SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
บรรยายโดย ขวัญชัย ช้างเกิด
MBA Logistics Ramkhamhaeng
เอกสารอ้างอิง
• เอกสารอ้างอิง กรมการขนส่งทางนำ้า และพานิชยนาวี กระทรวง
คมนาคม
• หนังสือการจัดการกิจการพานิชยนาวี ผศ.น.ท.สำาราญ ทองเล็ก
2551
• กรมศุลกากร
นการปฏิบัติพิธีการนำาเข้าสินค้า
นการปฏิบัติพิธีการส่งออกสินค้า
นการนำาตู้สินค้า (FCL) ขาเข้า ออกจากท่าเรือ
นการนำาตู้สินค้า (LCL) ขาเข้า ออกจากท่าเรือ
นการนำาตู้สินค้า (FCL) ขาออก เข้าเขตท่าเรือก
นการนำาตู้สินค้า (LCL) เข้ามาบรรจุในเขตท่าเ
รเรือ
ตอนการปฏิบัติพิธีการนำาเข้าสินค้า
1.ผู้นำาเข้าหรือตัวแทนบันทึกข้อมูลบัญชี
ราคาสินค้า (Invoice) ทุกรายการ
เข้าสู้ระบบคอมพิวเตอร์ของตนเองหรือผ่าน
Service Counterโดยโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ จะแปลงข้อมูลราคาสินค้าให้เป็น
ข้อมูลใบขนสินค้าโดยอัตโนมัติ
และให้ผู้นำาเข้าหรือตัวส่งเฉพาะข้อมูลใบขน
สินค้ามาเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ของ
กรมศุลกากร
2. เครื่องคอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากรจะ
ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้นในใบ
ะบบของกรมศุลกากรจะตรวจสอบข้อมูลในใบขนส
ถ้วนแล้ว จะออกเลขที่ใบขนสินค้า พร้อมกับตรวจ
งๆที่กรมศุลกากรกำาหนด เพื่อจัดกลุ่มใบ ขนสินค้าข
วจสอบพิธีการเป็น 2 ประเภท
นค้าขาเข้าประเภทที่ไม่ต้องตรวจสอบพิธีการ (Gre
สั่งการตรวจ หลังจากนั้นผู้นำาเข้าหรือตัวแทนสามา
าไปชำาระภาษีอากรและรับการตรวจปล่อยสินค้าได
นค้าขาเข้าประเภทที่ต้องตรวจสอบพิธีการ (Red Li
อตัวแทน ต้องนำาใบขนสินค้าไปติดต่อกับหน่วยงาน
าที่นำาของเข้า
ตอนการปฏิบัติพิธีการนำาเข้าสินค้า
4. ผู้นำาเข้าหรือตัวแทนต้องจัดเก็บข้อมูล
บัญชีราคาสินค้าเพื่อใช้สำาหรับ ตรวจสอบ
ใบขนสินค้าหลังการตรวจปล่อย
ตอนการปฏิบัติพิธีการนำาเข้าสินค้า
ตอนการปฏิบัติพิธีการส่งออกสินค้า
กหรือตัวแทนส่งข้อมูลใบขนสินค้าขาออกและบัญช
าสู้ระบบของผู้ส่งออกหรือตัวแทนมายังคอมพิวเตอร
ผู้ให้บริการระบบแลกเปลี่ยนข้อมูล อิเล็กทรอนิค (E
องกรมศุลกากรจะตรวจสอบข้อมูลในใบขนสินค้าท
นแล้ว จะออกเลขที่ใบขนสินค้าขาออกและตรวจสอ
ที่กรมศุลกากรกำาหนดไว้
ขนสินค้าขาออกเป็น 2 ประเภท ดังต่อไปนี้ และแจ
วแทน เพื่อจัดพิมพ์ใบขนสินค้า
ค้าขาเข้าประเภทที่ไม่ต้องตรวจสอบพิธีการ (Green
ค้าขาเข้าประเภทที่ต้องตรวจสอบพิธีการ (Red Line
- (Green Line) ใบขนสินค้าขาเข้าประเภทที่
ไม่ต้องตรวจสอบพิธีการ
- (Red Line ) ใบขนสินค้าขาเข้าประเภทที่ต้อง
ตรวจสอบพิธีการ
- FCLหรือ Full ContainerLoading เรียกว่า
คอนเทนเนอร์แบบเต็มตู้
- LCL หรือ Lacking ContainerLoading เรียกว่า
แบบไม่เต็มตู้
- แบบ กศก.49 ใบกำากับคอนเทนเนอร์ FCL
- แบบ คบต.05 แบบรับรองการเตรียมตู้สินค้า
เปล่าเพื่อบรรจุสินค้า
ารนำาตู้สินค้า (FCL) ขาเข้า ออกจากท่าเร
หรือตัวแทนยื่นใบขนส่งขาเข้าละยื่นเอกสารที่จำาเป็นใก้กับเ
อบ เพื่อชำาระภาษีอากร
ค้าศุลกากร ทำาการลงทะเบียน รับชำาระขนสินค้าขาเข้าแล
จสอบ
น้าที่ตรวจสินค้า พร้อมกำาหนดหมายเลขตู้สินค้า
มของเพื่อตรวจ และบันทึกรายการตรวจปล่อยในเอกสารส
อบภายใน ตรวจสอบใบอนุญาตให้รถเข้าไปรับตู้สินค้า แล
ทับตรายางเลขช่องที่ผ่านเข้า และอนุญาตให้นำารถเข้าไปร
หมายเลขตู้สินค้า หรือหมายเลข B/L และหมายเลข Placa
ถรับ Placard พร้อมใบอนุญาตให้รถเข้าไปรับดู้สินค
าหรือตัวแทนประทับตราเพื่อเลือกรายการชำาระค่าภ
นค้าของบริษัทตัวแทนเรือ พร้อมสำาเนา 1 ฉบับ แล
ระและออกใบเสร็จรับเงินพร้อมใบรับของจากท่าเรือ
สารใบรับของจากท่าเรือกรุงเทพ และใบสั่งปล่อยสิน
โดยตรวจให้ตรงกับใบสั่งปล่อยสินค้าที่ได้รับจากศ
ล่อยโดย บันทึกหมายเลขใบสั่งปล่อยสินค้าเข้าระบ
ารนำาตู้สินค้า (FCL) ขาเข้า ออกจากท่าเร
10. พนักงานขับรถรับตู้สินค้ามาที่ด่านตรวจสอบ
ภายในขาออก พร้อมคืน Placard
และใบอนุญาตให้นำารถเข้าไปรับตู้สินค้า
ต้นฉบับพนักงานด่านตรวจสอบตรวจ
สภาพตู้สินค้าและตราผนึก แล้วบันทึกข้อมูลตู้
สินค้า พร้อมตรวจสอบเลขที่ใบ
สั่งปล่อยที่หน้าจอคอมพิวเตอร์ และบันทึก
หมายเลขทะเบียนรถพร้อมทั้งพิมพ์
เอกสารใบกำากับสินค้า และลงนามส่งมอบ รับ
มอบตู้สินค้าในเอกสารใบกำากับสินค้า
11. พนักงานขับรถยื่นเอกสารใบกำากับสินค้าให้
ารนำาตู้สินค้า (FCL) ขาเข้า ออกจากท่าเร
ารนำาตู้สินค้า (FCL) ขาเข้า ออกจากท่าเร
ารนำาตู้สินค้า (FCL) ขาเข้า ออกจากท่าเร
ารนำาตู้สินค้า (FCL) ขาเข้า ออกจากท่าเร
ารนำาตู้สินค้า (LCL) ขาเข้า ออกจากท่าเร
ารนำาตู้สินค้า (LCL) ขาเข้า ออกจากท่าเร
ารนำาตู้สินค้า (LCL) ขาเข้า ออกจากท่าเร
ารนำาตู้สินค้า (LCL) ขาเข้า ออกจากท่าเร
1. เจ้าของสินค้าหรือตัวแทนยื่นใบขนสินค้าขาเข้า
และ Slip ให้เจ้าหน้าที่ศุลกากรตรวจสอบ
2. ลงทะเบียนใบขนส่งสินค้าและตัดบัญชี
3. เตรียมซองและตรวจปล่อยสินค้า
4. ส่งใบสั่งปล่อยสินค้าให้เจ้าหน้าที่การท่าเรือ
5. ยื่นเอกสารใบส่งปล่อยสินค้าของบริษัทตัวแทนเรือ
พร้อมสำานำา 1 หรือ 2 ฉบับ และประทับตรา เพื่อเลือก
รายการชำาระค่าภาระด้านหลังเอกสาร
ารนำาตู้สินค้า (LCL) ขาเข้า ออกจากท่าเร
6. ชำาระค่าภาระสินค้า
7. รับใบเสร็จรับเงิน และใบรับรองของท่าเรือ
8. รับใบอนุญาตให้เข้าเขตท่าเรือกรุงเทพ ใบกำากับ
สินค้า
9. เจ้าของสินค้าหรือตัวแทนยื่นใบสั่งปล่อยสินค้า
ของบริษัทตัวแทนเรือ ใบเสร็จรับเงินและใบรับรอง
