SlideShare a Scribd company logo
นำำเสนอ อำจำรย์ ปิยวรรณ
ควำมสำำคัญ
เป็นคลื่นควำมถี่วิทยุชนิด หนึ่งที่มีควำมถีอยู่ระหว่ำง
                                           ่
  0.3GHz - 300GHz ส่วนในกำรใช้งำนนั้นส่วนมำกนิยมใช้
  ควำมถีระหว่ำง 1GHz - 60GHz เพรำะเป็นย่ำนควำมถี่ที่
        ่
  สำมำรถผลิตขึ้นได้ด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
กำรค้นพบ
ในปี ค.ศ.1940 ของสองนักประดิษฐ์ชำวอังกฤษ คือ จอห์น
 แรนดอลล์และ เอช เอ บู๊ตได้ประดิษฐ์อุปกรณ์ที่เรียกกันว่ำ "แม็
 กนีตรอน" ใช้ผลิตพลังงำนไมโครเวฟ ซึ่งเป็นกำรแผ่รังสีคลืนสัน  ่ ้
 รูปแบบหนึ่ง โดยจุดประสงค์ครั้งแรกคือ ใช้ในกำรปรับปรุงระบบ
 เรดำร์ที่ใช้ในสงครำมโลกครั้งที่ 2เปอร์ซี่ เลอ บำรอน สเปนเซอร์
 เป็นนักฟิสิกส์ที่ทำำงำนให้กบ บริษัท เรทีออน ผู้ผลิตอุปกรณ์
                            ั
 เรดำร์ เขำพบว่ำ เมื่อเขำใช้เครื่องแม็กนีตรอน รังสีที่ได้ให้ควำม
 ร้อนออกมำด้วย เขำจึงหำวิธีที่จะนำำเอำควำมร้อนนี้มำใช้ ในไม่
 ช้ำเขำก็ใช้แม็กนีตรอนละลำยช็อกโกเล็ตและทำำข้ำวโพดคั่วของ
 เขำไมโครเวฟ ทำำให้โมเลกุลของอำหำรเกิดกำรสั่นสะเทือน ดัง
 นั้นอำหำรจึงร้อนขึ้นและขบวนกำรนี้เกิดขึ้นเร็วมำก คลืนนี้ไม่
                                                        ่
 ทำำให้สิ่งที่ทำำจำกกระดำษ กระเบื้องเคลือบ หรือแก้วร้อนขึ้น กำร
 ใช้ไมโครเวฟในกำรปรุงอำหำรนอกจำกจะสะดวก ใช้เวลำสั้นลง
 แล้วยังประหยัดพลังงำนอีกด้วยใน ค.ศ.1945 เริ่มมีกำรผลิตเตำ
 ไมโครเวฟออกจำำหน่ำยแต่ยังมีขนำดใหญ่ไม่เหมำะกับกำรใชใน
 ครัวทั่วไป ต้องใช้เวลำอีกนำนกว่ำจะสำมำรถพัฒนำให้มีขนำด
ลักษณะของคลื่นไมโครเวฟ
เช่นเดียวกับลักษณะทั่วไปของคลืน คลื่นวิทยุไมโครเวฟจะ
                               ่
 มีลักษณะดังต่อไปนี้
เดินทางเป็นเส้นตรง
สามารถหักเหได้ (Refract)
สามารถสะท้อนได้ (Reflect)
สามารถแตกกระจายได้ (Diffract)
สามารถถูกลดทอนเนื่องจากฝน (Attenuate)
สามารถถูกลดทอนเนื่องจากชั้นบรรยากาศ
ข้อ ดีใ นการใช้ว ท ยุไ มโครเวฟ
                 ิ
ในการสือ สาร
          ่

คุณสมบัติการกระจายคลืนไมโครเวฟคงที่
                      ่
ทิศทางของสายอากาศเป็นแนวพุ่งตรงไปในทิศทางที่ต้องการ
อัตราขยายสัญญาณของสายอากาศสูง
สามารถทำาให้อตราส่วนของสัญญาณต่อสัญญาณรบกวนดีขึ้น
              ั
 คือมีสัญญาณรบกวนเกิดขึ้นน้อย
สามารถส่งคลื่นได้ในย่านกว้างเพราะคลื่นมีความถี่สูงมาก
เครือข่ายมีความน่าเชื่อถือสูงในการใช้งาน
ปลอดภัยจากการเกิดภัยธรรมชาติ เช่น นำ้าท่วม แผ่นดินไหว
การรบกวนที่เกิดจากมนุษย์ทำาขึ้นมีน้อย เช่น อุบัติเหตุ การ
 ก่อสร้าง ไฟไหม้
การก่อสร้างทำาได้ง่าย และเร็ว
สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างน้อย ใช้ค่าใช้จ่ายน้อยแต่
ข้อเสียคลื่นไมโครเวฟ
 มีค่าใช้จ่ายสูงกว่าคลื่นอื่นๆ
อาจมีผลค้างเคียงในการใช้งาน เช่น ทำาให้เป็นหมัน
มีอัตราโอนข้อมูลช้ากว่าคลื่นชนิดอื่น
มีผลต่อสิ่งแวดล้อม
เป็นคลืนที่ต้องขออนุญาตการใช้งาน
        ่
การสือ สารไมโครเวฟ
     ่

