบรนด์ร้านอาหารประเภทปิ้งย่างบนกระทะทองเหลือง เปิดให้บริการสาขาแรกที่ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว ในเดือนกรกฎาคม ปี 2530 ลักษณะอาหารเป็นรูปแบบปิ้งย่างซึ่งภายหลังจากการเปิดสาขาแรก ร้านบาร์บีคิวพลาซ่าได้รับความนิยม และการตอบรับเป็นอย่างดีจากลูกค้าจานวนมาก ทาให้บริษัทฯ ได้ขยายสาขาเพิ่มขึ้นทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัดอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันมีร้านบาร์บีคิวพลาซ่าในประเทศไทย จานวนทั้งสิ้น 102 สาขา ตั้งอยู่ ณ ศูนย์การค้าชั้นนา และห้างค้าปลีกขนาดใหญ่ ทั้งในกรุงเทพฯและตามหัวเมืองหลักของจังหวัดต่าง ๆ สาหรับการลงทุนด้านธุรกิจอาหารของบาร์บีคิวพลาซ่าในต่างประเทศ บริษัทฯ มีการเปิดจาหน่ายอาหารภายใต้แบรนด์บาร์บีคิวพลาซ่า โดยเป็นการร่วมทุนในลักษณะ Joint Venture กับนักธุรกิจในประเทศ สาหรับประเทศมาเลเซีย มีร้านบาร์บีคิวพลาซ่าเปิดให้ บริการตามศูนย์การค้าหลักๆ จานวนทั้งสิ้น 17 สาขา ในประเทศอินโดนีเซีย มีร้านอาหารบาร์บีคิวพลาซ่าเปิดให้บริการจานวน 2 สาขา
  • 16. และเพื่อให้การดาเนินงานด้านคุณภาพมาตรฐานอาหารของร้านบาร์บีคิวพลาซ่าทุกสาขาเป็นหนึ่งเดียวกัน บาร์บีคิวพลาซ่าได้ก่อตั้งศูนย์กลางกระจายสินค้า (ครัวกลาง) บนพื้นที่ขนาด 5,000 ตารางเมตร ณ นิคมอุตสาหกรรมนวนคร อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี ในปี 2551 เพื่อเป็นศูนย์กลางในการกระจายสินค้าทั้งของสด เนื้อสัตว์ ผัก และวัตถุดิบต่างๆ ไปยังร้านอาหารบาร์บีคิวพลาซ่า สาขาต่างๆ ทั่วประเทศ ปัจจุบันบริษัทฯ มีพนักงานทั้งในส่วนสานักงานและร้านอาหารมากกว่า 3,000 คน ที่ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการผลักดันให้องค์กร เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง บริษัทฯ จึงให้ความสาคัญกับการพัฒนาศักยภาพของบุคคาลกร โดยสร้างศูนย์ฝึกอบรมบาร์บีคิวพลาซ่า เป็นตึกขนาด 4 ชั้น บนพื้นที่ขนาด 4,000 ตารางเมตร บนถนนรัชดาภิเษก จ.กรุงเทพ เพื่อใช้เป็นสถานที่สาหรับฝึกอบรมพนักงานทุกระดับ ตั้งแต่พนักงานประจาสานักงานและพนักงานประจาสาขา พร้อมห้องครัวและร้านอาหารจาลองเพื่อให้พนักงานทุกคนได้ฝึกทางานจริง ก่อนเริ่มปฎิบัติงานยังสาขา นอกจากนี้ยังสร้างห้องพักพนักงานเพิ่มเติม เพื่อให้พนักงานสาขาประจาต่างจังหวัดได้มีที่พักค้าง ระหว่างการฝึกอบรมอีกด้วย