จากท่าเรือให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบและบันทึกข้อมูล
ารนำาตู้สินค้า (LCL) ขาเข้า ออกจากท่าเร
10. ดำาเนินการตรวจปล่อย
11. เจ้าหน้าที่การท่าเรือ รับใบปล่อยสินค้าจากเจ้า
หน้าที่ศุลกากรแล้วบันทึกหมายเลขใบสั่งปล่อยใน
ใบรับของท่าเรือ
12. หัวหน้าโรงพักสินค้า/คลังสินค้า ลงนามพร้อม
กำาหนดพนักงานปล่อยสินค้าในใบรับรองของจาก
ท่าเรือ
13. รับกำากับสินค้าและ Silp จากพนักงานปล่อยสินค้า
14. เจ้าของสินค้าหรือตัวแทนยื่นใบกำากับสินค้า และ
Silp ให้เจ้าหน้าที่ ที่สถานีตรวจสินค้าตรวจความถูก
ต้อง ก่อนนำารถบรรทุกออกจากท่าเรือกรุงเทพ
ารนำาตู้สินค้า (FCL) ขาออก เข้าเขตท่าเร
1. ยื่นแบบขอนำาตู้สินค้าผ่านท่าเข้าเขตท่าเรือ
กรุงเทพ ที่แผนกสารสนเทศ กองท่าบริการตู้สินค้า
1,2 ก่อนนำาตู้สินค้าผ่านเข้า 1 ชม
2. ยื่นใบกำากับคอนเทนเนอร์ (กศก.49) ให้เจ้าหน้า
ศุลกากรที่สถานีตรวจสอบสินค้า
3. รับชำาระค่ายานพาหนะผ่านท่า และค่าภาระยกตู้
สินค้า
ารนำาตู้สินค้า (FCL) ขาออก เข้าเขตท่าเร
4. บันทึกข้อมูลหมายเลขตู้สินค้า นำ้าหนัก ทะเบียนรถ
บรรทุก พร้อมทั้งตรวจสอบสภาพตู้สินค้า
5. รับยื่นใบกำากับคอนเทนเนอร์ (กศก.49)
6. จัดพิมพ์ใบตรวจรับสภาพตู้สินค้า (EIR) และแจ้ง
ตำาแหน่งที่กองเก็บตู้สินค้า
7. รอการบรรทุกลงเรือ
ารนำาตู้สินค้า (LCL) เข้ามาบรรจุในท่าเรือ
1. จัดเตรียมสินค้าและเตรียมตู้เพื่อการบรรจุ พร้อม
จองเที่ยวเรือ
2. ยื่นเอกสาร คบต.05 ที่สถานีตรวจสอบ และชำาระค่า
ยานพาหนะผ่านท่า และค่าภาระยกขนสินค้า
3. นำารถบรรทุกเข้าลานบรรจุสินค้า
4. ยื่นเอกสารใบขนสินค้า เพื่อให้ศุลกากรตรวจปล่อย
สินค้าขาออกบรรจุเข้าตู้
5. ส่งสรุป คบต.01 ให้แผนกควบคุมสินค้า
ารนำาตู้สินค้า (LCL) เข้ามาบรรจุในท่าเรือ
6. รับมอบตู้สินค้าเปล่าจากแผนกตู้ควบคุมตู้สินค้าเปล่า
บันทึกข้อมูลและจัดเรียงลงในพื้นที่ของแต่ละบริษัท
7. ลงนามอนุญาตเอกสาร คบต.05 ให้นำารถบรรทุก
สินค้าเข้าลาน
8. ควบคุมการบรรจุสินค้าเข้าตู้
9. ส่งมอบตู้สินค้าให้กองท่าบริการตู้สินค้า 1,2
10. กองท่าบริการตู้สินค้า 1,2 รับมอบตู้สินค้าขาออก
เพื่อรอการบรรทุกลงเรือ
เอกสารเรือ
ใบตราส่ง (Bill of Lading)
ใบตราส่งเป็นเอกสารที่ผู้ขนส่งออกให้แก่ผู้ส่ง
สินค้าเพื่อเป็นหลักฐานที่แสดงว่า ผู้ขนส่งได้รับ
สินค้าบรรทุกลงเรือแล้ว และผู้ขนส่งรับที่จะส่ง
มอบสินค้าให้แก่ผู้มีสิทธิรับสินค้านั้น เมื่อได้รับ
ใบตราส่งคืน
บตราส่งมีหน้าที่ 3 ประการ คือ
vidence of Contract) ของสัญญาการขนส่งสินค้าโดยปก
นไขหรือข้อตกลงต่างๆ ของสัญญาขนส่ง
(Bill of lading as a receipt) ที่แสดงส่งสินค้าถูกบรรทุกล
ละสภาพสินค้าเมื่อผู้ขนส่งได้รับมอบสินค้าหรือได้บรรทุกสิน
กใบตราส่งชนิดบรรทุกสินค้าให้
ทธิ (Bill of lading as a document of title) ที่ผู้ขนส่งจะต
ตราส่งแสดงการครอบครองใบตราส่งก็เท่ากับครอบครองส
อบครองใบตราส่งทำาให้ผู้ทรงใบตราส่งมีสิทธิรับมอบสินค้า
ที่สินค้าอยู่ระหว่างการขนส่ง การครอบครองใบตราส่งนั้นท
บสินค้าให้แก่ผู้อื่นโดยการโอนใบตราส่ง
ประเภทของใบตราส่ง
แบ่งตามลักษณะของผู้ที่มีสิทธิรับสินค้านั้น
สามารถแบ่งได้ 3 ประเภทคือ
1. ใบตราส่งที่ระบุชื่อผู้รับสินค้า (Named bill of
lading)
2. ใบตราส่งชนิดตามคำาสั่ง (To order bill of
lading)
3. ใบตราส่งที่แสดงเป็นเอกสารสิทธิ (Bill of lading
as a document of title)
1. ใบตราส่งที่ระบุชื่อผู้รับสินค้า ซึ่งผู้ที่ระบุชื่อไว้
เป็นผู้มีสิทธิในสินค้า ออกใบตราส่งชนิดนี้จะไม่
สามารถสลักหลังโอนให้แก่ผู้อื่นได้จะต้องมอบ
สินค้าให้แก่ผู้ที่ระบุไว้เท่านั้น
2. ใบตราส่งชนิดตามคำาสั่ง ใบตราส่งชนิดนี้จะ
ระบุชื่อผู้ส่ง โดยการสลักหลังส่งมอบให้แก่ผู้รับ
สินค้า คือผู้ส่งสามารถสั่งให้บริษัทเรือส่งมอบ
สินค้าให้แก่บุคคลดังกล่าวและบุคคลนี้เองจะเป็นผู้
มีสิทธิรับสินค้า
ิดที่แสดงเป็นเอกสารสิทธิ ใบตราส่งชนิดนี้จะไม่มีการระบุช
ตราส่งชนิดนี้ก็เป็นผู้มีสิทธิในการรับสินค้า การโอนใบตรา
อบ ใบตราส่งออกให้แก่ผู้ถือ แต่ปัจจุบันไม่นิยมเพราะเกิดก
รับขอรับใบส่งปล่อยสินค้าจากเรือได้ แม้จะไม่ใช่ผู้มีสิทธิใ
เอกสารเพื่อการส่งออก
สำาหรับการขนส่งทางทะเล
(EXPORT DOCUMENT)
วัตถุประสงค์ใหญ่ของเอกสารเพื่อการส่งออก
เพียงจัดให้มีรายละเอียดที่สมบูรณ์ของสินค้าเพื่อ
การผ่านขั้นตอนศุลกากรได้ถูกต้องรวดเร็ว
นอกจากนั้นเอกสารยังทำาหน้าที่ในการขนส่ง การ
ชำาระเงินและพิธีการทางเครดิต การประกันภัย และ
การเรียกร้องค่าเสียหายของสินค้าอีกด้วย
1. BILL OF EXCHANGE (ตั๋วและเงินหรือดราฟท์)
เป็นตราสารที่ผู้รับประโยชน์ (ผู้ส่งออก)
เป็นผู้ส่งขายตั๋วแลกเงินคือตราสารที่เปลี่ยนมือได้
ชนิดหนึ่ง มีคำาสั่งเป็นลายลักษณ์อักษรโดยปราศจาก
เงื่อนไข ออกโดยบุคคลหนึ่งเรียกว่าผู้สั่งจ่าย
(DRAWEE) จ่ายเงินให้บุคคลที่สามเมื่อครบกำาหนด
เวลาเป็นจำานวนเงินที่แน่นอน หรือจ่ายตามคำาสั่ง
ของบุคคลที่สามนั้น
เอกสารเพื่อการส่งออก
สำาหรับการขนส่งทางทะเล
(EXPORT DOCUMENT)
2. EXPORT LICENCE (ใบอนุญาตส่งออก)
ตามปกติแล้วสินค้าที่ต้องขอใบ
อนุญาตส่งออกมักจะเป็นสินค้าจำาพวกวัตถุดิบ
เครื่องจักรหรืออุปกรณ์ที่มีการขาดแคลน สินค้าที่
ใช้ทางการทหาร หรือในบางครั้งการกำาหนดให้มี
การขอใบอนุญาตส่งออกถ้าเป็นผลมาจาก
นโยบายการเมืองระหว่างประเทศ เช่น การ
ลงโทษทางเศรษฐกิจต่อประเทศใดประเทศหนึ่ง
เป็นต้น
เอกสารเพื่อการส่งออก
