SlideShare a Scribd company logo
นำเสนอ
อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร
        สมำชิก
น.ส.นวทรรศนย์ จันทรวงศ์
   น.ส.ปำณิสรำ ภู่เงิน
เรื่อง                            หน้า
สารบัญ    1. ไมโครเวฟ 3
          2. กำรค้นพบ 4
                                                  3
                                                  4
          3. ช่วงควำมถี่คลื่น 5                   5
          4. ลักษณะคลื่น 6                        6
          5. กำรใช้งำนวิทยุไมโครเวฟ 7            7-9
          6.ข้อดีในกำรใช้วิทยุสื่อสำรไมโครเวฟ 10 10
          7. กำรสื่อสำรไมโครเวฟ 11               11
          8. สถำนีทวนสัญญำณ 12                  12-14
          9. เวฟไกด์ 15                         15-16
         10. สำยอำกำศแบบฮอร์น 17                  17
         11. คำถำม 18                             18
         12. เฉลย 19                            19-24
ไมโครเวฟ (microwave) เป็นคลื่นความถี่วิทยุชนิด
หนึ่งที่มีความถี่อยู่ระหว่าง 0.3GHz - 300GHz ส่วนใน
         การใช้งานนั้นส่วนมากนิยมใช้ความถี่ระหว่าง 1
 GHz - 60GHz เพราะเป็นย่านความถี่ที่สามารถผลิต
                ขึ้นได้ด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ในปี ค.ศ.1940 ของสองนักประดิษฐ์ชาวอังกฤษ คือ จอห์น แรนดอลล์ และ เอช เอ บู๊ต
 ได้ประดิษฐ์อุปกรณ์ที่เรียกกันว่า "แม็กนีตรอน" ใช้ผลิตพลังงานไมโครเวฟ ซึ่งเป็นการแผ่รังสี
     คลื่นสั้นรูปแบบหนึ่ง โดยจุดประสงค์ครั้งแรกคือ ใช้ในการปรับปรุงระบบเรดาร์ที่ใช้ใน
        สงครามโลกครั้งที่ 2เปอร์ซี่ เลอ บารอน สเปนเซอร์ เป็นนักฟิสิกส์ที่ทางานให้กับ
บริษัท เรทีออน ผู้ผลิตอุปกรณ์เรดาร์ เขาพบว่า เมื่อเขาใช้เครื่องแม็กนีตรอน รังสีที่ได้ให้ความ
ร้อนออกมาด้วย เขาจึงหาวิธีที่จะนาเอาความร้อนนี้มาใช้ ในไม่ช้าเขาก็ใช้แม็กนีตรอนละลาย
 ช็อกโกเล็ตและทาข้าวโพดคั่วของเขาไมโครเวฟทาให้โมเลกุลของอาหารเกิดการสั่นสะเทือน
  ดังนั้นอาหารจึงร้อนขึ้นและขบวนการนี้เกิดขึ้นเร็วมาก คลื่นนี้ไม่ทาให้สิ่งที่ทาจากกระดาษ
  กระเบื้องเคลือบ หรือแก้วร้อนขึ้น การใช้ไมโครเวฟในการปรุงอาหารนอกจากจะสะดวก ใช้
     เวลาสั้นลงแล้วยังประหยัดพลังงานอีกด้วยใน ค.ศ.1945 เริ่มมีการผลิตเตาไมโครเวฟ
                 ออกจาหน่ายแต่ยังมีขนาดใหญ่ไม่เหมาะกับการใช้ในครัวทั่วไป
ช่วงความถี่คลื่นไมโครเวฟในงานวิทยุ
คลื่นความถี่ไมโครเวฟสามารถแบ่งเป็นช่วงย่อยๆ ตามการกาหนดของ
Radio Society of Great Britain (RSGB)
ดังตารางต่อไปนี:้     Letter Designation         ช่วงความถี่
                            L band              1 to 2 GHz
                            S band             2 to 4 GHz
                            C band             4 to 8 GHz
                            X band             8 to 12 GHz
                            Ku band           12 to 18 GHz
                            K band           18 to 26.5 GHz
                            Ka band          26.5 to 40 GHz
                            Q band            30 to 50 GHz
                            U band            40 to 60 GHz
                            V band            50 to 75 GHz
                            E band            60 to 90 GHz
                            W band            75 to 110 GHz
                            F band           90 to 140 GHz