  • 17. นอกเหนือจากความสาคัญด้านการพัฒนาบุคคลากรของบริษัทฯ แล้ว ในฐานะที่บริษัทฯ เป็นบริษัทฯ ของคนไทย ตั้งอยู่ในประเทศไทย บริหารงานโดยคนไทย จึงเล็งเห็นความสาคัญของการมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมควบคู่ไปกับการดาเนินงานทางธุรกิจ ดังนั้น บริษัทฯ จึงกาหนดหนึ่งในพันธกิจสาคัญของบริษัทฯ ด้วยการส่งเสริมให้พนักงานทุกคนมีส่วนร่วมกับบริษัทฯ ในการพัฒนาและให้ความช่วยเหลือสังคม ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การให้ความช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสในสังคม การส่งเสริมศิลปะวัฒนธรรมที่ดีงามของชาติ การส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อม และการให้ความช่วยเหลือเมื่อประเทศประสบภัยทางธรรมชาติ เป็นต้น
  • 18. Timeline ปี 2539 หลังจากเปิดมาได้ปีที่ 7 ก็ได้มีบาร์บีกอน เจ้ามังกรตัวเขียวตัวแทนสัญลักษณ์แบรนด์มาเป็น 1 ในครอบครัวบาร์บีคิวพลาซ่า ปี 2548 เปิดสาขาครบ 50 สาขา เปิดสาขาแรกที่ประเทศมาเลเซีย ที่ 1 Utama เมือง Kuala Lumpur โดยร่วมทุนกับบริษัท ดับเบิ้ลเอ ฟู้ด โฮลดิ้ง จากัด (W.A.Food Holdings SDN. BHD.) เพื่อเปิดร้านบาร์บีคิวพลาซ่า ในประเทศมาเลเซีย ปี 2551 ศูนย์กลางกระจายสินค้า (ครัวกลาง) ณ นิคมอุตสาหกรรมนวนคร อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี มีพื้นที่ขนาด 5,000 ตารางเมตร เพื่อเป็นศูนย์กลางในการ กระจายวัตถุดิบไปยังร้านอาหารสาขาต่างๆทั่วประเทศ ด้วยกระบวนการและขั้นตอนการขนส่งที่ได้มาตรฐานระดับสากล ปี 2554 เปลี่ยนโลโก้แบรนด์จุ่มแซ่บฮัทจากเดิมเป็นแบบใหม่ ปี 2555 ก่อสร้างศูนย์ฝึกอบรมบาร์บีคิวพลาซ่า บนถนนรัชดาภิเษก จ.กรุงเทพ ฉลองครบรอบ 25 ปี ของบริษัท เดอะบาร์บีคิวพลาซ่า จากัด พร้อมฉลองเปิดสาขาครบ 91 แห่ง ทั่วประเทศ ปี 2555 ปรับโฉมบาร์บีกอนให้ดูทันสมัยขึ้น ปี 2556 เปิดศูนย์กลางกระจายสินค้า (ครัวกลาง) ในประเทศมาเลเซีย ขนาดพื้นที่ 1,000 ตารางเมตร เพื่อเป็นศูนย์กลางในการกระจายวัตถุดิบไปยังร้านอาหาร สาขา สามารถรองรับฐานการผลิตได้ถึง 20 สาขา เปิดบาร์บีคิวพลาซ่าสาขาแรกในกรุงจาการ์ต้า ที่ Puri Indra Mall ประเทศอินโดนีเซีย โดยร่วมทุนกับบริษัท การยา มันนา จากัด (PT. KARYA MANNA) ปี 2556 เปลี่ยนโลโก้บาร์บีคิวพลาซ่าจากเดิมเป็นแบบใหม่ ปี 2557 ฉลองครอบรอบเปิดสาขาครบ 100 แห่ง ปี 2557 แถลงข่าวเปิดตัวแบรนด์ใหม่ ฮ็อทสตาร์ นาเข้ามาจากประเทศไต้หวัน ปี 2558 เปิดร้านฮ็อทสตาร์ร้านแรกในประเทศไทยที่ศูนย์การค้า ดิ เอ็มควอเทียร์ (The EmQuartier) สุขุมวิท ซอย 35 ชั้น B พร้อมแนะนาสองเมนูไฮไลท์ ไก่ทอดชิ้นใหญ่ไซส์ XXL ขนาดใหญ่เท่าหน้า และฮ็อทสตาร์ เลมอนเนด น้ามะนาวสีฟ้า