สำาหรับการขนส่งทางทะเล
(EXPORT DOCUMENT)
3. CERTIFICATE OF ORIGIN (C/O) (ใบรับรอง
แหล่งกำาเนิดสินค้า)
วัตถุประสงค์หลักของเอกสารนี้คือ การ
เรียกร้องสิทธิพิเศษทางภาษีสินค้าในประเทศที่นำาเข้า
หมายถึงการส่งออกสินค้าจากประเทศกำาลังพัฒนา
รวมทั้งประเทศไทย ไปยังประเทศที่ให้สิทธิพิเศษทาง
ศุลกากรหรือเรียกว่า จี.เอส.พี (GSP) นั้น เอกสารนี้ จะ
เป็นเครื่องแสดงถึงแหล่งกำาเนิดสินค้าของประเทศผู้ส่ง
ออกเพื่อให้ประเทศนำาเข้ายอมรับและให้สิทธิพิเศษดัง
กล่าว นอกจากนี้ใบรับรองแหล่งกำาเนิดสินค้านี้จะใช้
เอกสารเพื่อการส่งออก
สำาหรับการขนส่งทางทะเล
(EXPORT DOCUMENT)
4. CERTIFICATE OF VALUE (ใบรับรองมูลค่าสินค้า)
บางครั้งมูลค่าสินค้าที่แสดงในใบกำากับ
สินค้า (INVOICE) อาจต้องได้รับการยืนยันโดยใบรับ
รองมูลค่าสินค้า ซึ่งต้องมีลายเซ็นของผู้ส่งออกกำากับ
อยู่ด้วย โดยระบุความจริงทางราคาอย่างชัดเจน หรือ
ไม่ทำาให้เข้าใจเป็นอย่างอื่น ระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขายได้
เลยในเรื่องราคาซื้อซึ่งการระบุเช่นนี้จะปรากฎใน
Consular Invoice เช่นเดียวกัน
เอกสารเพื่อการส่งออก
สำาหรับการขนส่งทางทะเล
(EXPORT DOCUMENT)
5. CERTIFICATE OF WEIGHT (ใบรับรองนำ้าหนัก
ของสินค้า)
เป็นเอกสารแสดงนำ้าหนักของสินค้าทั้ง
จำานวน อาจจะออกโดยบริษัทหรือ สำานักงานตรวจ
สอบมาตรฐานสินค้าหรือส่วนราชการ ใบรับรองนี้
อาจระบุโดยผู้ส่งออกได้ เว้นแต่เลตเตอร์ออฟเครดิต
จะระบุเป็นอย่างอื่น
ใบรับรองแสดงนำ้าหนักของสินค้า ต้อง
รับรองนำ้าหนักของสินค้าตามที่ระบุในใบกำากับสินค้า
และจะต้องไม่ขัดกับเอกสารอื่น ๆ ตามที่เลตเตอร์ออฟ
เอกสารเพื่อการส่งออก
สำาหรับการขนส่งทางทะเล
(EXPORT DOCUMENT)
6. CERTIFICATE OF INSPECTION ( ใบรับรองการ
ตรวจสอบ )
ผู้ซื้อบางรายต้องการใบรับรองการตรวจ
สอบ เพื่อแน่ใจว่าสินค้าที่สั่งซื้อนั้นเป็นไปตามมาตรา
ฐานผู้ส่งออกต้องจัดการเรื่องเหล่นี้ให้ลูกค้าของตนเอง
เอกสารเพื่อการส่งออก
สำาหรับการขนส่งทางทะเล
(EXPORT DOCUMENT)
7. CERTIFICATE OF HEALTH หนังสือรับรองคุณภาพและ
อนามัย
การส่งออกสินค้าประเภทอาหารและผลิตผล
ทางการเกษตร ประเทศผู้ซื้อสินค้าส่วนใหญ่จะมีข้อกำาหนดที่
เข้มงวดเกี่ยวกับสิ่งปนเปื้อนทั้งทางเคมีและทางจุลชีวะตลอด
จนซากสัตว์สิ่งสกปรกและสารพิษต่าง ๆ ทั้งนี้จะมีการตรวจ
วิเคราะห์อยู่เป็นประจำา สินค้าซึ่งมีการปริมาณสิ่งเจือปนดัง
กล่าวสูงกว่ากำาหนดอาจถูกกันหรือห้ามเข้า ดังนั้น การส่งออก
สินค้าอาหารและผลิตภัณฑ์ทางเกษตรจึงต้องมีหนังสือคุณภาพ
และอนามัยแสดงให้ทราบถึงความปลอดภัยในการบริโภคไป
ด้วย จึงจะอนุญาตให้นำาเข้า
- ใบรับรองคุณภาพมาตราอาหาร : Analysis
and Health Certificate
- ใบรับรองปริมาณสารปรอท : Mercury
เอกสารเพื่อการส่งออก
สำาหรับการขนส่งทางทะเล
(EXPORT DOCUMENT)
8. OCEAN BILL OF LADING ( B/L ) ( ใบตราส่ง
สินค้าทางทะเล )
เป็นเอกสารสำาคัญที่สุด เมื่อมีการส่ง
สินค้าทางทะเล Bill of Lading เป็นใบรับรอง มอบ
สินค้าของบริษัทเรือที่ทำาการส่งออก (ซึ่งจะอธิบาย
รายละเอียดต่อไป )
ใบตราส่งสินค้าทางทะเล เป็นเอกสาร
แสดงสิทธิในสินค้า และเป็นหลักฐานสัญญาของ
บริษัทเรือที่จะขนส่งสินค้าทางเรือ ของประเทศส่ง
ออกไปยังท่าเรือปลายทาง ใบตราส่งสินค้ามีหลาย
ชนิดดังนี้ คือ
เอกสารเพื่อการส่งออก
สำาหรับการขนส่งทางทะเล
(EXPORT DOCUMENT)
9. CLEAN B/L คือ
ใบตราส่งสินค้าที่บริษัทเรือไม่ได้บันทึกแจ้งข้อ
บกพร่องของสินสินค้า / หรือ การบรรจุหีบห่อ
10. NON-NEGOTIABLE OR STRAIGHT B/L
เป็นใบตราส่งสินค้าที่ยินยอมให้มีการ
ส่งมอบให้แก้ผู้รับสินค้า (CONSIGNER )ที่ระบุไว้
เท่านั้น จะโอนให้ผู้อื่นมารับไม่ได้
เอกสารเพื่อการส่งออก
สำาหรับการขนส่งทางทะเล
(EXPORT DOCUMENT)
11. ORDER B/L
ใบตราส่งสินค้าที่ออก โดยมีการส่งมอบ
สินค้าตามคำาสั่ง ( ORDER ) ปกติตามคำาสั่งของผู้ส่ง
สินค้าหรืออาจเป็นลอย ๆ ซึ่งต้องมีการสลักหลังโดยผู้
ส่งสินค้าเพื่อเป็นการโอนสิทธิ์ในสินค้าให้กับผู้ทรง
( HOLDER ) หรือผู้ที่ได้รับการโอนสิทธิ์ให้ โดย
เจาะจงการสลักหลังใบตราส่งสินค้ามาถึงแล้วเท่านั้น
เอกสารเพื่อการส่งออก
สำาหรับการขนส่งทางทะเล
(EXPORT DOCUMENT)
12. ORDER “ NOTIFY” B/L
เหมือนกับใบตราส่งสินค้าชนิด “
ORDER” เพียงแต่เพิ่มข้อความในใบตราส่งสินค้า
ว่าเมื่อสินค้าถึงเมืองท่าปลายทางแล้ว ตัวแทนบริษัท
เรือที่มีเมืองท่าปลายทาง จะแจ้งให้กับผู้รับสินค้า
ทราบการแจ้งนี้ไม่ถือเป็นการโอนกรรมสิทธิ์ ใน
สินค้านั้นให้กับผู้รับแจ้ง เพียงเป็นเรื่องแจ้งให้ทราบ
ว่าสินค้ามาถึงแล้วเท่านั้น
เอกสารเพื่อการส่งออก
สำาหรับการขนส่งทางทะเล
(EXPORT DOCUMENT)
BILL OF LADING นี้ยังแบ่งออกเป็น
13. “ THROUGH” BILL OF LANDING เป็น
ใบตราส่งออกในกรณีที่การขนส่งทั้งทางบกและทาง
ทะเล ซึ่งระบุการขนส่งไว้ตลอดทาง ปกติผู้รับขนส่งคน
แรกจะเป็นผู้ออกใบตราส่งชนิดนี้
14. “RECEIVED FOR SHIPMENT” BILL OF
LANDING เป็นใบตราส่งสินค้าชนิดที่มีลักษณะเป็น
เพียงสัญญาแสดงว่าได้รับการสินค้าไว้เพื่อจะทำาการ
ขนส่ง แต่ยังไม่เป็นที่แน่นอนว่าสินค้าได้ขึ้นเรือลำาที่
ระบุไว้เป็นการเรียบร้อยแล้ว
15. “SHIPPED ON BOARD ” BILL OF LADING
เป็นใบตราส่งซึ่งแสนดงว่าสินค้าได้ขึ้นเรือระวางเรือ
เอกสารเพื่อการส่งออก
สำาหรับการขนส่งทางทะเล
(EXPORT DOCUMENT)
17. CERTIFICATE OF FUMIGATION (ใบรับรองการ