                            D band         110 to 170 GHz (Hot)
ลักษณะของคลื่นวิทยุไมโครเวฟ
เช่นเดียวกับลักษณะทั่วไปของคลื่น คลื่นวิทยุไมโครเวฟจะมีลกษณะ
                                                        ั
                            ดังต่อไปนี้
                       เดินทางเป็นเส้นตรง
                  สามารถหักเหได้ (Refract)
                 สามารถสะท้อนได้ (Reflect)
               สามารถแตกกระจายได้ (Diffract)
         สามารถถูกลดทอนเนื่องจากฝน (Attenuate)
            สามารถถูกลดทอนเนื่องจากชั้นบรรยากาศ
น.8
                      กำรใช้งำนวิทยุไมโครเวฟ
      ในกำรใช้งำนคลื่นไมโครเวฟนั้นก็จะแบ่งกำรใช้งำนได้ดังนี้
ระบบเชื่อมต่อสัญญำณในระดับสำยตำ ใช้ในงำนสื่อสำรโทรคมนำคม
 ระหว่ำงจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง อย่ำงเช่น กำรโทรศัพท์ทำงไกล ใช้กำร
ส่งผ่ำนสัญญำณโทรศัพท์จำกจุดหนึ่ง ไปยังสถำนีทวนสัญญำณจำกจุด
   หนึ่งและส่งผ่ำนสัญญำณไปเรื่อยๆ จนถึงปลำยทำง และในกำรส่ง
  โทรทัศน์ก็จะทำกำรส่งสัญญำณโทรทัศน์จำกห้องส่งไปยังเครื่องส่ง
 ไมโครเวฟ ส่งไปทำงสำยอำกำศ และแพร่กระจำกคลื่นของโทรทัศน์
ของสถำนีนั้นๆ ระยะห่ำงของสถำนีสัญญำณจะเป็นดังนี้ ถ้ำควำมถี่สูง
ระยะห่ำงก็จะน้อยแต่ถ้ำ ควำมถี่ของคลื่นไมโครเวฟต่ำระยะห่ำงของ
                     สถำนีทวนสัญญำณก็จะมำก
ระบบเหนือขอบฟ้ำ ซึ่งเป็นระบบสื่อสำรไมโครเวฟที่ใช้
  ชั้นบรรยำกำศห่อหุ้มโลก ชั้นโทรโพสเฟียร์ ช่วยในกำร
     สะท้อนและหักเหคลื่นควำมถี่ไมโครเวฟ ให้ไปถึง
 ปลำยทำง ให้ได้ระยะทำงมำกขึ้น กำรใช้ในรูปแบบนี้ไม่
 ค่อยนิยมเท่ำไรหรอกจะใช้เฉพำะในกรณีที่จำเป็นเท่ำนั้น
  เช่น ในเขตที่ไม่สำมำรถตั้งสถำนีทวนสัญญำณได้ เป็น
ประกำรฉะนี้ เนื่องจำกกำรใช้งำนรูปแบบนี้สำมำรถทำได้
ในระยะทำงที่ไกลมำก ดังนั้นในกำรส่งคลื่นจึงทำให้คลื่นมี
 กำร กระจัดกระจำยได้ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องใช้เครื่องส่งที่
 มีกำลังส่งทีสูงและสำยอำกำศที่รับต้องมีอัตรำกำรขยำย
             ่
                สัญญำณที่สง เช่นเดียวกัน
                           ู                          น.9
ระบบดาวเทียม เป็นการใช้สถานีทวนสัญญาณลอยอยู่เหนือพื้น
 โลกกว่า 30,000 กิโลเมตร โดยการใช้ดาวเทียมทาหน้าที่เป็นสถานี
ทวนสัญญาณการใช้ระบบนี้สามารถทาการสื่อสารได้ไกลมากๆ ได้
       ซึ่งเป็นระบบที่นิยมใช้ระบบหนึ่งในปัจจุบัน นิยมใช้มาก
  ระบบเรดาร์ ระบบนี้จะเป็นการใช้ไมโครเวฟ ในการตรวจจับวัตถุ
  ต่างโดยการส่งคลื่นไมโครเวฟออกไป ในมุมแคบ แล้วไปกระทบ
  วัตถุที่อยู่ไกลออกไป และจากนั้นคลื่นก็จะสะท้อนกลับมาแล้วนา
  สัญญาณที่ได้รับเทียบกับสัญญาณเดิม แล้วเราค่อยนาไปแปรค่า
                        เป็นข้อมูลต่างๆ อีกที
  ระบบเตาไมโครเวฟ ระบบนี้เป็นการส่งคลื่นไมโครเวฟ ที่มีกาลัง
  สูงส่งในพื้นที่แคบๆ ที่ทาด้วยโลหะ คลื่นไมโครเวฟนี้ก็จะสะท้อน
โลหะนั้นทาให้มีคลื่นไมโครเวฟ กระจัดกระจายอยู่พื้นที่นั้นสามารถ
                     นาไปใช้ในการทาอาหารได้
ข้อดีในการใช้วิทยุไมโครเวฟในการสื่อสาร
                 คุณสมบัติการกระจายคลื่นไมโครเวฟคงที่
        ทิศทางของสายอากาศเป็นแนวพุ่งตรงไปในทิศทางที่ต้องการ
                  อัตราขยายสัญญาณของสายอากาศสูง
สามารถทาให้อัตราส่วนของสัญญาณต่อสัญญาณรบกวนดีขึ้น คือมีสัญญาณ
                            รบกวนเกิดขึ้นน้อย
         สามารถส่งคลื่นได้ในย่านกว้างเพราะคลื่นมีความถี่สูงมาก
                เครือข่ายมีความน่าเชื่อถือสูงในการใช้งาน
        ปลอดภัยจากการเกิดภัยธรรมชาติ เช่น น้าท่วม แผ่นดินไหว
 การรบกวนที่เกิดจากมนุษย์ทาขึ้นมีน้อย เช่น อุบัติเหตุ การก่อสร้าง ไฟไหม้
                       การก่อสร้างทาได้ง่าย และเร็ว
  สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างน้อย ใช้ค่าใช้จ่ายน้อยแต่คุณภาพสูง
การสื่อสารไมโครเวฟ
     สถานีรับส่งสัญญาณไมโครเวฟที่ Wrights Hill เมือง Wellington ประเทศนิวซีแลนด์
                             โครงสร้างของParabolicReflector
      การสื่อสารไมโครเวฟ วิธีที่นยมใช้กนมากก็คือการสือสารในระดับสายตา ใช้ในการสื่อสารข้อมูล
                                 ิ     ั             ่
ข่าวสารในปริมาณมากๆ เส้นทางในการสื่อสารนีจะประมาณ 50-80 กิโลเมตร และไม่มีสิ่งกีดขวาง แต่ถา
                                            ้                                               ้
ต้องการสื่อสารในระยะไกลกว่านี้ จะต้องมีสถานีทวนสัญญาณเพือ ให้รับสัญญาณและทาการขยายแล้ว
                                                            ่
                                ส่งสัญญาณต่อไป จนถึงปลายทางได้
น.13