  • 19. Consumer Current Market การตลาดปัจจุบันของบาร์บีคิวพลาซ่านั้นเป็นการตลาดแบบน่านน้าสีแดง ซึ่งมีการแข่งขันกันค่อนข้างสูง เนื่องจากธุรกิจ ปิ้งย่างนั้นเป็นธุรกิจทาเงินที่ได้รับความนิยมจากผู้ประกอบการมากหน้าหลายตา อีกทั้งยังมีคู่แข่งที่เป็นแบรนด์ท้องถิ่น ทั้งยังเลือกใช้วัตถุดิบที่มีคุณภาพ ซึ่งที่สังเกตได้อย่างชัดเจนเลยนั้นก็คือ แบรนด์ญี่ปุ่น ซึ่งมีความได้เปรียบทั้งทางด้าน วัตถุดิบและคุณภาพ แต่ก็ยังมีจุดที่เสียเปรียบให้กับเราซึ่งก็คือกลุ่มเป้าหมายและราคา
  • 20. Customer บาร์บีคิวพลาซ่านั้นมีกลุ่มลูกค้าที่กว้างขวาง ซึ่งก็คือมีทุกเพศ ทุกวัย ทั้งกลุ่มครอบครัว กลุ่มวัยรุ่น หรือกระทั่งกลุ่มวัยทางาน ที่มีรายได้ ตั้งแต่เล็กน้อยไปจนถึงปานกลาง ซึ่งค่อนข้างต่างจากแบรนด์อื่นที่เน้นเฉพาะกลุ่มลูกค้าวัยทางานที่มีรายได้ค่อนข้างสูง ทาให้ บาร์บีคิวพลาซ่านั้นค่อนข้างมีกลุ่มลูกค้าที่ครอบคลุม
  • 21. Market size แบรนด์บาร์บีคิวพลาซ่านั้นเป็นแบรนด์ที่ค่อนข้างเป็นที่นิยมในประเทศ เนื่องจากเป็นแบรนด์ที่มีสาขาเยอะ ครอบคลุมไปทั่วประเทศ อีกทั้งยังมีราคาที่ไม่แพงมาก สามารถจับต้องได้ และยังวัตถุดิบที่มีคุณภาพ ทาให้มีผู้คนมากมายตัดสินใจเลือกที่จะบริโภคบาร์บีคิวพลาซ่า ซึ่งธุรกิจอาหารประเภทนี้มีการแข่งขันกันค่อนข้างสูงเนื่องเป็นธุรกิจทาเงินที่ค่อนข้างได้รับความนิยม ส่งผมให้เกิดแบรนด์ใหม่ๆขึ้นมา เรื่อยๆ ทั้งจากแบรนด์คนไทยเอง หรือจากแบรนด์ต่างประเทศที่ต้องการที่จะมาตีตลาดบ้านเรา
  • 22. Growing or Decilinning บาร์บีคิวพลาซ่า นั้นมีแนวโน้มที่จะเจริญเติมโตขึ้นอย่างต่อเนื่องเพราะเริ่มมีการขยายสาขาไปยังประเทศเพื่อนบ้าน อย่างอินโดนีเซียและมาเลเซีย ซึ่งจะส่งผลให้ในอนาคตแบรนด์บาร์บีคิวพลาซ่า จะเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายมากขึ้นและยังส่งผลให้มีการแข่งขัน ที่รุนแรงกับแบรนด์ท้องถิ่นมากขึ้นอีกด้วย
  • 23. New Market มีการขยายขอบเขตของธุรกิจจากเพียงแค่ภายในประเทศไทย ไปสู่ตลาดของประเทศเพื่อนบ้านรอบข้าง เช่น ลาว กัมพูชา สิงคโปร เวียดนาม เป็นต้น มีแนวโน้มที่จะขยายไปสู่ระดับโลกในอนาคต ซึ่งจะทาให้มีการแข่งขันที่สูงขึ้นอย่างมากมายตามมา เช่นเดียวกัน
