SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
การขาดธาตุโบรอนในปาลมนํ้ามัน
                                 ใ
        โบรอนเปนธาตุอาหารเสริมที่มักพบวาขาดบอยที่สดในปาลม
                                                      ุ
น้ํามันที่ปลูกในประเทศไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย การขาดธาตุุ
             ู
โบรอนจะมีผลใหใบมีรูปรางผิดปกติ และเจริญเติบโตชาลง ทําใหผล
ผลิตลดลง
        โบรอน จะทําหนาที่เปนองคประกอบสําคัญในกระบวนการ
ตางๆของพืช เชน การแบงเซลล การติดดอกสรางผลและผนังเซลล ที่
     ๆ
สําคัญที่สุดคือสรางความสมบูรณ ลําเลียงน้ําตาล และดูดซึม
แคลเซยม
แคลเซียม
ธาตุโบรอน
                             ธาตโบรอน
บทบาทของโบรอนมดงน
บทบาทของโบรอนมีดังนี้
1. ตนปาลมมีโมเลกุลของธาตุโบรอน อันเปนองคประกอบของผนังเซลลปฐมภูมิ จึงทําให
ผนังเซลลแข็งแรง และมีความยืดหยุน
2. ชวยใหเยื่อหุมเซลล และเซลลหุมออแกเนลมีดครงสรางที่สมบูรณ และทําหนาที่ไดอยาง
เหมาะสม
3.โบรอนชวยกระตุนกิจกรรมของ H+-ATPase ในการสรางเนื้อเยื่อ และสงเสริมการ
ดูดซมธาตุอาหารตางๆ
ดดซึมธาตอาหารตางๆ
4. สงเสริมการเคลื่อนยายของน้ําตาลและอินทรียสารเล็กๆทางโฟเอม ชวยใหยอดออน ราก
ออน ดอกผลเจริญ
5.ชวยในการเจริญเติบโตในระยะเจริญพันธ ทําใหดอกและละอองเรณูสมบูรณยอดเกสรตัว
เมียพรอมรับละอองเรณู นอกจากนี้ยังทําใหไดเมล็ดที่สมบูรณและมีความงอกงามดี
6.การผสมเกสรดีขึ้น เพราะมีแมลงชวยผสมเกสร ทําใหติดผลมากขึ้น
อาการขาดธาตุโบรอน ในปาลมน้ํามัน
            ุ
    ในแปลงเพาะกลา
จะพบอาการใบปาลมจะยน และมีีลักษณะหงิิกงอ คลายรูปตะขอ
         ใ           
ในสวนปาลม จะพบอาการขาดธาตุโบรอนในปาลมนํ้ํามันดัังนีี้
   ใ    ป                           ใ ป          ั

  ทางใบกลม
     ใ
  เปนอาการเรมตนของการขาด
  เปนอาการเริ่มตนของการขาด
ธาตุโบรอนที่เล็กนอย และไมรุนแรง




                         อาการขาดโบรอนที่รนแรง : ใบยอยหยักงอเปนตะขอ
                                          ุ
ปลายใบแขงตงชน
                           ปลายใบแข็งตั้งชัน
                           - เปนอาการที่แสดงออกในระยะระหวาง
                             ใบหยกเปนตะขอ
                             ใบหยักเปนตะขอ




ใบยอยแตก
- กานใบยอยฉกขาดจากแผนใบ
    ใ  ี              ใ
และแทงออกมาระหวางแผนใบ เปน
อาการขาดโบรอนอย
อาการขาดโบรอนอยางรุนแรง
ใบมลกษณะเหมอนกางปลา
  ใบมีลักษณะเหมือนกางปลา
ใบยอยแตละใบมีปลายใบรวมกันเปน
  เกลียวคลายเสนใ อก ทางใบ
                 ใยเชื    ใ
  กระจายตัวออกคลายกางปลา
(ขาดโบรอน อยางรุนแรง)