                   สถำนีทวนสัญญำณไมโครเวฟ
   สถำนีทวนสัญญำณไมโครเวฟ ใช้ในกำรสื่อสำรไมโครเวฟในระดับ
 สำยตำ เนื่องจำกกำรสื่อสำรในรูปแบบนี้มีผลต่อส่วนโค้งของโลก ดังนั้น
 ในกำรสื่อสำรไมโครเวฟนี้จะต้องมีสถำนีทวนสัญญำณในระยะทุกๆ 50-
80 กม. ซึ่งสถำนีทวนสัญญำณจะทำกำรถ่ำยทอด สัญญำณจำกสถำนีต้น
 ทำงทำกำรรับสัญญำณมำและทำกำรขยำยสัญญำณ ให้แรงขึ้นแล้วก็ทำ
                กำรส่งสัญญำณต่อไปจนถึงปลำยทำง
สถำนีทวนสัญญำณข่ำวสำรข้อมูล จะทำกำรเปลี่ยนแปลงควำมถี่ที่รบเข้ำ
                                                            ั
                       มำให้เหลือเพียงควำมถี่
สถานีทวนสัญญาณความถี่ IF สถานีทวนสัญญาณรูปแบบนีจะทาการ       ้
    เปลี่ยนความถี่ที่รับเข้ามาให้เป็นความถี่ IF ก่อนแล้วจึงทาการขยาย
     สัญญาณให้แรงขึ้นอีกที จากนั้นก็ค่อยทาการผสมกับคลื่นไมโครเวฟ
ความถี่ใหม่ แล้วจึงทาการส่งออกไป ข้อดีของสถานีทวนสัญญาณรูปแบบ
นี้คือ อัตราส่วนของสัญญาณต่อสัญญาณรบกวนดีขึ้น ระดับความแรงของ
สัญญาณข้อมูลข่าวสารคงที่ ข้อเสียของสถานีทวนสัญญาณรูปแบบคือ ไม่
สามารถดึงสัญญาณข้อมูลข่าวสารมาใช้ได้และไม่สามารถแทรกสัญญาณ
                              ข้อมูลใหม่เข้าไปได้

                                                        น.14
สถานีทวนสัญญาณความถี่ RF สถานีทวนสัญญาณรูปแบบนี้ จะทาการ
เปลียนความถี่ RF เดิมไปเป็นความถี่ RF ใหม่ โดยตรงก่อนแล้วค่อยทา
    ่
  การส่งออกไป ข้อดีของสถานีทวนสัญญาณรูปแบบคือ มีอัตราส่วนของ
 สัญญาณต่อสัญญาณรบกวนดีมาก สัญญาณข้อมูลข่าวสารมีความคงที่
  ข้อเสียของสถานีทวนสัญญาณรูปแบบนี้คือ มีราคาแพงมาก และยังไม่
      สามารถดึงสัญญาณข้อมูลข่าวสารมาใช้ได้ และยังไม่สามารถนา
 สัญญาณข้อมูลใหม่แทรกเข้าไปได้ และยังมีความยุ่งยากในการออกแบบ
                           วงจรอีกด้วย
เวฟไกด์
 เวฟไกด์ (Waveguide) หรือว่าท่อนาคลื่น นี้ เป็นสายส่งสัญญาณชนิดหนึ่ง-ที่ใช้ใน การ
 ส่งคลื่นไมโครเวฟ โดยทั่วไปจะมีลักษณะเป็นท่อกลม หรือท่อเหลี่ยม แล้วแต่จะทามาและก็จะ
  ทามาจากทองแดงหรืออะลูมิเนียม ด้านในฉาบด้วยเงินเพื่อให้เป็นตัวนาที่ดี สาเหตุที่สายนา
สัญญาณต้องทาเป็นท่อนี้ก็เพราะว่า คลื่นไมโครเวฟมีความถี่สูงมากจะเดินทางได้ดีที่บริเวณผิว
  ของตัวนาถ้าหากใช้สายนาสัญญาณทั่วไปจะทาให้เกิดการสูญเสียงพลังงานไปได้ จึงต้องทา
เป็นท่อเพื่อป้องกันการสูญเสียพลังงานจากผิวของสายสัญญาณ ความถี่ต่าสุดที่สามารถใช้งาน
 ได้กับเวฟไกด์เรียกว่า ความถี่คัตออฟ ซึ่งถ้าความถี่สูงกว่าความถี่ คัตออฟ จะสามารถเดินทาง
ไปบนเวฟไกด์ได้ ส่วนความถี่ที่ต่ากว่านี้จะไม่สามารถเดินทางบนเวฟไกด์ได้ ในการเดินทางของ
 คลื่นไมโครเวฟในเวฟไกด์นั้น จะเดินทางโดยการสะท้อนผนังท่อ และเดินทางไปตามความยาว
            ของท่อนาคลื่น และความถี่ที่สูงก็สามารถเดินทางได้ไกลกว่าความถี่ที่ต่า