  • 24. Competitor 1. Power of buyers เนื่องจากธุรกิจร้านอาหารสไตล์ปิ้งย่างมีเป็นจานวนมาก ทั้งยังมีมากมายหลายราคาที่ผกผันตามคุณภาพของวัตถุดิบและปัจจัยอื่นๆ ทาให้ลูกค้ามีตัวเลือกในการตัดสินค่อนข้างมาก ส่งผลให้อานาจการต่อรองของผู้บริโภคมีมากกว่าผู้ค้า 2. Substitute products นอกเหนือจากการแข่งขันกันเองในธุรกิจปิ้งย่างแล้ว ยังมีคู่แข่งอื่นๆที่เรียกได้ว่าเป็นสินค้าทดแทน เช่น MK ที่ทาธุรกิจสุกี้จิ้มจุ่มที่เน้นการขายอาหารเพื่อสุขภาพ หรือ Fuji ร้านอาหารที่มาในสไตล์ญี่ปุ่น 3. Competitive rivalry ในธุรกิจปิ้งย่าง BBQ Plaza มีกาลังเติบโตและขยายสาขาไปยังที่ต่างๆ และยังมีแบรนด์ใหม่ธุรกิจประเภทนี้เกิดใหม่ มาเรื่อยๆ ทาให้มีการแข่งขันกันค่อนข้างดุเดือด ส่งผลให้บาร์บีคิวพลาซ่าต้องคิดค้นกลยุทธ์ต่างๆ ขึ้นมาเพื่อรับมือกับคู่แข่ง อยู่เรื่อยๆ และยังมีการออกแบบมาสคอต”บาบีก้อน”ทาให้ผู้บริโภคเกิดความเชื่อมโยง และผูกพันธ์กับแบรนด์ BBQ Plaza มากขึ้น
  • 25. 4. New competitors เนื่องจากธุรกิจปิ้งย่างกาลังเป็นที่นิยมของตลาด ทาให้นักลงทุนมีความสนใจในการลงทุนกับธุรกิจประเภทนี้ส่งผลให้เกิดแบรนด์ปิ้งย่างใหม่ๆ เกิดขึ้นเป็นจานวนมาก วิธีการป้องกันคือคือการที่ BBQ Plaza ต้องพัฒนาและรักษาทั้งคุณภาพของวัตถุดิบและการบริการ รวมทั้ง ภาพลักษณ์ของแบรนด์ให้ดูดี 5. Current competitors เนื่องจากธุรกิจปิ้งย่างมีหลายแบรนด์ในปัจจุบันอาทิเช่นร้าน GAON Korean BBQ Restaurant / Grills House Yakiniku&Seafood เป็นต้น อีกทั้งสถานที่ตั้งร้านของ BBQ Plaza ซึ่งมักจะตั้งอยู่ตามห้างสรรพสินค้าต่างๆ ในขณะเดียวกันนั่นเอง แบรนด์ปิ้งย่างอื่นๆ ก็มักจะถูกวางร้านให้อยู่บริเวณระแวกเดียวกันเช่นกัน อย่างไรก็ตามก็ไม่ควรที่จะตัดแบรนด์อื่นๆที่อยู่นอกกลุ่มเป้าหมาย เพราะว่าร้านพวกนี้อาจจะคิดกลยุทธ์ใหม่ๆ ในการขายสินค้าเพื่อแข่งขันกับกลุ่มที่อยู่รวมกัน ดังนั้นBBQ Plaza จึงควรพัฒนาสินค้าและบริการของร้านอย่างต่อเนื่องเพื่อ ป้องกันมิให้ข้อได้เปรียบเรื่องฐานลูกค้านี้ถูกแย่งชิงไปโดยคู่แข่งขัน 6. Power suppliers or vendors เนื่องจากโดยพื้นฐานแล้ว ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีผู้ผลิตในด้านเกษตรกรรมและปศุสัตย์เป็นจานวนมาก ทาให้มีผู้ส่งออกวัตถุดิบเยอะขึ้นตาม ส่งผลให้แบรนด์BBQ Plaza มีอานาจในการเลือกซื้อที่สูง