รมยา)
สำาหรับสินค้าทุกชนิดที่เป็นผลิตภัณฑ์
จากพืช เพื่อเป็นการทายศัตรูพืชทุกชนิดนอกจากนั้น
เป็นการทำาลายเชื้อราต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ระหว่าง
การขนส่งสินค้า ดังนั้นกรรมวิธีการรมควันจึงเป็นการ
ป้องกันที่ต้นเหตุได้อย่างดี
เอกสารเพื่อการส่งออก
สำาหรับการขนส่งทางทะเล
(EXPORT DOCUMENT)
18. CUSTOMS ENTRY FORM (ใบขนสินค้าที่ใช้
ทางศุลกากรของแต่ละประเทศ)
ซึ่งจะมีใช้ทั้งการนำาสินค้าเข้าและการ
ส่งสินค้าออก โดยแต่ละประเทศจะกำาหนดขึ้นใช้ตาม
ความหมาะสม เพื่อเป็นหลักฐานในการตรวจสอบ
พิธีการ ชำาระภาษีอากร และการตรวจปล่อยสินค้า
จากการอารักขาของศุลกากร ปัจจุบันใบขนส่งสินค้า
ของกรมศุลกากรของไทยได้ใช้แบบอย่างตาม
เอกสารกระทัดรัดและสะดวกต่อการเก็บรักษาอีกด้วย
เอกสารเพื่อการส่งออก
สำาหรับการขนส่งทางทะเล
(EXPORT DOCUMENT)
19. PHYTOSANITARY CERTIFICATE (ใบรับรอง
การปลอดโรคและศัตรูของพืชทุกชนิด)
เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาด
ของโรคพืชต่าง ๆ เอกสารชนิดนี้ออกโดยหน่วยงาน
ของรัฐซึ่งได้รับการรับรองจากนานชาติ สำาหรับ
กรรมวิธีการปฏิบัตินั้นอาจใช้บริการ ศึกษาได้จาก
หัวข้อ การส่งออก สินค้าเกษตร
เอกสารเพื่อการส่งออก
สำาหรับการขนส่งทางทะเล
(EXPORT DOCUMENT)
20. CERTIFICATE OF ANALYSIS (ใบวิเคราะห์
สินค้า)
เป็นเอกสารแสดงการตรวจสอบสินค้า
ทางวิทยาศาสตร์ ให้ทราบถึงส่วนผสมต่าง ๆ ที่มีอยู่
ในสินค้าและให้การรับรองเป็นเอกสาร ถ้าเป็น
อาหารที่บริโภคได้ก็จะวิเคราะห์ออกมาว่าไม่มีสิ่ง
เจือปนที่เป็นพิษตามหลักเกณฑ์สากล หรือมาตรฐาน
ที่แต่ละประเทศกำาหนด ถ้าเป็นเคมีภัณฑ์ก็แยกออก
มาให้ทราบถึงส่วนผสมที่มีอยู่ เพื่อสะดวกแก่การนำา
สินค้าดังกล่าวเข้าประเทศ
เอกสารเพื่อการส่งออก
สำาหรับการขนส่งทางทะเล
(EXPORT DOCUMENT)
21. CERTIFICATE OF VACINATION (ใบรับรองการ
ฉีดวัคซีน)
ซึ่งใช้กับสิ่งมีชีวิตที่เป็นสินค้าทุกชนิด
เพราะสิ่งมีชีวิตเหล่านั้นอาจเป็นพาหะนำาโรคไปเผย
แพร่ทุกประเทศจึงมีการเข้มงวดกวดขันป้องกัน การจะ
นำาพาหรือส่งออกเป็นสินค้าจำาเป็นต้องมีหนังสือรับรอง
การปลอดโรค ผู้ซื้อจึงจะสามารถนำาเข้าประเทศได้
เอกสารเพื่อการส่งออก
สำาหรับการขนส่งทางทะเล
(EXPORT DOCUMENT)
22. PACKING LIST (ใบรายการบรรจุหีบห่อ)
เป็นเอกสารที่สำาคัญอย่างหนึ่งซึ่งแสดง
ให้ทราบถึงการบรรจุสินค้าลงไปในบรรจุภัณฑ์ที่ใช้
ในการขนส่งระหว่างประเทศ เพื่อสะดวกในการตรวจ
สอบสินค้าทั้งต้นทางและปลายทางสำาหรับสินค้าปกติ
เจ้าหน้าที่ศุลกากรจะใช้วิธีการสุ่มตรวจตามอัตราส่วน
ที่เหมาะสม โดยจะไม่ทำาการตรวจสินค้าทั้งหมดด้วย
การเปิดหีบห่อ ซึ่งอาจทำาให้บรรจุภัณฑ์และสินค้าเกิด
การเสียหายหรือสูญหายได้ ดังนั้น ใบรายการบรรจุ
หีบห่อควรรายละเอียดให้เพียงพอ
เอกสารเพื่อการส่งออก
สำาหรับการขนส่งทางทะเล
(EXPORT DOCUMENT)
23. SANITARY CERTIFICATE (ใบรับรองการตรวจ
สอบอาหารที่เป็นของสดหรือแช่แข็ง)
ใบรับรองประเภทนี้จะออกให้แก่ผู้ส่ง
ออก เพื่อรับรองว่าผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสัตว์ที่ส่งออกไป
ปลอดโรคและสิ่งปนเปื้อนที่จะเป็นอัตรายต่อผู้บริโภค
ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามข้อกำาหนดตามมาตรฐานหรือข้อ
กำาหนดที่ประเทศผู้ซื้อกำาหนดด้วย สำาหรับหน่วยงาน
ที่มีอำานาจออกหนังสือรับรองประเภทนี้เป็นไปตาม
ส่วนที่เกี่ยวข้อง เช่น สินค้าประเภทสัตว์นำ้าจะออก
ใบรับรองโดย กรมประมง เป็นต้น
เอกสารเพื่อการส่งออก
สำาหรับการขนส่งทางทะเล
(EXPORT DOCUMENT)
THANK YOU

More Related Content

More from Khwanchai Changkerd

การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 2
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 2การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 2
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 2Khwanchai Changkerd
 
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 1
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 1การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 1
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 1Khwanchai Changkerd
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 10 ศูนย์ศรีราชา
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 10 ศูนย์ศรีราชาวิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 10 ศูนย์ศรีราชา
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 10 ศูนย์ศรีราชาKhwanchai Changkerd
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 7
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 7วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 7
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 7Khwanchai Changkerd
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 5
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 5วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 5
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 5Khwanchai Changkerd
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 2
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 2วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 2