                                                                       น.16
รูปแบบในการเกิดคลื่นในเวฟไกด์ ก็จะมีอยู่ 2 รูปแบบด้วยกัน คือ
   รูปแบบสนามไฟฟ้าตัดขวาง ซึ่งเป็นรูปแบบที่ไม่มีส่วนประกอบของ
สนามไฟฟ้าในทิศทางการแพร่กระจายคลื่น โดยสนามไฟฟ้าจะตั้งฉากกับทิศ
                    ทางการแพร่กระจายของคลืน   ่
   รูปแบบสนามแม่เหล็กตัดขวาง เป็นรูปแบบที่ไม่มีส่วนประกอบของ
สนามแม่เหล็กในทิศทางการแพร่กระจายคลื่น โดยสนามแม่เหล็กจะตั้งฉาก
              กับทิศทางการแพร่กระจายของคลื่นเสมอ
สำยอำกำศแบบฮอร์น
  สำยอำกำศแบบฮอร์นนี้ เป็นสำยอำกำศที่นิยมใช้กันมำกที่สดเพรำะมี
                                                      ุ
   กำลังกำรขยำยสูงประกอบด้วยท่อนำคลื่นตอนปลำยเปิดกว้ำงออก
 มำกกว่ำปกติ กำรที่จะทำให้อัตรำกำรขยำยสูงนั้น ทำโดยกำรเพิ่มจำน
    สะท้อนคลื่นแบบพำรำโบลำ(Parabola) เข้ำไปด้วย ในกำรใช้
สำยอำกำศแบบฮอร์นนี้ต้องใช้ร่วมกับจำนสะท้อนคลื่นแบบพำลำโบลำ ที่
 เรียกว่ำ ตัวสะท้อนคลื่นพำลำโบลิก และตำแหน่งของฮอร์น ต้องวำงใน
 ตำแหน่งโฟกัสของตัวสะท้อนคลื่น เพรำะเป็นตำแหน่งรวมคลื่นทั้งหมด
1. ไมโครเวฟเป็นคลื่นความถี่อะไร ? เฉลย
2. เวฟไกด์ เรียกอีกอย่างว่าอะไร ? เฉลย
3. สายอากาศแบบฮอร์นสะท้อนคลื่นแบบไหน ? เฉลย
4. เวฟไกด์มีกี่รูปแบบและแบบอะไรบ้าง ? เฉลย
5. การสื่อสารไมโครเวฟ Wrights Hill ที่เมืองอะไรและประเทศ
   อะไร ? เฉลย
6. จงบอกข้อดีในการใช้วิทยุสื่อสารมา 2 ข้อ ? เฉลย
ไมโครเวฟเป็นคลื่นความถี่
  อะไร ?
     ตอบ คลื่นควำมถี่วิทยุ


                             ไปหน้ำคำถำม
เวฟไกด์ เรียกอีกอย่างว่าอะไร ?

   ตอบ เรียกว่าท่อนาคลื่น


                        ไปหน้ำคำถำม
สายอากาศแบบฮอร์นสะท้อคลื่น
 แบบไหน ?
ตอบ เป็นแบบพาราโบลา(Parabola)


                         ไปหน้ำคำถำม
เวฟไกด์มีกี่รูปแบบและแบบ
          อะไรบ้าง ?
ตอบ มีอยู่ 2 รูปแบบ คือสนำมไฟฟ้ำ
และสนำมแม่เหล็ก

                           ไปหน้ำคำถำม
การสื่อสารไมโครเวฟ Wrights Hill
ที่เมืองอะไรและประเทศอะไร ?
    ตอบ เมือง Wellington
       ประเทศนิวซีแลนด์

                      ไปหน้ำเฉลย
จงบอกข้อดีในการใช้วิทยุสื่อสาร
  มา 2 ตอบอคุ?สมบัติกำรกระจำยคลื่นไมโครเวฟคงที่
       ข้ ณ                            ไปหน้ำคำถำม


          ทิศทำงของสำยอำกำศเป็นแนวพุ่งตรงไปในทิศทำงที่ต้องกำร
                      อัตรำขยำยสัญญำณของสำยอำกำศสูง
สำมำรถทำให้อัตรำส่วนของสัญญำณต่อสัญญำณรบกวนดีขึ้น คือมีสัญญำณรบกวน
                                  เกิดขึ้นน้อย
            สำมำรถส่งคลื่นได้ในย่ำนกว้ำงเพรำะคลื่นมีควำมถี่สูงมำก
                   เครือข่ำยมีควำมน่ำเชื่อถือสูงในกำรใช้งำน
          ปลอดภัยจำกกำรเกิดภัยธรรมชำติ เช่น น้ำท่วม แผ่นดินไหว
   กำรรบกวนที่เกิดจำกมนุษย์ทำขึ้นมีน้อย เช่น อุบัติเหตุ กำรก่อสร้ำง ไฟไหม้
                          กำรก่อสร้ำงทำได้ง่ำย และเร็ว
     สิ้นเปลืองค่ำใช้จ่ำยในกำรก่อสร้ำงน้อย ใช้ค่ำใช้จ่ำยน้อยแต่คุณภำพสูง
ไมโครเวฟ

More Related Content

What's hot

ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013Jariya Jaiyot
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆwiriya kosit
 
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าพัน พัน
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหลWijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54Oui Nuchanart
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์Thepsatri Rajabhat University
 

What's hot (20)

ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013
 
กฎของพาสคัล
กฎของพาสคัลกฎของพาสคัล
กฎของพาสคัล
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
ความเร็ว (Velocity)
ความเร็ว (Velocity)ความเร็ว (Velocity)
ความเร็ว (Velocity)
 
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
ระยะทางและการกระจัด (Distance and Displacement)
ระยะทางและการกระจัด (Distance and Displacement)ระยะทางและการกระจัด (Distance and Displacement)
ระยะทางและการกระจัด (Distance and Displacement)
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรงการเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรง
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
 
การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54
 
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
WAVEs
WAVEsWAVEs
WAVEs
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 

Similar to ไมโครเวฟ

คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003Peerapas Trungtreechut
 
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405Jutapak Mahapaskorn
 
คลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟคลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟPeerapas Trungtreechut
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402Pitchayanis Kittichaovanun
 