  • 26. Context Political :: ปัจจัยเกี่ยวกับการเมือง และนโยบายต่าง ๆ ของประเทศซึ่งจะมีผลกับการดาเนินธุรกิจ เช่น Thailand4.0 ที่เอื้ออานวยกับธุรกิจอาหารของเรา ในส่วนของระดับโลกความสัมพันธ์ของประเทศไทยกับประเทศต่าง ๆนั้น กระทรวงวัฒนธรรมก็ได้ มีประกาศนโยบายในการพัฒนาประเทศ บุคลากร สังคม รายได้ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เพื่อภาพลักษณ์ที่ดีและ เกียรติภูมิไทยในเวทีโลก ซึ่งส่งผลดีต่อการดาเนินธุรกิจของเราในระดับโลกอย่างยิ่ง Economic ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ เช่นรายได้ของคนในประเทศ การเติบโตของเศรษฐกิจ ต้นทุนต่างๆ เช่น ค่าแรง ราคาวัตถุดิบ หรือหากเกิดวิกฤตที่กระทบต่อเศรษฐกิจของคนในชาติก็อาจจะส่งผลให้ผู้บริโภคเกิดความลังเลที่จะบริโภคอาหารราคาแพง อีกทั้งจะส่งผลให้ราคาต้นทุนวัตถุดิบสูงขึ้น Environment เกี่ยวกับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม เช่นสภาพภูมิอากาศที่เหมาะสมกับการผลิตวัตถุดิบ หรือปัญหาภัยแล้งที่จะมีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม
  • 27. Legal ปัจจัยเกี่ยวกับกฎหมายต่างๆที่ส่งผลต่อธุรกิจทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น กฎหมายค่าแรง กฎหมายแรงงาน กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค อาทิ อย.กฎหมายฉลากแบบจีนหรือกฎหมายควบคุมคุณภาพวัตถุดิบซึ่งอาจส่งผลต่อค่าใช้จ่ายมากขึ้น Technology :: ปัจจัยภายนอกเกี่ยวกับเทคโนโลยีของประเทศไทยเรา เช่น การใช้เทคโนโลยีที่พัฒนาไปอีกขึ้นเพื่อ ความสะดวกสบายของลูกค้า ได้แก่ การสร้างแอพพลิเคชั่น บาร์บีคิวพลาซ่า ซึ่งนอกจากลูกค้าจะได้รับข่าวสาร โปรโมชั่น และกิจกรรมต่าง ๆของทางร้านก่อนใครแล้ว ภายในแอพฯ มีระบบสมาชิกสะสมแต้ม เพื่อนาไปแลกส่วนลดและสิทธิพิเศษต่าง ๆ มีระบบสิทธิพิเศษที่น่าสนใจ อย่างเช่นปาร์ตี้วันเกิด (Happy Birthday Party) หรือ การบริการฉลองวันเกิดแบบจัดเต็ม และยังมีระบบที่น่าสนใจอย่างการระบุพิกัดร้านอีกด้วย Social :: เกี่ยวกับด้านสังคมวัฒนธรรม (Lifestyle) เช่น คนสมัยนี้มีแนวโน้มรักสุขภาพมากขึ้น ที่ร้านบาร์บีคิวพลาซ่า จึงมีตัวเลือกมากมายไม่ว่าจะเน้นไปที่ผักและของที่มีประโยชน์ และ ในส่วนของประเภทของ 16 Consumer Trends คือBetter business ร้านบาร์บีคิวพลาซ่าให้ความสาคัญกับการพัฒนาศักยภาพของบุคคาลกร โดยสร้างศูนย์ฝึกอบรมบาร์บีคิวพลาซ่าเพื่อใช้เป็นสถานที่สาหรับฝึกอบรมพนักงานทุกระดับ ตั้งแต่พนักงานประจาสานักงานและพนักงานประจาสาขา พร้อมห้องครัวและร้านอาหารจาลองเพื่อให้พนักงานทุกคน ได้ฝึกทางานจริงก่อนเริ่มปฎิบัติงานยังสาขา นอกจากนี้ยังสร้างห้องพักพนักงานเพิ่มเติม เพื่อให้พนักงานสาขาประจาต่างจังหวัดได้มีที่พักค้างระหว่างการฝึกอบรมอีกด้วย