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 2Khwanchai Changkerd
 

More from Khwanchai Changkerd (7)

การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 2
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 2การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 2
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 2
 
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 1
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 1การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 1
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 1
 
Multimodal Transportation 2
Multimodal Transportation 2Multimodal Transportation 2
Multimodal Transportation 2
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 10 ศูนย์ศรีราชา
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 10 ศูนย์ศรีราชาวิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 10 ศูนย์ศรีราชา
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 10 ศูนย์ศรีราชา
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 7
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 7วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 7
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 7
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 5
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 5วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 5
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 5
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 2
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 2วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 2
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 2
 

วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 4

  • 2. เอกสารอ้างอิง • เอกสารอ้างอิง กรมการขนส่งทางนำ้า และพานิชยนาวี กระทรวง คมนาคม • หนังสือการจัดการกิจการพานิชยนาวี ผศ.น.ท.สำาราญ ทองเล็ก 2551 • กรมศุลกากร
  • 3. นการปฏิบัติพิธีการนำาเข้าสินค้า นการปฏิบัติพิธีการส่งออกสินค้า นการนำาตู้สินค้า (FCL) ขาเข้า ออกจากท่าเรือ นการนำาตู้สินค้า (LCL) ขาเข้า ออกจากท่าเรือ นการนำาตู้สินค้า (FCL) ขาออก เข้าเขตท่าเรือก นการนำาตู้สินค้า (LCL) เข้ามาบรรจุในเขตท่าเ รเรือ
  • 4. ตอนการปฏิบัติพิธีการนำาเข้าสินค้า 1.ผู้นำาเข้าหรือตัวแทนบันทึกข้อมูลบัญชี ราคาสินค้า (Invoice) ทุกรายการ เข้าสู้ระบบคอมพิวเตอร์ของตนเองหรือผ่าน Service Counterโดยโปรแกรม คอมพิวเตอร์ จะแปลงข้อมูลราคาสินค้าให้เป็น ข้อมูลใบขนสินค้าโดยอัตโนมัติ และให้ผู้นำาเข้าหรือตัวส่งเฉพาะข้อมูลใบขน สินค้ามาเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ของ กรมศุลกากร 2. เครื่องคอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากรจะ ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้นในใบ
  • 5. ะบบของกรมศุลกากรจะตรวจสอบข้อมูลในใบขนส ถ้วนแล้ว จะออกเลขที่ใบขนสินค้า พร้อมกับตรวจ งๆที่กรมศุลกากรกำาหนด เพื่อจัดกลุ่มใบ ขนสินค้าข วจสอบพิธีการเป็น 2 ประเภท นค้าขาเข้าประเภทที่ไม่ต้องตรวจสอบพิธีการ (Gre สั่งการตรวจ หลังจากนั้นผู้นำาเข้าหรือตัวแทนสามา าไปชำาระภาษีอากรและรับการตรวจปล่อยสินค้าได นค้าขาเข้าประเภทที่ต้องตรวจสอบพิธีการ (Red Li อตัวแทน ต้องนำาใบขนสินค้าไปติดต่อกับหน่วยงาน าที่นำาของเข้า ตอนการปฏิบัติพิธีการนำาเข้าสินค้า
  • 7. ตอนการปฏิบัติพิธีการส่งออกสินค้า กหรือตัวแทนส่งข้อมูลใบขนสินค้าขาออกและบัญช าสู้ระบบของผู้ส่งออกหรือตัวแทนมายังคอมพิวเตอร ผู้ให้บริการระบบแลกเปลี่ยนข้อมูล อิเล็กทรอนิค (E องกรมศุลกากรจะตรวจสอบข้อมูลในใบขนสินค้าท นแล้ว จะออกเลขที่ใบขนสินค้าขาออกและตรวจสอ ที่กรมศุลกากรกำาหนดไว้ ขนสินค้าขาออกเป็น 2 ประเภท ดังต่อไปนี้ และแจ วแทน เพื่อจัดพิมพ์ใบขนสินค้า ค้าขาเข้าประเภทที่ไม่ต้องตรวจสอบพิธีการ (Green ค้าขาเข้าประเภทที่ต้องตรวจสอบพิธีการ (Red Line
  • 8. - (Green Line) ใบขนสินค้าขาเข้าประเภทที่ ไม่ต้องตรวจสอบพิธีการ - (Red Line ) ใบขนสินค้าขาเข้าประเภทที่ต้อง ตรวจสอบพิธีการ - FCLหรือ Full ContainerLoading เรียกว่า คอนเทนเนอร์แบบเต็มตู้ - LCL หรือ Lacking ContainerLoading เรียกว่า แบบไม่เต็มตู้ - แบบ กศก.49 ใบกำากับคอนเทนเนอร์ FCL - แบบ คบต.05 แบบรับรองการเตรียมตู้สินค้า เปล่าเพื่อบรรจุสินค้า
  • 9. ารนำาตู้สินค้า (FCL) ขาเข้า ออกจากท่าเร หรือตัวแทนยื่นใบขนส่งขาเข้าละยื่นเอกสารที่จำาเป็นใก้กับเ อบ เพื่อชำาระภาษีอากร ค้าศุลกากร ทำาการลงทะเบียน รับชำาระขนสินค้าขาเข้าแล จสอบ น้าที่ตรวจสินค้า พร้อมกำาหนดหมายเลขตู้สินค้า มของเพื่อตรวจ และบันทึกรายการตรวจปล่อยในเอกสารส อบภายใน ตรวจสอบใบอนุญาตให้รถเข้าไปรับตู้สินค้า แล ทับตรายางเลขช่องที่ผ่านเข้า และอนุญาตให้นำารถเข้าไปร หมายเลขตู้สินค้า หรือหมายเลข B/L และหมายเลข Placa
  • 10. ถรับ Placard พร้อมใบอนุญาตให้รถเข้าไปรับดู้สินค าหรือตัวแทนประทับตราเพื่อเลือกรายการชำาระค่าภ นค้าของบริษัทตัวแทนเรือ พร้อมสำาเนา 1 ฉบับ แล ระและออกใบเสร็จรับเงินพร้อมใบรับของจากท่าเรือ สารใบรับของจากท่าเรือกรุงเทพ และใบสั่งปล่อยสิน โดยตรวจให้ตรงกับใบสั่งปล่อยสินค้าที่ได้รับจากศ ล่อยโดย บันทึกหมายเลขใบสั่งปล่อยสินค้าเข้าระบ ารนำาตู้สินค้า (FCL) ขาเข้า ออกจากท่าเร