ไมโครเวฟ(พิทักษ์พงษ์+สุทธวีร์)401
ไมโครเวฟ(พิทักษ์พงษ์+สุทธวีร์)401ไมโครเวฟ(พิทักษ์พงษ์+สุทธวีร์)401
ไมโครเวฟ(พิทักษ์พงษ์+สุทธวีร์)401Niewkaryu Mungtavesinsuk
 
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404Sawita Jiravorasuk
 
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าjuneniezstk
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403Supanut Maiyos
 
อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401
อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401
อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401Nuttavud Suebsai
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721CUPress
 
ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405
ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405
ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405Nachi Montianarrt
 
ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406
ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406
ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406Phratsuda Somsuk
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าuntika
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)supatra2011
 
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]wattumplavittayacom
 

Similar to ไมโครเวฟ (20)

คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003
 
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
 
คลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟคลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟ
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
 
ไมโครเวฟ(พิทักษ์พงษ์+สุทธวีร์)401
ไมโครเวฟ(พิทักษ์พงษ์+สุทธวีร์)401ไมโครเวฟ(พิทักษ์พงษ์+สุทธวีร์)401
ไมโครเวฟ(พิทักษ์พงษ์+สุทธวีร์)401
 
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
 
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Em wave
Em waveEm wave
Em wave
 
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
 
อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401
อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401
อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401
 
AnalChem : Basic of Spectroscopy
AnalChem : Basic of SpectroscopyAnalChem : Basic of Spectroscopy
AnalChem : Basic of Spectroscopy
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721
 
ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405
ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405
ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405
 
Communication Concept 3
Communication Concept 3Communication Concept 3
Communication Concept 3
 
ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406
ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406
ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ไมโครเวฟ
ไมโครเวฟไมโครเวฟ
ไมโครเวฟ
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
 