  • 28. Global Brand Strategy กลยุทธ์ข้ามชาติ (Multidomestic Strategy) ทางเราจะทาการให้อานาจการตัดสินใจให้กับตัวแทนต่างประเทศเป็นผู้ดูแลโดยตรง แต่คงเอกลักษณ์ความเป็นบาร์บีคิวพลาซ่าอย่าง การฝึกพนักงานและคุณภาพเอาไว้ ซึ่งจะมีการใช้วัตถุดิบและปรับปรุงสูตรบางอย่างเพื่อให้เข้ากับวัฒนธรรมการกินของคนญี่ปุ่นมากขึ้น Gobal Brand Communication Think Global, Act Local มีการปรับเปลี่ยนวัตถุดิบ เมนูอาหาร การตกแต่งร้านตามพื้นที่ท้องถิ่น แต่ใช้การวางแผนบริหาร จัดการเหมือนกันทุกสาขาทั่วโลก
  • 29. Purpose : Happy place Vision : Happiness is our currency Mission : - จัดตั้งศูนย์ฝึกอบรมพนักงาน เพื่อให้พนักงานสามารถดูแลลูกค้าและทางานอย่างมีความสุข -สร้างบรรยากาศในร้านให้เต็มไปด้วยความสุข ไม่ว่าจะด้วยการตกแต่งร้าน เพลง หรือแม้กระทั่งพนักงานทุกคนที่มี ความสุขในการบริการ -บริการด้วยวัตถุดิบที่ผ่านการตรวจสอบและคัดสรรคมาอย่างดี Values : กินอยู่ดี ชีวิตดี มีความสุข Positioning : เราเป็นมากกว่าแค่มื้ออาหาร Archetype : Caregiver Jester Everyman
  • 30. Business Model Canvas : BAR B Q PLAZA Key Partner -เจ้าของพื้นที่ -ผู้จัดจาหน่ายวัตถุดิบ -ผู้จัดจาหน้าอุปกรณ์ เฉพาะของแบรนด์ -เจ้าของเฟรนไชส์ Key Activities -ร้านอาหารปิ้ง-ย่าง -ศูนย์ฝึกอบรมพนักงาน -การดูแล บริการลูกค้า -การจัดหาวัตถุดิบ Key Resources -พนักงานที่มีความสุขในการ บริการลูกค้า -ศูนย์กลางกระจายสินค้า -สื่อเน็ตเวิร์ค -Call center Value Proposition -เราวางตัวว่าเราเป็นพื้นที่แห่งความสุข ไม่ใช่แค่มื้ออาหาร -เรามีศูนย์ฝึกอบรมพนักงานก่อนที่จะมา บริการ เพื่อที่พนักงานของเราจะสามารถ จะสามารถบริการลูกค้าได้อย่างมี ประสิทธิภาพ -เรามีศูนย์กลางกระจายสินค้าเพื่อให้ คุณภาพวัตถุดิบเป็นไปในมาตรฐานเดียว กัน Customer Relationship -บริการเป็นกันเอง -มีโปรโมชั่นพิเศษ -เกมและกิจกรรม -บัตรสมาชิก -AI บาร์บีก้อน Channel -สาขาที่มากมาย -Call center -โฆษณาและ การประชาสัมพันธ์ -เว็บไซต์และโซเชี่ยล Customer Segment -ครอบครัว -กลุ่มวัยรุ่น -กลุ่มวัยทางาน -คู่รัก Cost Structure -วัตถุดิบ -ค่าการทาการตลาด -ค่าเช่าพื้นที่ -ค่าขนส่ง -ค่าจ้างพนักงาน Revenue Streams -บัตรสมาชิก -ของสะสม -อาหาร -เฟรนไชส์