  • 11. 10. พนักงานขับรถรับตู้สินค้ามาที่ด่านตรวจสอบ ภายในขาออก พร้อมคืน Placard และใบอนุญาตให้นำารถเข้าไปรับตู้สินค้า ต้นฉบับพนักงานด่านตรวจสอบตรวจ สภาพตู้สินค้าและตราผนึก แล้วบันทึกข้อมูลตู้ สินค้า พร้อมตรวจสอบเลขที่ใบ สั่งปล่อยที่หน้าจอคอมพิวเตอร์ และบันทึก หมายเลขทะเบียนรถพร้อมทั้งพิมพ์ เอกสารใบกำากับสินค้า และลงนามส่งมอบ รับ มอบตู้สินค้าในเอกสารใบกำากับสินค้า 11. พนักงานขับรถยื่นเอกสารใบกำากับสินค้าให้ ารนำาตู้สินค้า (FCL) ขาเข้า ออกจากท่าเร
  • 18. ารนำาตู้สินค้า (LCL) ขาเข้า ออกจากท่าเร 1. เจ้าของสินค้าหรือตัวแทนยื่นใบขนสินค้าขาเข้า และ Slip ให้เจ้าหน้าที่ศุลกากรตรวจสอบ 2. ลงทะเบียนใบขนส่งสินค้าและตัดบัญชี 3. เตรียมซองและตรวจปล่อยสินค้า 4. ส่งใบสั่งปล่อยสินค้าให้เจ้าหน้าที่การท่าเรือ 5. ยื่นเอกสารใบส่งปล่อยสินค้าของบริษัทตัวแทนเรือ พร้อมสำานำา 1 หรือ 2 ฉบับ และประทับตรา เพื่อเลือก รายการชำาระค่าภาระด้านหลังเอกสาร
  • 19. ารนำาตู้สินค้า (LCL) ขาเข้า ออกจากท่าเร 6. ชำาระค่าภาระสินค้า 7. รับใบเสร็จรับเงิน และใบรับรองของท่าเรือ 8. รับใบอนุญาตให้เข้าเขตท่าเรือกรุงเทพ ใบกำากับ สินค้า 9. เจ้าของสินค้าหรือตัวแทนยื่นใบสั่งปล่อยสินค้า ของบริษัทตัวแทนเรือ ใบเสร็จรับเงินและใบรับรอง จากท่าเรือให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบและบันทึกข้อมูล
  • 20. ารนำาตู้สินค้า (LCL) ขาเข้า ออกจากท่าเร 10. ดำาเนินการตรวจปล่อย 11. เจ้าหน้าที่การท่าเรือ รับใบปล่อยสินค้าจากเจ้า หน้าที่ศุลกากรแล้วบันทึกหมายเลขใบสั่งปล่อยใน ใบรับของท่าเรือ 12. หัวหน้าโรงพักสินค้า/คลังสินค้า ลงนามพร้อม กำาหนดพนักงานปล่อยสินค้าในใบรับรองของจาก ท่าเรือ 13. รับกำากับสินค้าและ Silp จากพนักงานปล่อยสินค้า 14. เจ้าของสินค้าหรือตัวแทนยื่นใบกำากับสินค้า และ Silp ให้เจ้าหน้าที่ ที่สถานีตรวจสินค้าตรวจความถูก ต้อง ก่อนนำารถบรรทุกออกจากท่าเรือกรุงเทพ
  • 21. ารนำาตู้สินค้า (FCL) ขาออก เข้าเขตท่าเร 1. ยื่นแบบขอนำาตู้สินค้าผ่านท่าเข้าเขตท่าเรือ กรุงเทพ ที่แผนกสารสนเทศ กองท่าบริการตู้สินค้า 1,2 ก่อนนำาตู้สินค้าผ่านเข้า 1 ชม 2. ยื่นใบกำากับคอนเทนเนอร์ (กศก.49) ให้เจ้าหน้า ศุลกากรที่สถานีตรวจสอบสินค้า 3. รับชำาระค่ายานพาหนะผ่านท่า และค่าภาระยกตู้ สินค้า
  • 22. ารนำาตู้สินค้า (FCL) ขาออก เข้าเขตท่าเร 4. บันทึกข้อมูลหมายเลขตู้สินค้า นำ้าหนัก ทะเบียนรถ บรรทุก พร้อมทั้งตรวจสอบสภาพตู้สินค้า 5. รับยื่นใบกำากับคอนเทนเนอร์ (กศก.49) 6. จัดพิมพ์ใบตรวจรับสภาพตู้สินค้า (EIR) และแจ้ง ตำาแหน่งที่กองเก็บตู้สินค้า 7. รอการบรรทุกลงเรือ
  • 23. ารนำาตู้สินค้า (LCL) เข้ามาบรรจุในท่าเรือ 1. จัดเตรียมสินค้าและเตรียมตู้เพื่อการบรรจุ พร้อม จองเที่ยวเรือ 2. ยื่นเอกสาร คบต.05 ที่สถานีตรวจสอบ และชำาระค่า ยานพาหนะผ่านท่า และค่าภาระยกขนสินค้า 3. นำารถบรรทุกเข้าลานบรรจุสินค้า 4. ยื่นเอกสารใบขนสินค้า เพื่อให้ศุลกากรตรวจปล่อย สินค้าขาออกบรรจุเข้าตู้ 5. ส่งสรุป คบต.01 ให้แผนกควบคุมสินค้า
  • 24. ารนำาตู้สินค้า (LCL) เข้ามาบรรจุในท่าเรือ 6. รับมอบตู้สินค้าเปล่าจากแผนกตู้ควบคุมตู้สินค้าเปล่า บันทึกข้อมูลและจัดเรียงลงในพื้นที่ของแต่ละบริษัท 7. ลงนามอนุญาตเอกสาร คบต.05 ให้นำารถบรรทุก สินค้าเข้าลาน 8. ควบคุมการบรรจุสินค้าเข้าตู้ 9. ส่งมอบตู้สินค้าให้กองท่าบริการตู้สินค้า 1,2 10. กองท่าบริการตู้สินค้า 1,2 รับมอบตู้สินค้าขาออก เพื่อรอการบรรทุกลงเรือ
  • 26. ใบตราส่ง (Bill of Lading) ใบตราส่งเป็นเอกสารที่ผู้ขนส่งออกให้แก่ผู้ส่ง สินค้าเพื่อเป็นหลักฐานที่แสดงว่า ผู้ขนส่งได้รับ สินค้าบรรทุกลงเรือแล้ว และผู้ขนส่งรับที่จะส่ง มอบสินค้าให้แก่ผู้มีสิทธิรับสินค้านั้น เมื่อได้รับ ใบตราส่งคืน
  • 27. บตราส่งมีหน้าที่ 3 ประการ คือ vidence of Contract) ของสัญญาการขนส่งสินค้าโดยปก นไขหรือข้อตกลงต่างๆ ของสัญญาขนส่ง (Bill of lading as a receipt) ที่แสดงส่งสินค้าถูกบรรทุกล ละสภาพสินค้าเมื่อผู้ขนส่งได้รับมอบสินค้าหรือได้บรรทุกสิน กใบตราส่งชนิดบรรทุกสินค้าให้ ทธิ (Bill of lading as a document of title) ที่ผู้ขนส่งจะต ตราส่งแสดงการครอบครองใบตราส่งก็เท่ากับครอบครองส อบครองใบตราส่งทำาให้ผู้ทรงใบตราส่งมีสิทธิรับมอบสินค้า ที่สินค้าอยู่ระหว่างการขนส่ง การครอบครองใบตราส่งนั้นท บสินค้าให้แก่ผู้อื่นโดยการโอนใบตราส่ง
  • 28. ประเภทของใบตราส่ง แบ่งตามลักษณะของผู้ที่มีสิทธิรับสินค้านั้น สามารถแบ่งได้ 3 ประเภทคือ 1. ใบตราส่งที่ระบุชื่อผู้รับสินค้า (Named bill of lading) 2. ใบตราส่งชนิดตามคำาสั่ง (To order bill of lading) 3. ใบตราส่งที่แสดงเป็นเอกสารสิทธิ (Bill of lading as a document of title)
  • 29. 1. ใบตราส่งที่ระบุชื่อผู้รับสินค้า ซึ่งผู้ที่ระบุชื่อไว้ เป็นผู้มีสิทธิในสินค้า ออกใบตราส่งชนิดนี้จะไม่ สามารถสลักหลังโอนให้แก่ผู้อื่นได้จะต้องมอบ สินค้าให้แก่ผู้ที่ระบุไว้เท่านั้น 2. ใบตราส่งชนิดตามคำาสั่ง ใบตราส่งชนิดนี้จะ ระบุชื่อผู้ส่ง โดยการสลักหลังส่งมอบให้แก่ผู้รับ สินค้า คือผู้ส่งสามารถสั่งให้บริษัทเรือส่งมอบ สินค้าให้แก่บุคคลดังกล่าวและบุคคลนี้เองจะเป็นผู้ มีสิทธิรับสินค้า ิดที่แสดงเป็นเอกสารสิทธิ ใบตราส่งชนิดนี้จะไม่มีการระบุช ตราส่งชนิดนี้ก็เป็นผู้มีสิทธิในการรับสินค้า การโอนใบตรา อบ ใบตราส่งออกให้แก่ผู้ถือ แต่ปัจจุบันไม่นิยมเพราะเกิดก รับขอรับใบส่งปล่อยสินค้าจากเรือได้ แม้จะไม่ใช่ผู้มีสิทธิใ