                                  ***ใบเล็็
                                  ***ใ ก****
                                     ใบเล็
                                  ใบยอยมีลักษณะปลายกุด หรือดวน
                                  รวมกันเปนกลุมกอนของแตละขางของ
                                               
                                  กานใบ เปนอาการขาดโบรอนอยาง
                                  รุนแรง
การปองกัน และรักษาเกี่ยวกับอาการขาดโบรอน
  ในแปลงเพาะกลา
     การแกปญหาการขาดธาตุโบรอนในแปลงเพาะกลา จะตองทําดวยความระมัดระวัง หาก
  ใสโบรอนมากเกินไปจะกอใหเกิดความเปนพิษ หากเกิดอาการเปนพิษ แนะนําควร
  ทดลองฉีดพนปุยโบรอนกับตนกลาเพียงบางสวน เพื่อตรวจสอบอัตราสวนที่เหมาะสม กอนที่
  จะใชแปลงเพาะกลาทั้งแปลง
   ความเขมขนของสารละลายธาตุอาหารโบรอนทีแนะนํําใ ดวยวิิธีการฉีีดพน ใ 
                                     โ      ี่      ใช                 ใช
  ACTIBOR 20 ตามอัตราสวน 13.6กรัมตอน้ํา 100ลิตร สามรถผสมกับยาฆา
  หญาและยากาจดเชอรา โดยแบงฉดโบรอนทางใบ 3-4ครง ตามรอบของการฉดพนยาฆา
  หญาและยากําจัดเชื้อรา โดยแบงฉีดโบรอนทางใบ 3-4ครั้ง ตามรอบของการฉีดพนยาฆา
  หญา และยากําจัดเชื้อรา
ปองกน10เดอนหลงเมลดงอก
ปองกัน10เดือนหลังเมล็ดงอกการขาดสารโบรอน              : สามารถฉีดพน
                                                        สามารถฉดพน
  ACTIBOR 20 ในระยะ 4 ,8 และ
การปองกัน และรักษาการขาดโบรอน

  ในสวนปาลม
  ใ
    อัตราการใสโบรอนสําหรับตนออนและตนปาลมน้ํามันทีโตแลว ขึนอยูกบ
                                                           ่       ้    ั
  สภาพของดิน ปริมาณการใชผลผลิตของปาลม โดยทั่วไปมาตรฐานการใชปุย
  โบรอน เชน ตนปาลมที่มีอายุ 1ป ใหใช บอแรกซ ในอัตรา 50 กรัมตอตนตอป
  โดยใหทางดิน และเพิ่มขึนเปน 100-200 กรัมตอตนตอป จนถึง4-6ป
                           ้
  การใสบอแรกซ หรือโบรอน ใหกับตนปาลมที่มีอายุมากใหผลผลิตสูง และมีการ
  ใชปุยในอัตราสูง ควรใสโบรอนอยางสม่ําเสมอ ทั้งนีขนอยูกับการวิเคราะหใบ
                                                    ้ ึ้
  และการสังเกตอาการที่เปลี่ยนแปลง

More Related Content

Similar to การขาดธาตุโบรอนในปาล์มน้ำมัน

การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชkookoon11
 
ผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลKrujhim
 
อาการขาดธาตุไนโตรเจน
อาการขาดธาตุไนโตรเจนอาการขาดธาตุไนโตรเจน
อาการขาดธาตุไนโตรเจนpawidchaya
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๑
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๑ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๑
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๑Manas Panjai
 
Samunpai
SamunpaiSamunpai
Samunpaimuisza
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]อบต. เหล่าโพนค้อ
 
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืชธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืชKunnanatya Pare
 
บทที่ 7 โรคในพืชไร่
บทที่ 7 โรคในพืชไร่บทที่ 7 โรคในพืชไร่
บทที่ 7 โรคในพืชไร่Umaporn Mamark
 
ระบบสืบพันธุ์ของพืช
ระบบสืบพันธุ์ของพืชระบบสืบพันธุ์ของพืช
ระบบสืบพันธุ์ของพืชdnavaroj
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนรากdnavaroj
 