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
 

ไมโครเวฟ

  • 1. นำเสนอ อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร สมำชิก น.ส.นวทรรศนย์ จันทรวงศ์ น.ส.ปำณิสรำ ภู่เงิน
  • 2. เรื่อง หน้า สารบัญ 1. ไมโครเวฟ 3 2. กำรค้นพบ 4 3 4 3. ช่วงควำมถี่คลื่น 5 5 4. ลักษณะคลื่น 6 6 5. กำรใช้งำนวิทยุไมโครเวฟ 7 7-9 6.ข้อดีในกำรใช้วิทยุสื่อสำรไมโครเวฟ 10 10 7. กำรสื่อสำรไมโครเวฟ 11 11 8. สถำนีทวนสัญญำณ 12 12-14 9. เวฟไกด์ 15 15-16 10. สำยอำกำศแบบฮอร์น 17 17 11. คำถำม 18 18 12. เฉลย 19 19-24
  • 3. ไมโครเวฟ (microwave) เป็นคลื่นความถี่วิทยุชนิด หนึ่งที่มีความถี่อยู่ระหว่าง 0.3GHz - 300GHz ส่วนใน การใช้งานนั้นส่วนมากนิยมใช้ความถี่ระหว่าง 1 GHz - 60GHz เพราะเป็นย่านความถี่ที่สามารถผลิต ขึ้นได้ด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
  • 4. ในปี ค.ศ.1940 ของสองนักประดิษฐ์ชาวอังกฤษ คือ จอห์น แรนดอลล์ และ เอช เอ บู๊ต ได้ประดิษฐ์อุปกรณ์ที่เรียกกันว่า "แม็กนีตรอน" ใช้ผลิตพลังงานไมโครเวฟ ซึ่งเป็นการแผ่รังสี คลื่นสั้นรูปแบบหนึ่ง โดยจุดประสงค์ครั้งแรกคือ ใช้ในการปรับปรุงระบบเรดาร์ที่ใช้ใน สงครามโลกครั้งที่ 2เปอร์ซี่ เลอ บารอน สเปนเซอร์ เป็นนักฟิสิกส์ที่ทางานให้กับ บริษัท เรทีออน ผู้ผลิตอุปกรณ์เรดาร์ เขาพบว่า เมื่อเขาใช้เครื่องแม็กนีตรอน รังสีที่ได้ให้ความ ร้อนออกมาด้วย เขาจึงหาวิธีที่จะนาเอาความร้อนนี้มาใช้ ในไม่ช้าเขาก็ใช้แม็กนีตรอนละลาย ช็อกโกเล็ตและทาข้าวโพดคั่วของเขาไมโครเวฟทาให้โมเลกุลของอาหารเกิดการสั่นสะเทือน ดังนั้นอาหารจึงร้อนขึ้นและขบวนการนี้เกิดขึ้นเร็วมาก คลื่นนี้ไม่ทาให้สิ่งที่ทาจากกระดาษ กระเบื้องเคลือบ หรือแก้วร้อนขึ้น การใช้ไมโครเวฟในการปรุงอาหารนอกจากจะสะดวก ใช้ เวลาสั้นลงแล้วยังประหยัดพลังงานอีกด้วยใน ค.ศ.1945 เริ่มมีการผลิตเตาไมโครเวฟ ออกจาหน่ายแต่ยังมีขนาดใหญ่ไม่เหมาะกับการใช้ในครัวทั่วไป
  • 5. ช่วงความถี่คลื่นไมโครเวฟในงานวิทยุ คลื่นความถี่ไมโครเวฟสามารถแบ่งเป็นช่วงย่อยๆ ตามการกาหนดของ Radio Society of Great Britain (RSGB) ดังตารางต่อไปนี:้ Letter Designation ช่วงความถี่ L band 1 to 2 GHz S band 2 to 4 GHz C band 4 to 8 GHz X band 8 to 12 GHz Ku band 12 to 18 GHz K band 18 to 26.5 GHz Ka band 26.5 to 40 GHz Q band 30 to 50 GHz U band 40 to 60 GHz V band 50 to 75 GHz E band 60 to 90 GHz W band 75 to 110 GHz F band 90 to 140 GHz D band 110 to 170 GHz (Hot)
  • 6. ลักษณะของคลื่นวิทยุไมโครเวฟ เช่นเดียวกับลักษณะทั่วไปของคลื่น คลื่นวิทยุไมโครเวฟจะมีลกษณะ ั ดังต่อไปนี้ เดินทางเป็นเส้นตรง สามารถหักเหได้ (Refract) สามารถสะท้อนได้ (Reflect) สามารถแตกกระจายได้ (Diffract) สามารถถูกลดทอนเนื่องจากฝน (Attenuate) สามารถถูกลดทอนเนื่องจากชั้นบรรยากาศ
  • 7. น.8 กำรใช้งำนวิทยุไมโครเวฟ ในกำรใช้งำนคลื่นไมโครเวฟนั้นก็จะแบ่งกำรใช้งำนได้ดังนี้ ระบบเชื่อมต่อสัญญำณในระดับสำยตำ ใช้ในงำนสื่อสำรโทรคมนำคม ระหว่ำงจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง อย่ำงเช่น กำรโทรศัพท์ทำงไกล ใช้กำร ส่งผ่ำนสัญญำณโทรศัพท์จำกจุดหนึ่ง ไปยังสถำนีทวนสัญญำณจำกจุด หนึ่งและส่งผ่ำนสัญญำณไปเรื่อยๆ จนถึงปลำยทำง และในกำรส่ง โทรทัศน์ก็จะทำกำรส่งสัญญำณโทรทัศน์จำกห้องส่งไปยังเครื่องส่ง ไมโครเวฟ ส่งไปทำงสำยอำกำศ และแพร่กระจำกคลื่นของโทรทัศน์ ของสถำนีนั้นๆ ระยะห่ำงของสถำนีสัญญำณจะเป็นดังนี้ ถ้ำควำมถี่สูง ระยะห่ำงก็จะน้อยแต่ถ้ำ ควำมถี่ของคลื่นไมโครเวฟต่ำระยะห่ำงของ สถำนีทวนสัญญำณก็จะมำก