  • 30. เอกสารเพื่อการส่งออก สำาหรับการขนส่งทางทะเล (EXPORT DOCUMENT) วัตถุประสงค์ใหญ่ของเอกสารเพื่อการส่งออก เพียงจัดให้มีรายละเอียดที่สมบูรณ์ของสินค้าเพื่อ การผ่านขั้นตอนศุลกากรได้ถูกต้องรวดเร็ว นอกจากนั้นเอกสารยังทำาหน้าที่ในการขนส่ง การ ชำาระเงินและพิธีการทางเครดิต การประกันภัย และ การเรียกร้องค่าเสียหายของสินค้าอีกด้วย
  • 31. 1. BILL OF EXCHANGE (ตั๋วและเงินหรือดราฟท์) เป็นตราสารที่ผู้รับประโยชน์ (ผู้ส่งออก) เป็นผู้ส่งขายตั๋วแลกเงินคือตราสารที่เปลี่ยนมือได้ ชนิดหนึ่ง มีคำาสั่งเป็นลายลักษณ์อักษรโดยปราศจาก เงื่อนไข ออกโดยบุคคลหนึ่งเรียกว่าผู้สั่งจ่าย (DRAWEE) จ่ายเงินให้บุคคลที่สามเมื่อครบกำาหนด เวลาเป็นจำานวนเงินที่แน่นอน หรือจ่ายตามคำาสั่ง ของบุคคลที่สามนั้น เอกสารเพื่อการส่งออก สำาหรับการขนส่งทางทะเล (EXPORT DOCUMENT)
  • 32. 2. EXPORT LICENCE (ใบอนุญาตส่งออก) ตามปกติแล้วสินค้าที่ต้องขอใบ อนุญาตส่งออกมักจะเป็นสินค้าจำาพวกวัตถุดิบ เครื่องจักรหรืออุปกรณ์ที่มีการขาดแคลน สินค้าที่ ใช้ทางการทหาร หรือในบางครั้งการกำาหนดให้มี การขอใบอนุญาตส่งออกถ้าเป็นผลมาจาก นโยบายการเมืองระหว่างประเทศ เช่น การ ลงโทษทางเศรษฐกิจต่อประเทศใดประเทศหนึ่ง เป็นต้น เอกสารเพื่อการส่งออก สำาหรับการขนส่งทางทะเล (EXPORT DOCUMENT)
  • 33. 3. CERTIFICATE OF ORIGIN (C/O) (ใบรับรอง แหล่งกำาเนิดสินค้า) วัตถุประสงค์หลักของเอกสารนี้คือ การ เรียกร้องสิทธิพิเศษทางภาษีสินค้าในประเทศที่นำาเข้า หมายถึงการส่งออกสินค้าจากประเทศกำาลังพัฒนา รวมทั้งประเทศไทย ไปยังประเทศที่ให้สิทธิพิเศษทาง ศุลกากรหรือเรียกว่า จี.เอส.พี (GSP) นั้น เอกสารนี้ จะ เป็นเครื่องแสดงถึงแหล่งกำาเนิดสินค้าของประเทศผู้ส่ง ออกเพื่อให้ประเทศนำาเข้ายอมรับและให้สิทธิพิเศษดัง กล่าว นอกจากนี้ใบรับรองแหล่งกำาเนิดสินค้านี้จะใช้ เอกสารเพื่อการส่งออก สำาหรับการขนส่งทางทะเล (EXPORT DOCUMENT)
  • 34. 4. CERTIFICATE OF VALUE (ใบรับรองมูลค่าสินค้า) บางครั้งมูลค่าสินค้าที่แสดงในใบกำากับ สินค้า (INVOICE) อาจต้องได้รับการยืนยันโดยใบรับ รองมูลค่าสินค้า ซึ่งต้องมีลายเซ็นของผู้ส่งออกกำากับ อยู่ด้วย โดยระบุความจริงทางราคาอย่างชัดเจน หรือ ไม่ทำาให้เข้าใจเป็นอย่างอื่น ระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขายได้ เลยในเรื่องราคาซื้อซึ่งการระบุเช่นนี้จะปรากฎใน Consular Invoice เช่นเดียวกัน เอกสารเพื่อการส่งออก สำาหรับการขนส่งทางทะเล (EXPORT DOCUMENT)
  • 35. 5. CERTIFICATE OF WEIGHT (ใบรับรองนำ้าหนัก ของสินค้า) เป็นเอกสารแสดงนำ้าหนักของสินค้าทั้ง จำานวน อาจจะออกโดยบริษัทหรือ สำานักงานตรวจ สอบมาตรฐานสินค้าหรือส่วนราชการ ใบรับรองนี้ อาจระบุโดยผู้ส่งออกได้ เว้นแต่เลตเตอร์ออฟเครดิต จะระบุเป็นอย่างอื่น ใบรับรองแสดงนำ้าหนักของสินค้า ต้อง รับรองนำ้าหนักของสินค้าตามที่ระบุในใบกำากับสินค้า และจะต้องไม่ขัดกับเอกสารอื่น ๆ ตามที่เลตเตอร์ออฟ เอกสารเพื่อการส่งออก สำาหรับการขนส่งทางทะเล (EXPORT DOCUMENT)
  • 36. 6. CERTIFICATE OF INSPECTION ( ใบรับรองการ ตรวจสอบ ) ผู้ซื้อบางรายต้องการใบรับรองการตรวจ สอบ เพื่อแน่ใจว่าสินค้าที่สั่งซื้อนั้นเป็นไปตามมาตรา ฐานผู้ส่งออกต้องจัดการเรื่องเหล่นี้ให้ลูกค้าของตนเอง เอกสารเพื่อการส่งออก สำาหรับการขนส่งทางทะเล (EXPORT DOCUMENT)
  • 37. 7. CERTIFICATE OF HEALTH หนังสือรับรองคุณภาพและ อนามัย การส่งออกสินค้าประเภทอาหารและผลิตผล ทางการเกษตร ประเทศผู้ซื้อสินค้าส่วนใหญ่จะมีข้อกำาหนดที่ เข้มงวดเกี่ยวกับสิ่งปนเปื้อนทั้งทางเคมีและทางจุลชีวะตลอด จนซากสัตว์สิ่งสกปรกและสารพิษต่าง ๆ ทั้งนี้จะมีการตรวจ วิเคราะห์อยู่เป็นประจำา สินค้าซึ่งมีการปริมาณสิ่งเจือปนดัง กล่าวสูงกว่ากำาหนดอาจถูกกันหรือห้ามเข้า ดังนั้น การส่งออก สินค้าอาหารและผลิตภัณฑ์ทางเกษตรจึงต้องมีหนังสือคุณภาพ และอนามัยแสดงให้ทราบถึงความปลอดภัยในการบริโภคไป ด้วย จึงจะอนุญาตให้นำาเข้า - ใบรับรองคุณภาพมาตราอาหาร : Analysis and Health Certificate - ใบรับรองปริมาณสารปรอท : Mercury เอกสารเพื่อการส่งออก สำาหรับการขนส่งทางทะเล (EXPORT DOCUMENT)
  • 38. 8. OCEAN BILL OF LADING ( B/L ) ( ใบตราส่ง สินค้าทางทะเล ) เป็นเอกสารสำาคัญที่สุด เมื่อมีการส่ง สินค้าทางทะเล Bill of Lading เป็นใบรับรอง มอบ สินค้าของบริษัทเรือที่ทำาการส่งออก (ซึ่งจะอธิบาย รายละเอียดต่อไป ) ใบตราส่งสินค้าทางทะเล เป็นเอกสาร แสดงสิทธิในสินค้า และเป็นหลักฐานสัญญาของ บริษัทเรือที่จะขนส่งสินค้าทางเรือ ของประเทศส่ง ออกไปยังท่าเรือปลายทาง ใบตราส่งสินค้ามีหลาย ชนิดดังนี้ คือ เอกสารเพื่อการส่งออก สำาหรับการขนส่งทางทะเล (EXPORT DOCUMENT)
  • 39. 9. CLEAN B/L คือ ใบตราส่งสินค้าที่บริษัทเรือไม่ได้บันทึกแจ้งข้อ บกพร่องของสินสินค้า / หรือ การบรรจุหีบห่อ 10. NON-NEGOTIABLE OR STRAIGHT B/L เป็นใบตราส่งสินค้าที่ยินยอมให้มีการ ส่งมอบให้แก้ผู้รับสินค้า (CONSIGNER )ที่ระบุไว้ เท่านั้น จะโอนให้ผู้อื่นมารับไม่ได้ เอกสารเพื่อการส่งออก สำาหรับการขนส่งทางทะเล (EXPORT DOCUMENT)
