SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
การรถไฟแห่งประเทศไทย
การรถไฟแห่งประเทศไทย เป็นรัฐวิสาหกิจในกระทรวงคมนาคม ทาหน้าที่ดูแลกิจการด้านรถไฟของ
ประเทศไทย มีทางรถไฟอยู่ภายใต้ขอบเขคดาเนินการทั้งหมด 4,070 กิโลเมตร โดยมากกว่า 3,600
กิโลเมตรสร้างในยุคที่ไทยปกครองด้วยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช
รฟท. เป็นรัฐวิสาหกิจของไทยที่มีผลการดาเนินงานขาดทุนมากที่สุด คือ 7,584 ล้านบาท โดยมี
สาเหตุมาจากความบกพร่องในการจัดการบริหารการเดินรถและพื้นที่ในครอบครอง ความเร็วเฉลี่ยของรถไฟไทย
อยู่ที่ 30 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
ประวัติ
วันที่ 26 มีนาคม เป็น วันสถาปนากิจการรถไฟ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกาแพงเพ็ชรอัคร
โยธิน ดารงตาแหน่งผู้บัญชาการกรมรถไฟหลวงพระองค์แรก
เนื่องมาจากนโยบายขยายอาณานิคมของอังกฤษและฝรั่งเศส แผ่มาครอบคลุมบริเวณเหลมอินโด
จีน พระองค์ท่านทรงตระหนักถึงความสาคัญของการคมนาคม โดยเส้นทางรถไฟ เพราะการใช้แต่ทางเกวียนและ
แม่น้าลาคลองเป็นพื้นนั้น ไม่เพียงพอแก่การบารุงรักษาพระราชอาณาเขต ราษฎรที่อยู่ห่างไกลจากเมืองหลวงมี
จิตใจโน้มเอียงไปทางประเทศใกล้เคียง สมควรที่จะสร้างทางรถไฟขึ้นในประเทศเพื่อติดต่อกับมณฑลชายแดนก่อน
อื่น ทั้งนี้เพื่อสะดวกแก่การปกครอง ตรวจตราป้องกันการรุกรานเป็นการเปิดภูมิประเทศให้ประชาชนพลเมืองเข้า
บุกเบิกพื้นที่รกร้างว่างเปล่า ให้เป็นประโยชน์ทางเศรษฐกิจของประเทศ และจะเป็นเส้นทางขนส่งผู้โดยสารและ
สินค้าไปมาถึงกันได้ง่ายยิ่งขึ้น ดังนั้น ในปี พ.ศ. 2430 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ เซอร์แอนดรู
คลาก และบริษัทปันชาร์ด แมกทักการ์ด โลเธอร์ ดาเนินการสารวจเพื่อ สร้างทางรถไฟจาก กรุงเทพฯ -
นครราชสีมา และมีทางแยกตั้งแต่เมืองลพบุรี - เชียงใหม่ สายหนึ่ง จากเมืองอุตรดิตถ์ - ตาบลท่าเดื่อริม
ฝั่งแม่น้าโขงสายหนึ่ง และจากเมืองเชียงใหม่ไปยังเชียงราย เชียงแสนหลวงอีกสายหนึ่ง โดยทาการสารวจให้
แล้วเสร็จเป็นตอน ๆ รวม 8 ตอน ในราคาค่าจ้างโดยเฉลี่ยไม่เกินไมล์ละ 100 ปอนด์ ทั้งสองฝ่ายลงนามใน
สัญญา เมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2430
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระราชทานพระบรมราชานุมัติให้กระทรวงโยธาธิการ
ว่าจ้าง มิสเตอร์ จี. มูเร แคมป์เบลล์ สร้างทางรถไฟหลวงจากกรุงเทพถึงนครราชสีมา เป็นสายแรก เป็นทาง
ขนาดกว้าง 1.435 เมตร และได้เสด็จพระราชดาเนินประกอบพระราชพิธีกระทาพระฤกษ์ เริ่มการ สร้างทาง
รถไฟ ณ บริเวณย่านสถานีกรุงเทพ เมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2434 ซึ่งปัจจุบัน การรถไฟฯได้สร้างอนุสรณ์
ปฐมฤกษ์รถไฟหลวงเพื่อเป็นอนุสรณ์สถานราลึกเหตุการณ์สาคัญในอดีต และเพื่อน้อมราลึกถึงพระกรุณาธิคุณ เมื่อ
วันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2534 โดยมีสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกเสด็จ
มาทรงเป็นองค์ประธานในพิธีเปิด
ต่อมา ในสมัยรัฐบาลที่มีจอมพลป. พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีในขณะนั้น มีการประกาศใช้
พระราชบัญญัติการรถไฟแห่งประเทศไทย ซึ่งประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษา เลขที่ 40 หมวด ก ฉบับพิเศษ
ลงในวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2494[3]
และให้ประกาศใช้ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม ปีเดียวกัน ดังนั้น การ
รถไฟแห่งประเทศไทย จึงถูกจัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการ โดยเป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจประเภทสาธารณูปโภค
สังกัดกระทรวงคมนาคม และให้มีการโอนกิจการ ทรัพย์สิน หนี้สิน สิทธิ หน้าที่ต่างๆ รวมไปถึงข้าราชการพล
เรือนรัฐพาณิชย์ ลูกจ้าง และสายงานทั้งหมด ของกรมรถไฟไปอยู่ในการดาเนินงานของ การรถไฟแห่งประเทศ
ไทย โดยมี หลวงเสรีเริงฤทธิ์ (จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์) เป็นผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไทยคนแรก
และเป็นอธิบดีกรมรถไฟคนสุดท้าย