  • 8. ระบบเหนือขอบฟ้ำ ซึ่งเป็นระบบสื่อสำรไมโครเวฟที่ใช้ ชั้นบรรยำกำศห่อหุ้มโลก ชั้นโทรโพสเฟียร์ ช่วยในกำร สะท้อนและหักเหคลื่นควำมถี่ไมโครเวฟ ให้ไปถึง ปลำยทำง ให้ได้ระยะทำงมำกขึ้น กำรใช้ในรูปแบบนี้ไม่ ค่อยนิยมเท่ำไรหรอกจะใช้เฉพำะในกรณีที่จำเป็นเท่ำนั้น เช่น ในเขตที่ไม่สำมำรถตั้งสถำนีทวนสัญญำณได้ เป็น ประกำรฉะนี้ เนื่องจำกกำรใช้งำนรูปแบบนี้สำมำรถทำได้ ในระยะทำงที่ไกลมำก ดังนั้นในกำรส่งคลื่นจึงทำให้คลื่นมี กำร กระจัดกระจำยได้ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องใช้เครื่องส่งที่ มีกำลังส่งทีสูงและสำยอำกำศที่รับต้องมีอัตรำกำรขยำย ่ สัญญำณที่สง เช่นเดียวกัน ู น.9
  • 9. ระบบดาวเทียม เป็นการใช้สถานีทวนสัญญาณลอยอยู่เหนือพื้น โลกกว่า 30,000 กิโลเมตร โดยการใช้ดาวเทียมทาหน้าที่เป็นสถานี ทวนสัญญาณการใช้ระบบนี้สามารถทาการสื่อสารได้ไกลมากๆ ได้ ซึ่งเป็นระบบที่นิยมใช้ระบบหนึ่งในปัจจุบัน นิยมใช้มาก ระบบเรดาร์ ระบบนี้จะเป็นการใช้ไมโครเวฟ ในการตรวจจับวัตถุ ต่างโดยการส่งคลื่นไมโครเวฟออกไป ในมุมแคบ แล้วไปกระทบ วัตถุที่อยู่ไกลออกไป และจากนั้นคลื่นก็จะสะท้อนกลับมาแล้วนา สัญญาณที่ได้รับเทียบกับสัญญาณเดิม แล้วเราค่อยนาไปแปรค่า เป็นข้อมูลต่างๆ อีกที ระบบเตาไมโครเวฟ ระบบนี้เป็นการส่งคลื่นไมโครเวฟ ที่มีกาลัง สูงส่งในพื้นที่แคบๆ ที่ทาด้วยโลหะ คลื่นไมโครเวฟนี้ก็จะสะท้อน โลหะนั้นทาให้มีคลื่นไมโครเวฟ กระจัดกระจายอยู่พื้นที่นั้นสามารถ นาไปใช้ในการทาอาหารได้
  • 10. ข้อดีในการใช้วิทยุไมโครเวฟในการสื่อสาร คุณสมบัติการกระจายคลื่นไมโครเวฟคงที่ ทิศทางของสายอากาศเป็นแนวพุ่งตรงไปในทิศทางที่ต้องการ อัตราขยายสัญญาณของสายอากาศสูง สามารถทาให้อัตราส่วนของสัญญาณต่อสัญญาณรบกวนดีขึ้น คือมีสัญญาณ รบกวนเกิดขึ้นน้อย สามารถส่งคลื่นได้ในย่านกว้างเพราะคลื่นมีความถี่สูงมาก เครือข่ายมีความน่าเชื่อถือสูงในการใช้งาน ปลอดภัยจากการเกิดภัยธรรมชาติ เช่น น้าท่วม แผ่นดินไหว การรบกวนที่เกิดจากมนุษย์ทาขึ้นมีน้อย เช่น อุบัติเหตุ การก่อสร้าง ไฟไหม้ การก่อสร้างทาได้ง่าย และเร็ว สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างน้อย ใช้ค่าใช้จ่ายน้อยแต่คุณภาพสูง
  • 11. การสื่อสารไมโครเวฟ สถานีรับส่งสัญญาณไมโครเวฟที่ Wrights Hill เมือง Wellington ประเทศนิวซีแลนด์ โครงสร้างของParabolicReflector การสื่อสารไมโครเวฟ วิธีที่นยมใช้กนมากก็คือการสือสารในระดับสายตา ใช้ในการสื่อสารข้อมูล ิ ั ่ ข่าวสารในปริมาณมากๆ เส้นทางในการสื่อสารนีจะประมาณ 50-80 กิโลเมตร และไม่มีสิ่งกีดขวาง แต่ถา ้ ้ ต้องการสื่อสารในระยะไกลกว่านี้ จะต้องมีสถานีทวนสัญญาณเพือ ให้รับสัญญาณและทาการขยายแล้ว ่ ส่งสัญญาณต่อไป จนถึงปลายทางได้
  • 12. น.13 สถำนีทวนสัญญำณไมโครเวฟ สถำนีทวนสัญญำณไมโครเวฟ ใช้ในกำรสื่อสำรไมโครเวฟในระดับ สำยตำ เนื่องจำกกำรสื่อสำรในรูปแบบนี้มีผลต่อส่วนโค้งของโลก ดังนั้น ในกำรสื่อสำรไมโครเวฟนี้จะต้องมีสถำนีทวนสัญญำณในระยะทุกๆ 50- 80 กม. ซึ่งสถำนีทวนสัญญำณจะทำกำรถ่ำยทอด สัญญำณจำกสถำนีต้น ทำงทำกำรรับสัญญำณมำและทำกำรขยำยสัญญำณ ให้แรงขึ้นแล้วก็ทำ กำรส่งสัญญำณต่อไปจนถึงปลำยทำง สถำนีทวนสัญญำณข่ำวสำรข้อมูล จะทำกำรเปลี่ยนแปลงควำมถี่ที่รบเข้ำ ั มำให้เหลือเพียงควำมถี่
  • 13. สถานีทวนสัญญาณความถี่ IF สถานีทวนสัญญาณรูปแบบนีจะทาการ ้ เปลี่ยนความถี่ที่รับเข้ามาให้เป็นความถี่ IF ก่อนแล้วจึงทาการขยาย สัญญาณให้แรงขึ้นอีกที จากนั้นก็ค่อยทาการผสมกับคลื่นไมโครเวฟ ความถี่ใหม่ แล้วจึงทาการส่งออกไป ข้อดีของสถานีทวนสัญญาณรูปแบบ นี้คือ อัตราส่วนของสัญญาณต่อสัญญาณรบกวนดีขึ้น ระดับความแรงของ สัญญาณข้อมูลข่าวสารคงที่ ข้อเสียของสถานีทวนสัญญาณรูปแบบคือ ไม่ สามารถดึงสัญญาณข้อมูลข่าวสารมาใช้ได้และไม่สามารถแทรกสัญญาณ ข้อมูลใหม่เข้าไปได้ น.14