การสื่อสารไมโครเวฟ วิธที่นิยมใช้กนมากก็คือการสื่อสาร
                       ี          ั
 ในระดับสายตา ใช้ในการสื่อสารข้อมูลข่าวสารในปริมาณ
 มากๆ เส้นทางในการสื่อสารนี้จะประมาณ 50-80 กิโลเมตร
 และไม่มีสิ่งกีดขวาง แต่ถ้าต้องการสื่อสารในระยะไกลกว่านี้
 จะต้องมีสถานีทวนสัญญาณเพื่อ ให้รับสัญญาณและทำาการ
 ขยายแล้วส่งสัญญาณต่อไป จนถึงปลายทางได้
สถานีท วนสัญ ญาณไมโครเวฟ
 สถานีทวนสัญญาณไมโครเวฟ ใช้ในการสือสารไมโครเวฟในระดับสายตา เนื่องจากการสือสาร
                                   ่                                      ่
  ในรูปแบบนี้มผลต่อส่วนโค้งของโลก ดังนั้นในการสือสารไมโครเวฟนี้จะต้องมีสถานีทวนสัญญาณ
                ี                                ่
  ในระยะทุกๆ 50-80 กม. ซึ่งสถานีทวนสัญญาณจะทำาการถ่ายทอด สัญญาณจากสถานีต้นทาง
  ทำาการรับสัญญาณมาและทำาการขยายสัญญาณ ให้แรงขึนแล้วก็ทำาการส่งสัญญาณต่อไปจนถึง
                                                        ้
  ปลายทาง
 สถานีทวนสัญญาณข่าวสารข้อมูล จะทำาการเปลี่ยนแปลงความถี่ทรับเข้ามาให้เหลือเพียงความถี่
                                                             ี่
  ข่าวสารข้อมูลก่อน แล้วก็ทำาการขยายสัญญาณให้แรงขึนอีกที จากนั้นก็นำาไปผสมกับความถี่
                                                    ้
  ไมโครเวฟความถี่ใหม่ แล้วทำาการส่งออกไป ข้อดีของสถานีทวนสัญญาณรูปแบบนี้คือ สามารถดึง
  สัญญาณข่าวสารข้อมูลมาใช้ได้ และสามารถทำาการนำาข่าวสารข้อมูลใหม่แทรกเข้าไปได้ด้วย ข้อ
  เสียของสถานีทวนสัญญาณรูปแบบนี้คือ จะเกิดสัญญาณรบกวนแทรกเข้ามา และระดับความแรง
  ของสัญญาณข่าวสารข้อมูลไม่คงที่
 สถานีทวนสัญญาณความถี่ IF สถานีทวนสัญญาณรูปแบบนี้จะทำาการเปลี่ยนความถี่ทรับเข้ามาให้
                                                                              ี่
  เป็นความถี่ IF ก่อนแล้วจึงทำาการขยายสัญญาณให้แรงขึนอีกที จากนั้นก็ค่อยทำาการผสมกับคลื่น
                                                      ้
  ไมโครเวฟ ความถีใหม่ แล้วจึงทำาการส่งออกไป ข้อดีของสถานีทวนสัญญาณรูปแบบนี้คือ
                     ่
  อัตราส่วนของสัญญาณต่อสัญญาณรบกวนดีขน ระดับความแรงของสัญญาณข้อมูลข่าวสารคงที่
                                            ึ้
  ข้อเสียของสถานีทวนสัญญาณรูปแบบคือ ไม่สามารถดึงสัญญาณข้อมูลข่าวสารมาใช้ได้และไม่
  สามารถแทรกสัญญาณข้อมูลใหม่ เข้าไปได้
 สถานีทวนสัญญาณความถี่ RF สถานีทวนสัญญาณรูปแบบนี้ จะทำาการเปลี่ยนความถี่ RF เดิมไป
  เป็นความถี่ RF ใหม่ โดยตรงก่อนแล้วค่อยทำาการส่งออกไป ข้อดีของสถานีทวนสัญญาณรูปแบบ
  คือ มีอตราส่วนของสัญญาณต่อสัญญาณรบกวนดีมาก สัญญาณข้อมูลข่าวสารมีความคงที่ ข้อเสีย
         ั
  ของสถานีทวนสัญญาณรูปแบบนี้คือ มีราคาแพงมาก และยังไม่สามารถดึงสัญญาณข้อมูลข่าวสาร
  มาใช้ได้ และยังไม่สามารถนำาสัญญาณข้อมูลใหม่แทรกเข้าไปได้ และยังมีความยุงยากในการ
                                                                            ่
  ออกแบบวงจรอีกด้วย
เวฟไกด์ หรือ ท่อ นำา คลืน คือ
                        ่
อะไร ???
เวฟไกด์ (Waveguide) หรือว่าท่อนำาคลื่น นี้ เป็นสายส่งสัญญาณชนิด
 หนึ่ง-ที่ใช้ใน การส่งคลื่นไมโครเวฟ โดยทั่วไปจะมีลักษณะเป็นท่อกลม
 หรือท่อเหลียม แล้วแต่จะทำามาและก็จะ ทำามาจากทองแดงหรือ
               ่
 อะลูมเนียม ด้านในฉาบด้วยเงินเพื่อให้เป็นตัวนำาที่ดี สาเหตุที่สายนำา
       ิ
 สัญญาณต้องทำาเป็นท่อนี้ก็เพราะว่า คลื่นไมโครเวฟมีความถี่สูงมากจะ
 เดินทางได้ดที่บริเวณผิวของตัวนำาถ้าหากใช้สายนำาสัญญาณทั่วไปจะ
                 ี
 ทำาให้เกิดการสูญเสียงพลังงานไปได้ จึงต้องทำาเป็นท่อเพื่อป้องกันการ
 สูญเสียพลังงานจากผิวของสายสัญญาณ ความถี่ตำ่าสุดทีสามารถใช้
                                                        ่
 งานได้กับเวฟไกด์เรียกว่า ความถีคตออฟ ซึ่งถ้าความถี่สูงกว่าความถี่
                                  ่ ั
 คัตออฟ จะสามารถเดินทางไปบนเวฟไกด์ได้ ส่วนความถี่ทตำ่ากว่านี้จะ
                                                          ี่
 ไม่สามารถเดินทางบนเวฟไกด์ได้ ในการเดินทางของคลื่นไมโครเวฟ
 ในเวฟไกด์นั้น จะเดินทางโดยการสะท้อนผนังท่อ และเดินทางไปตาม
 ความยาวของท่อนำาคลื่น และความถี่ทสูงก็สามารถเดินทางได้ไกลกว่า
                                      ี่
 ความถี่ที่ตำ่า
รูปแบบในการเกิดคลื่นในเวฟไกด์ ก็จะมีอยู่ 2 รูปแบบด้วยกัน คือ
รูปแบบสนามไฟฟ้าตัดขวาง ซึ่งเป็นรูปแบบที่ไม่มส่วนประกอบของ
                                               ี
 สนามไฟฟ้าในทิศทางการแพร่กระจายคลื่น โดยสนามไฟฟ้าจะตั้งฉาก
สายอากาศแบบฮอร์น