Similar to การขาดธาตุโบรอนในปาล์มน้ำมัน (20)

การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืช
 
ผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเล
 
อาการขาดธาตุไนโตรเจน
อาการขาดธาตุไนโตรเจนอาการขาดธาตุไนโตรเจน
อาการขาดธาตุไนโตรเจน
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๑
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๑ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๑
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๑
 
Samunpai
SamunpaiSamunpai
Samunpai
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
HERB
HERBHERB
HERB
 
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืชธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
 
บทที่ 7 โรคในพืชไร่
บทที่ 7 โรคในพืชไร่บทที่ 7 โรคในพืชไร่
บทที่ 7 โรคในพืชไร่
 
my research
my researchmy research
my research
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
ระบบสืบพันธุ์ของพืช
ระบบสืบพันธุ์ของพืชระบบสืบพันธุ์ของพืช
ระบบสืบพันธุ์ของพืช
 
Herb
HerbHerb
Herb
 
ใบไม้
ใบไม้ใบไม้
ใบไม้
 
Plant oui
Plant ouiPlant oui
Plant oui
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
 
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมดโครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
 
29 08-56
29 08-5629 08-56
29 08-56
 

การขาดธาตุโบรอนในปาล์มน้ำมัน

  • 1. การขาดธาตุโบรอนในปาลมนํ้ามัน ใ โบรอนเปนธาตุอาหารเสริมที่มักพบวาขาดบอยที่สดในปาลม ุ น้ํามันที่ปลูกในประเทศไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย การขาดธาตุุ ู โบรอนจะมีผลใหใบมีรูปรางผิดปกติ และเจริญเติบโตชาลง ทําใหผล ผลิตลดลง โบรอน จะทําหนาที่เปนองคประกอบสําคัญในกระบวนการ ตางๆของพืช เชน การแบงเซลล การติดดอกสรางผลและผนังเซลล ที่ ๆ สําคัญที่สุดคือสรางความสมบูรณ ลําเลียงน้ําตาล และดูดซึม แคลเซยม แคลเซียม
  • 2. ธาตุโบรอน ธาตโบรอน บทบาทของโบรอนมดงน บทบาทของโบรอนมีดังนี้ 1. ตนปาลมมีโมเลกุลของธาตุโบรอน อันเปนองคประกอบของผนังเซลลปฐมภูมิ จึงทําให ผนังเซลลแข็งแรง และมีความยืดหยุน 2. ชวยใหเยื่อหุมเซลล และเซลลหุมออแกเนลมีดครงสรางที่สมบูรณ และทําหนาที่ไดอยาง เหมาะสม 3.โบรอนชวยกระตุนกิจกรรมของ H+-ATPase ในการสรางเนื้อเยื่อ และสงเสริมการ ดูดซมธาตุอาหารตางๆ ดดซึมธาตอาหารตางๆ 4. สงเสริมการเคลื่อนยายของน้ําตาลและอินทรียสารเล็กๆทางโฟเอม ชวยใหยอดออน ราก ออน ดอกผลเจริญ 5.ชวยในการเจริญเติบโตในระยะเจริญพันธ ทําใหดอกและละอองเรณูสมบูรณยอดเกสรตัว เมียพรอมรับละอองเรณู นอกจากนี้ยังทําใหไดเมล็ดที่สมบูรณและมีความงอกงามดี 6.การผสมเกสรดีขึ้น เพราะมีแมลงชวยผสมเกสร ทําใหติดผลมากขึ้น