More Related Content

Viewers also liked

บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7praphol
 
Multimodal transportation บทที่ 1
Multimodal transportation   บทที่ 1Multimodal transportation   บทที่ 1
Multimodal transportation บทที่ 1Khwanchai Changkerd
 
การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่
การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่
การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่CATC-ACM
 
Company Profile
Company ProfileCompany Profile
Company Profilechampoo13
 
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งRungnapa Rungnapa
 

Viewers also liked (6)

บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
Multimodal transportation บทที่ 1
Multimodal transportation   บทที่ 1Multimodal transportation   บทที่ 1
Multimodal transportation บทที่ 1
 
Multimodal Transportation 2
Multimodal Transportation 2Multimodal Transportation 2
Multimodal Transportation 2
 
การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่
การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่
การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่
 
Company Profile
Company ProfileCompany Profile
Company Profile
 
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 

Similar to การรถไฟแห่งประเทศไท1

พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมaekgapak
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมaekgapak
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม[]
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม[] พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม[]
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม[] Overview Biew
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม(Pic)
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม(Pic)พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม(Pic)
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม(Pic)aekgapak
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมaekgapak
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมaekgapak
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมaekgapak
 

Similar to การรถไฟแห่งประเทศไท1 (7)

พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม[]
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม[] พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม[]
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม[]
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม(Pic)
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม(Pic)พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม(Pic)
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม(Pic)
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
 

More from Puripat Duangin

การเตรียมความพร้อมPdf
การเตรียมความพร้อมPdfการเตรียมความพร้อมPdf
การเตรียมความพร้อมPdfPuripat Duangin
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร Puripat Duangin
 
โครงงานคอมพ วเตอร (1)
โครงงานคอมพ วเตอร  (1)โครงงานคอมพ วเตอร  (1)
โครงงานคอมพ วเตอร (1)Puripat Duangin
 
45100731 0 20130611-135344
45100731 0 20130611-13534445100731 0 20130611-135344
45100731 0 20130611-135344Puripat Duangin
 
ใบงารที่ 1 แบบสำรวจและประวัติ
ใบงารที่ 1 แบบสำรวจและประวัติใบงารที่ 1 แบบสำรวจและประวัติ
ใบงารที่ 1 แบบสำรวจและประวัติPuripat Duangin
 

More from Puripat Duangin (8)

การเตรียมความพร้อมPdf
การเตรียมความพร้อมPdfการเตรียมความพร้อมPdf
การเตรียมความพร้อมPdf
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร
 
โครงงานคอมพ วเตอร (1)
โครงงานคอมพ วเตอร  (1)โครงงานคอมพ วเตอร  (1)
โครงงานคอมพ วเตอร (1)
 
8v,
8v,8v,
8v,
 
45100731 0 20130611-135344
45100731 0 20130611-13534445100731 0 20130611-135344
45100731 0 20130611-135344
 
7 130630105522-phpapp02
7 130630105522-phpapp027 130630105522-phpapp02
7 130630105522-phpapp02
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
ใบงารที่ 1 แบบสำรวจและประวัติ
ใบงารที่ 1 แบบสำรวจและประวัติใบงารที่ 1 แบบสำรวจและประวัติ
ใบงารที่ 1 แบบสำรวจและประวัติ
 