  • 31. Omnichannel การประชาสัมพันธ์ของแบรนด์ บาร์บีคิว พลาซ่านั้นมีด้วยกันหลากหลายช่องทาง เพื่อเข้าถึงกลุ่มลูกค้าให้ได้อย่างทั่วถึงที่สุด โดยมีการให้ข้อมูลลูกค้า ทั้งจากหน้าเว็ปไซต์โดยลูกค้าสามารถที่จะค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับโปรโมชั่น ประวัติความเป็นมา รวมถึง การประชาสัมพันธ์ต่างๆของทางองค์กรได้ด้วยตัวของลูกค้าเอง หรือการให้ข้อมูลจากทางเพจของบาร์บีคิวพลาซ่าผ่านทางเฟสบุ๊ค โดยให้แอดมินขององค์กรเป็นผู้ประชาสัมพันธ์ข่าวสารไปให้ลูกค้าเพื่อให้ทราบข้อมูลโดยตรง หรือการติดประกาศไว้หน้าร้านค้า ของบาร์บีคิวพลาซ่า เพื่อช่วยลูกค้าในการตัดสินใจที่จะใช้บริการอีกด้วย อีกทั้งยังมีแอพลิเคชั่นที่ช่วยให้ลูกค้าสามรถจองคิวไว้ล่วงหน้า ได้ด้วย ซึ่งการที่ลูกค้าสามารถเข้าถึงได้อย่างหลากหลายจากช่องทางเหล่านี้จะช่วยเพิ่มความสัมพันธ์ของลูกค้าและองค์กร ให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น
  • 32. Influencer Branding สาหรับการใช้ผู้มีอิทธิพลทางความคิดของญี่ปุ่นในการประชาสัมพันธ์แบรนด์บาร์บีคิวพลาซ่านั้น เราเลือกที่จะใช้บุคคลที่ให้ ความรู้สึกอบอุ่น เป็นกันเอง และมีความตลก เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคได้ทุกเพศทุกวัย อีกทั้งด้วยภาพลักษณ์ที่มีความตลกและ เป็นกันเอง ทาให้สามารถเข้าถึงผู้บริโภคได้ง่าย โดยคนที่เราเลือกก็คือ Sawamura Ikki ซึ่งเป็นดาราที่มีชื่อเสียงมาก ในประเทศญี่ปุ่นและมีฐานแฟนคลับค่อนข้างเยอะ ซึ่งสามารถช่วยในการสื่อสารแบรนด์บาร์บีคิวพลาซ่าให้เป็นที่รู้จักได้เป็นอย่างดี
  • 33. การออกแบบนวัตกรรมเพื่อสังคม อย่างที่รู้กันว่าประเทศญี่ปุ่นนั้นเป็นประเทศที่มีการแข่งขันสูงจึงส่งผลให้ประชาชนมีความตรึงเครียดสูงตามไปด้วย เราจึงคิดที่จะผลิต AI ตัวคาร์เตอร์ประจาแบรนด์ที่มีชื่อว่า บาร์บีก้อน ออกมาเพื่อเป็นสื่อกลางในการประชาสัมพันธ์โดยจะสร้าง บัญชีทวิตเตอร์ของบาร์บีก้อนขึ้นที่จะสามารถตอบโต้กับผู้คนได้อัตโนมัติ
  • 35. รายชื่อสมาชิก ศุภวิชญ์ เตียเจริญ 1580319760 ปิยวัฒน์ การะเวช 1580322491 พงศกร กุลซื่อ 1580319646 ธีรธัช นิลอ่อน 1580317418 สรวิชญ์ ไชยราช 1580321287