  • 3. อาการขาดธาตุโบรอน ในปาลมน้ํามัน ุ ในแปลงเพาะกลา จะพบอาการใบปาลมจะยน และมีีลักษณะหงิิกงอ คลายรูปตะขอ ใ 
  • 4. ในสวนปาลม จะพบอาการขาดธาตุโบรอนในปาลมนํ้ํามันดัังนีี้ ใ ป ใ ป  ั ทางใบกลม ใ เปนอาการเรมตนของการขาด เปนอาการเริ่มตนของการขาด ธาตุโบรอนที่เล็กนอย และไมรุนแรง อาการขาดโบรอนที่รนแรง : ใบยอยหยักงอเปนตะขอ ุ
  • 5. ปลายใบแขงตงชน ปลายใบแข็งตั้งชัน - เปนอาการที่แสดงออกในระยะระหวาง ใบหยกเปนตะขอ ใบหยักเปนตะขอ ใบยอยแตก - กานใบยอยฉกขาดจากแผนใบ  ใ  ี  ใ และแทงออกมาระหวางแผนใบ เปน อาการขาดโบรอนอย อาการขาดโบรอนอยางรุนแรง
  • 6. ใบมลกษณะเหมอนกางปลา ใบมีลักษณะเหมือนกางปลา ใบยอยแตละใบมีปลายใบรวมกันเปน เกลียวคลายเสนใ อก ทางใบ ใยเชื ใ กระจายตัวออกคลายกางปลา (ขาดโบรอน อยางรุนแรง) ***ใบเล็็ ***ใ ก**** ใบเล็ ใบยอยมีลักษณะปลายกุด หรือดวน รวมกันเปนกลุมกอนของแตละขางของ  กานใบ เปนอาการขาดโบรอนอยาง รุนแรง
  • 7. การปองกัน และรักษาเกี่ยวกับอาการขาดโบรอน ในแปลงเพาะกลา การแกปญหาการขาดธาตุโบรอนในแปลงเพาะกลา จะตองทําดวยความระมัดระวัง หาก ใสโบรอนมากเกินไปจะกอใหเกิดความเปนพิษ หากเกิดอาการเปนพิษ แนะนําควร ทดลองฉีดพนปุยโบรอนกับตนกลาเพียงบางสวน เพื่อตรวจสอบอัตราสวนที่เหมาะสม กอนที่ จะใชแปลงเพาะกลาทั้งแปลง ความเขมขนของสารละลายธาตุอาหารโบรอนทีแนะนํําใ ดวยวิิธีการฉีีดพน ใ  โ ี่ ใช ใช ACTIBOR 20 ตามอัตราสวน 13.6กรัมตอน้ํา 100ลิตร สามรถผสมกับยาฆา หญาและยากาจดเชอรา โดยแบงฉดโบรอนทางใบ 3-4ครง ตามรอบของการฉดพนยาฆา หญาและยากําจัดเชื้อรา โดยแบงฉีดโบรอนทางใบ 3-4ครั้ง ตามรอบของการฉีดพนยาฆา หญา และยากําจัดเชื้อรา ปองกน10เดอนหลงเมลดงอก ปองกัน10เดือนหลังเมล็ดงอกการขาดสารโบรอน : สามารถฉีดพน สามารถฉดพน ACTIBOR 20 ในระยะ 4 ,8 และ
  • 8. การปองกัน และรักษาการขาดโบรอน ในสวนปาลม ใ อัตราการใสโบรอนสําหรับตนออนและตนปาลมน้ํามันทีโตแลว ขึนอยูกบ ่ ้ ั สภาพของดิน ปริมาณการใชผลผลิตของปาลม โดยทั่วไปมาตรฐานการใชปุย โบรอน เชน ตนปาลมที่มีอายุ 1ป ใหใช บอแรกซ ในอัตรา 50 กรัมตอตนตอป โดยใหทางดิน และเพิ่มขึนเปน 100-200 กรัมตอตนตอป จนถึง4-6ป ้ การใสบอแรกซ หรือโบรอน ใหกับตนปาลมที่มีอายุมากใหผลผลิตสูง และมีการ ใชปุยในอัตราสูง ควรใสโบรอนอยางสม่ําเสมอ ทั้งนีขนอยูกับการวิเคราะหใบ ้ ึ้ และการสังเกตอาการที่เปลี่ยนแปลง