  • 40. 11. ORDER B/L ใบตราส่งสินค้าที่ออก โดยมีการส่งมอบ สินค้าตามคำาสั่ง ( ORDER ) ปกติตามคำาสั่งของผู้ส่ง สินค้าหรืออาจเป็นลอย ๆ ซึ่งต้องมีการสลักหลังโดยผู้ ส่งสินค้าเพื่อเป็นการโอนสิทธิ์ในสินค้าให้กับผู้ทรง ( HOLDER ) หรือผู้ที่ได้รับการโอนสิทธิ์ให้ โดย เจาะจงการสลักหลังใบตราส่งสินค้ามาถึงแล้วเท่านั้น เอกสารเพื่อการส่งออก สำาหรับการขนส่งทางทะเล (EXPORT DOCUMENT)
  • 41. 12. ORDER “ NOTIFY” B/L เหมือนกับใบตราส่งสินค้าชนิด “ ORDER” เพียงแต่เพิ่มข้อความในใบตราส่งสินค้า ว่าเมื่อสินค้าถึงเมืองท่าปลายทางแล้ว ตัวแทนบริษัท เรือที่มีเมืองท่าปลายทาง จะแจ้งให้กับผู้รับสินค้า ทราบการแจ้งนี้ไม่ถือเป็นการโอนกรรมสิทธิ์ ใน สินค้านั้นให้กับผู้รับแจ้ง เพียงเป็นเรื่องแจ้งให้ทราบ ว่าสินค้ามาถึงแล้วเท่านั้น เอกสารเพื่อการส่งออก สำาหรับการขนส่งทางทะเล (EXPORT DOCUMENT)
  • 42. BILL OF LADING นี้ยังแบ่งออกเป็น 13. “ THROUGH” BILL OF LANDING เป็น ใบตราส่งออกในกรณีที่การขนส่งทั้งทางบกและทาง ทะเล ซึ่งระบุการขนส่งไว้ตลอดทาง ปกติผู้รับขนส่งคน แรกจะเป็นผู้ออกใบตราส่งชนิดนี้ 14. “RECEIVED FOR SHIPMENT” BILL OF LANDING เป็นใบตราส่งสินค้าชนิดที่มีลักษณะเป็น เพียงสัญญาแสดงว่าได้รับการสินค้าไว้เพื่อจะทำาการ ขนส่ง แต่ยังไม่เป็นที่แน่นอนว่าสินค้าได้ขึ้นเรือลำาที่ ระบุไว้เป็นการเรียบร้อยแล้ว 15. “SHIPPED ON BOARD ” BILL OF LADING เป็นใบตราส่งซึ่งแสนดงว่าสินค้าได้ขึ้นเรือระวางเรือ เอกสารเพื่อการส่งออก สำาหรับการขนส่งทางทะเล (EXPORT DOCUMENT)
  • 43. 17. CERTIFICATE OF FUMIGATION (ใบรับรองการ รมยา) สำาหรับสินค้าทุกชนิดที่เป็นผลิตภัณฑ์ จากพืช เพื่อเป็นการทายศัตรูพืชทุกชนิดนอกจากนั้น เป็นการทำาลายเชื้อราต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ระหว่าง การขนส่งสินค้า ดังนั้นกรรมวิธีการรมควันจึงเป็นการ ป้องกันที่ต้นเหตุได้อย่างดี เอกสารเพื่อการส่งออก สำาหรับการขนส่งทางทะเล (EXPORT DOCUMENT)
  • 44. 18. CUSTOMS ENTRY FORM (ใบขนสินค้าที่ใช้ ทางศุลกากรของแต่ละประเทศ) ซึ่งจะมีใช้ทั้งการนำาสินค้าเข้าและการ ส่งสินค้าออก โดยแต่ละประเทศจะกำาหนดขึ้นใช้ตาม ความหมาะสม เพื่อเป็นหลักฐานในการตรวจสอบ พิธีการ ชำาระภาษีอากร และการตรวจปล่อยสินค้า จากการอารักขาของศุลกากร ปัจจุบันใบขนส่งสินค้า ของกรมศุลกากรของไทยได้ใช้แบบอย่างตาม เอกสารกระทัดรัดและสะดวกต่อการเก็บรักษาอีกด้วย เอกสารเพื่อการส่งออก สำาหรับการขนส่งทางทะเล (EXPORT DOCUMENT)
  • 45. 19. PHYTOSANITARY CERTIFICATE (ใบรับรอง การปลอดโรคและศัตรูของพืชทุกชนิด) เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาด ของโรคพืชต่าง ๆ เอกสารชนิดนี้ออกโดยหน่วยงาน ของรัฐซึ่งได้รับการรับรองจากนานชาติ สำาหรับ กรรมวิธีการปฏิบัตินั้นอาจใช้บริการ ศึกษาได้จาก หัวข้อ การส่งออก สินค้าเกษตร เอกสารเพื่อการส่งออก สำาหรับการขนส่งทางทะเล (EXPORT DOCUMENT)
  • 46. 20. CERTIFICATE OF ANALYSIS (ใบวิเคราะห์ สินค้า) เป็นเอกสารแสดงการตรวจสอบสินค้า ทางวิทยาศาสตร์ ให้ทราบถึงส่วนผสมต่าง ๆ ที่มีอยู่ ในสินค้าและให้การรับรองเป็นเอกสาร ถ้าเป็น อาหารที่บริโภคได้ก็จะวิเคราะห์ออกมาว่าไม่มีสิ่ง เจือปนที่เป็นพิษตามหลักเกณฑ์สากล หรือมาตรฐาน ที่แต่ละประเทศกำาหนด ถ้าเป็นเคมีภัณฑ์ก็แยกออก มาให้ทราบถึงส่วนผสมที่มีอยู่ เพื่อสะดวกแก่การนำา สินค้าดังกล่าวเข้าประเทศ เอกสารเพื่อการส่งออก สำาหรับการขนส่งทางทะเล (EXPORT DOCUMENT)
  • 47. 21. CERTIFICATE OF VACINATION (ใบรับรองการ ฉีดวัคซีน) ซึ่งใช้กับสิ่งมีชีวิตที่เป็นสินค้าทุกชนิด เพราะสิ่งมีชีวิตเหล่านั้นอาจเป็นพาหะนำาโรคไปเผย แพร่ทุกประเทศจึงมีการเข้มงวดกวดขันป้องกัน การจะ นำาพาหรือส่งออกเป็นสินค้าจำาเป็นต้องมีหนังสือรับรอง การปลอดโรค ผู้ซื้อจึงจะสามารถนำาเข้าประเทศได้ เอกสารเพื่อการส่งออก สำาหรับการขนส่งทางทะเล (EXPORT DOCUMENT)
  • 48. 22. PACKING LIST (ใบรายการบรรจุหีบห่อ) เป็นเอกสารที่สำาคัญอย่างหนึ่งซึ่งแสดง ให้ทราบถึงการบรรจุสินค้าลงไปในบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ ในการขนส่งระหว่างประเทศ เพื่อสะดวกในการตรวจ สอบสินค้าทั้งต้นทางและปลายทางสำาหรับสินค้าปกติ เจ้าหน้าที่ศุลกากรจะใช้วิธีการสุ่มตรวจตามอัตราส่วน ที่เหมาะสม โดยจะไม่ทำาการตรวจสินค้าทั้งหมดด้วย การเปิดหีบห่อ ซึ่งอาจทำาให้บรรจุภัณฑ์และสินค้าเกิด การเสียหายหรือสูญหายได้ ดังนั้น ใบรายการบรรจุ หีบห่อควรรายละเอียดให้เพียงพอ เอกสารเพื่อการส่งออก สำาหรับการขนส่งทางทะเล (EXPORT DOCUMENT)
  • 49. 23. SANITARY CERTIFICATE (ใบรับรองการตรวจ สอบอาหารที่เป็นของสดหรือแช่แข็ง) ใบรับรองประเภทนี้จะออกให้แก่ผู้ส่ง ออก เพื่อรับรองว่าผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสัตว์ที่ส่งออกไป ปลอดโรคและสิ่งปนเปื้อนที่จะเป็นอัตรายต่อผู้บริโภค ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามข้อกำาหนดตามมาตรฐานหรือข้อ กำาหนดที่ประเทศผู้ซื้อกำาหนดด้วย สำาหรับหน่วยงาน ที่มีอำานาจออกหนังสือรับรองประเภทนี้เป็นไปตาม ส่วนที่เกี่ยวข้อง เช่น สินค้าประเภทสัตว์นำ้าจะออก ใบรับรองโดย กรมประมง เป็นต้น เอกสารเพื่อการส่งออก สำาหรับการขนส่งทางทะเล (EXPORT DOCUMENT)