  • 14. สถานีทวนสัญญาณความถี่ RF สถานีทวนสัญญาณรูปแบบนี้ จะทาการ เปลียนความถี่ RF เดิมไปเป็นความถี่ RF ใหม่ โดยตรงก่อนแล้วค่อยทา ่ การส่งออกไป ข้อดีของสถานีทวนสัญญาณรูปแบบคือ มีอัตราส่วนของ สัญญาณต่อสัญญาณรบกวนดีมาก สัญญาณข้อมูลข่าวสารมีความคงที่ ข้อเสียของสถานีทวนสัญญาณรูปแบบนี้คือ มีราคาแพงมาก และยังไม่ สามารถดึงสัญญาณข้อมูลข่าวสารมาใช้ได้ และยังไม่สามารถนา สัญญาณข้อมูลใหม่แทรกเข้าไปได้ และยังมีความยุ่งยากในการออกแบบ วงจรอีกด้วย
  • 15. เวฟไกด์ เวฟไกด์ (Waveguide) หรือว่าท่อนาคลื่น นี้ เป็นสายส่งสัญญาณชนิดหนึ่ง-ที่ใช้ใน การ ส่งคลื่นไมโครเวฟ โดยทั่วไปจะมีลักษณะเป็นท่อกลม หรือท่อเหลี่ยม แล้วแต่จะทามาและก็จะ ทามาจากทองแดงหรืออะลูมิเนียม ด้านในฉาบด้วยเงินเพื่อให้เป็นตัวนาที่ดี สาเหตุที่สายนา สัญญาณต้องทาเป็นท่อนี้ก็เพราะว่า คลื่นไมโครเวฟมีความถี่สูงมากจะเดินทางได้ดีที่บริเวณผิว ของตัวนาถ้าหากใช้สายนาสัญญาณทั่วไปจะทาให้เกิดการสูญเสียงพลังงานไปได้ จึงต้องทา เป็นท่อเพื่อป้องกันการสูญเสียพลังงานจากผิวของสายสัญญาณ ความถี่ต่าสุดที่สามารถใช้งาน ได้กับเวฟไกด์เรียกว่า ความถี่คัตออฟ ซึ่งถ้าความถี่สูงกว่าความถี่ คัตออฟ จะสามารถเดินทาง ไปบนเวฟไกด์ได้ ส่วนความถี่ที่ต่ากว่านี้จะไม่สามารถเดินทางบนเวฟไกด์ได้ ในการเดินทางของ คลื่นไมโครเวฟในเวฟไกด์นั้น จะเดินทางโดยการสะท้อนผนังท่อ และเดินทางไปตามความยาว ของท่อนาคลื่น และความถี่ที่สูงก็สามารถเดินทางได้ไกลกว่าความถี่ที่ต่า น.16
  • 16. รูปแบบในการเกิดคลื่นในเวฟไกด์ ก็จะมีอยู่ 2 รูปแบบด้วยกัน คือ รูปแบบสนามไฟฟ้าตัดขวาง ซึ่งเป็นรูปแบบที่ไม่มีส่วนประกอบของ สนามไฟฟ้าในทิศทางการแพร่กระจายคลื่น โดยสนามไฟฟ้าจะตั้งฉากกับทิศ ทางการแพร่กระจายของคลืน ่ รูปแบบสนามแม่เหล็กตัดขวาง เป็นรูปแบบที่ไม่มีส่วนประกอบของ สนามแม่เหล็กในทิศทางการแพร่กระจายคลื่น โดยสนามแม่เหล็กจะตั้งฉาก กับทิศทางการแพร่กระจายของคลื่นเสมอ
  • 17. สำยอำกำศแบบฮอร์น สำยอำกำศแบบฮอร์นนี้ เป็นสำยอำกำศที่นิยมใช้กันมำกที่สดเพรำะมี ุ กำลังกำรขยำยสูงประกอบด้วยท่อนำคลื่นตอนปลำยเปิดกว้ำงออก มำกกว่ำปกติ กำรที่จะทำให้อัตรำกำรขยำยสูงนั้น ทำโดยกำรเพิ่มจำน สะท้อนคลื่นแบบพำรำโบลำ(Parabola) เข้ำไปด้วย ในกำรใช้ สำยอำกำศแบบฮอร์นนี้ต้องใช้ร่วมกับจำนสะท้อนคลื่นแบบพำลำโบลำ ที่ เรียกว่ำ ตัวสะท้อนคลื่นพำลำโบลิก และตำแหน่งของฮอร์น ต้องวำงใน ตำแหน่งโฟกัสของตัวสะท้อนคลื่น เพรำะเป็นตำแหน่งรวมคลื่นทั้งหมด
  • 18. 1. ไมโครเวฟเป็นคลื่นความถี่อะไร ? เฉลย 2. เวฟไกด์ เรียกอีกอย่างว่าอะไร ? เฉลย 3. สายอากาศแบบฮอร์นสะท้อนคลื่นแบบไหน ? เฉลย 4. เวฟไกด์มีกี่รูปแบบและแบบอะไรบ้าง ? เฉลย 5. การสื่อสารไมโครเวฟ Wrights Hill ที่เมืองอะไรและประเทศ อะไร ? เฉลย 6. จงบอกข้อดีในการใช้วิทยุสื่อสารมา 2 ข้อ ? เฉลย
  • 19. ไมโครเวฟเป็นคลื่นความถี่ อะไร ? ตอบ คลื่นควำมถี่วิทยุ ไปหน้ำคำถำม
  • 20. เวฟไกด์ เรียกอีกอย่างว่าอะไร ? ตอบ เรียกว่าท่อนาคลื่น ไปหน้ำคำถำม
  • 21. สายอากาศแบบฮอร์นสะท้อคลื่น แบบไหน ? ตอบ เป็นแบบพาราโบลา(Parabola) ไปหน้ำคำถำม
  • 22. เวฟไกด์มีกี่รูปแบบและแบบ อะไรบ้าง ? ตอบ มีอยู่ 2 รูปแบบ คือสนำมไฟฟ้ำ และสนำมแม่เหล็ก ไปหน้ำคำถำม
  • 23. การสื่อสารไมโครเวฟ Wrights Hill ที่เมืองอะไรและประเทศอะไร ? ตอบ เมือง Wellington ประเทศนิวซีแลนด์ ไปหน้ำเฉลย
  • 24. จงบอกข้อดีในการใช้วิทยุสื่อสาร มา 2 ตอบอคุ?สมบัติกำรกระจำยคลื่นไมโครเวฟคงที่ ข้ ณ ไปหน้ำคำถำม ทิศทำงของสำยอำกำศเป็นแนวพุ่งตรงไปในทิศทำงที่ต้องกำร อัตรำขยำยสัญญำณของสำยอำกำศสูง สำมำรถทำให้อัตรำส่วนของสัญญำณต่อสัญญำณรบกวนดีขึ้น คือมีสัญญำณรบกวน เกิดขึ้นน้อย สำมำรถส่งคลื่นได้ในย่ำนกว้ำงเพรำะคลื่นมีควำมถี่สูงมำก เครือข่ำยมีควำมน่ำเชื่อถือสูงในกำรใช้งำน ปลอดภัยจำกกำรเกิดภัยธรรมชำติ เช่น น้ำท่วม แผ่นดินไหว กำรรบกวนที่เกิดจำกมนุษย์ทำขึ้นมีน้อย เช่น อุบัติเหตุ กำรก่อสร้ำง ไฟไหม้ กำรก่อสร้ำงทำได้ง่ำย และเร็ว สิ้นเปลืองค่ำใช้จ่ำยในกำรก่อสร้ำงน้อย ใช้ค่ำใช้จ่ำยน้อยแต่คุณภำพสูง