การรถไฟแห่งประเทศไท1

  • 1. การรถไฟแห่งประเทศไทย การรถไฟแห่งประเทศไทย เป็นรัฐวิสาหกิจในกระทรวงคมนาคม ทาหน้าที่ดูแลกิจการด้านรถไฟของ ประเทศไทย มีทางรถไฟอยู่ภายใต้ขอบเขคดาเนินการทั้งหมด 4,070 กิโลเมตร โดยมากกว่า 3,600 กิโลเมตรสร้างในยุคที่ไทยปกครองด้วยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช รฟท. เป็นรัฐวิสาหกิจของไทยที่มีผลการดาเนินงานขาดทุนมากที่สุด คือ 7,584 ล้านบาท โดยมี สาเหตุมาจากความบกพร่องในการจัดการบริหารการเดินรถและพื้นที่ในครอบครอง ความเร็วเฉลี่ยของรถไฟไทย อยู่ที่ 30 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ประวัติ วันที่ 26 มีนาคม เป็น วันสถาปนากิจการรถไฟ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกาแพงเพ็ชรอัคร โยธิน ดารงตาแหน่งผู้บัญชาการกรมรถไฟหลวงพระองค์แรก เนื่องมาจากนโยบายขยายอาณานิคมของอังกฤษและฝรั่งเศส แผ่มาครอบคลุมบริเวณเหลมอินโด จีน พระองค์ท่านทรงตระหนักถึงความสาคัญของการคมนาคม โดยเส้นทางรถไฟ เพราะการใช้แต่ทางเกวียนและ แม่น้าลาคลองเป็นพื้นนั้น ไม่เพียงพอแก่การบารุงรักษาพระราชอาณาเขต ราษฎรที่อยู่ห่างไกลจากเมืองหลวงมี จิตใจโน้มเอียงไปทางประเทศใกล้เคียง สมควรที่จะสร้างทางรถไฟขึ้นในประเทศเพื่อติดต่อกับมณฑลชายแดนก่อน อื่น ทั้งนี้เพื่อสะดวกแก่การปกครอง ตรวจตราป้องกันการรุกรานเป็นการเปิดภูมิประเทศให้ประชาชนพลเมืองเข้า บุกเบิกพื้นที่รกร้างว่างเปล่า ให้เป็นประโยชน์ทางเศรษฐกิจของประเทศ และจะเป็นเส้นทางขนส่งผู้โดยสารและ สินค้าไปมาถึงกันได้ง่ายยิ่งขึ้น ดังนั้น ในปี พ.ศ. 2430 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ เซอร์แอนดรู คลาก และบริษัทปันชาร์ด แมกทักการ์ด โลเธอร์ ดาเนินการสารวจเพื่อ สร้างทางรถไฟจาก กรุงเทพฯ - นครราชสีมา และมีทางแยกตั้งแต่เมืองลพบุรี - เชียงใหม่ สายหนึ่ง จากเมืองอุตรดิตถ์ - ตาบลท่าเดื่อริม ฝั่งแม่น้าโขงสายหนึ่ง และจากเมืองเชียงใหม่ไปยังเชียงราย เชียงแสนหลวงอีกสายหนึ่ง โดยทาการสารวจให้ แล้วเสร็จเป็นตอน ๆ รวม 8 ตอน ในราคาค่าจ้างโดยเฉลี่ยไม่เกินไมล์ละ 100 ปอนด์ ทั้งสองฝ่ายลงนามใน สัญญา เมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2430 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระราชทานพระบรมราชานุมัติให้กระทรวงโยธาธิการ ว่าจ้าง มิสเตอร์ จี. มูเร แคมป์เบลล์ สร้างทางรถไฟหลวงจากกรุงเทพถึงนครราชสีมา เป็นสายแรก เป็นทาง ขนาดกว้าง 1.435 เมตร และได้เสด็จพระราชดาเนินประกอบพระราชพิธีกระทาพระฤกษ์ เริ่มการ สร้างทาง รถไฟ ณ บริเวณย่านสถานีกรุงเทพ เมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2434 ซึ่งปัจจุบัน การรถไฟฯได้สร้างอนุสรณ์
  • 2. ปฐมฤกษ์รถไฟหลวงเพื่อเป็นอนุสรณ์สถานราลึกเหตุการณ์สาคัญในอดีต และเพื่อน้อมราลึกถึงพระกรุณาธิคุณ เมื่อ วันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2534 โดยมีสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกเสด็จ มาทรงเป็นองค์ประธานในพิธีเปิด ต่อมา ในสมัยรัฐบาลที่มีจอมพลป. พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีในขณะนั้น มีการประกาศใช้ พระราชบัญญัติการรถไฟแห่งประเทศไทย ซึ่งประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษา เลขที่ 40 หมวด ก ฉบับพิเศษ ลงในวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2494[3] และให้ประกาศใช้ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม ปีเดียวกัน ดังนั้น การ รถไฟแห่งประเทศไทย จึงถูกจัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการ โดยเป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจประเภทสาธารณูปโภค สังกัดกระทรวงคมนาคม และให้มีการโอนกิจการ ทรัพย์สิน หนี้สิน สิทธิ หน้าที่ต่างๆ รวมไปถึงข้าราชการพล เรือนรัฐพาณิชย์ ลูกจ้าง และสายงานทั้งหมด ของกรมรถไฟไปอยู่ในการดาเนินงานของ การรถไฟแห่งประเทศ ไทย โดยมี หลวงเสรีเริงฤทธิ์ (จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์) เป็นผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไทยคนแรก และเป็นอธิบดีกรมรถไฟคนสุดท้าย