สายอากาศแบบฮอร์นนี้ เป็นสายอากาศที่นิยมใช้กันมากที่สุด
  เพราะมีกำาลังการขยายสูงประกอบด้วยท่อนำา คลืนตอน
                                             ่
  ปลายเปิดกว้างออกมากกว่าปกติ การที่จะทำาให้อัตราการ
  ขยายสูงนั้น ทำาโดยการเพิ่มจานสะท้อนคลื่นแบบพาลาโบ
  ลา (Parabola) เข้าไปด้วย ในการใช้สายอากาศแบบฮอร์น
  นี้ต้องใช้ร่วมกับจานสะท้อนคลื่นแบบพาลาโบลา ที่เรียกว่า
  ตัวสะท้อนคลื่นพาลาโบลิก และตำาแหน่งของฮอร์น ต้องวาง
  ในตำาแหน่งโฟกัสของตัวสะท้อนคลืน เพราะเป็นตำาแหน่ง
                                   ่
  รวมคลืนทั้งหมด
          ่

More Related Content

What's hot

เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง  คลื่นไมโครเวฟเรื่อง  คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
เรื่อง  รังสีอินฟราเรดเรื่อง  รังสีอินฟราเรด
เรื่อง รังสีอินฟราเรดSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลตเรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลตSomporn Laothongsarn
 
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404Sawita Jiravorasuk
 
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าjuneniezstk
 
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)Pampam Chaiklahan
 
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405Kaimin Ngaokrajang
 
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403Theem N. Veokeki
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Thaweekoon Intharachai
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าuntika
 
สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403
สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403
สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403Papangkorn Chamviteelert
 
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405Alspkc Edk
 
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404Yamano Yumeyuki
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุSomporn Laothongsarn
 
คลื่นวิทยุ(สิทธิกานต์+วรุตม์)404
คลื่นวิทยุ(สิทธิกานต์+วรุตม์)404คลื่นวิทยุ(สิทธิกานต์+วรุตม์)404
คลื่นวิทยุ(สิทธิกานต์+วรุตม์)404Pom Ruangtham
 
อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401
อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401
อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401Nuttavud Suebsai
 
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406Krittapas Rodsom
 
อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)
อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)
อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)Nitkamon Bamrungchaokasem
 

What's hot (20)

เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง  คลื่นไมโครเวฟเรื่อง  คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
 
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
เรื่อง  รังสีอินฟราเรดเรื่อง  รังสีอินฟราเรด
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
 
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลตเรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
 
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
 
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
Em wave
Em waveEm wave
Em wave
 
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
 
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
 
อินฟาเรด(พลพัชร+รุจ)406
อินฟาเรด(พลพัชร+รุจ)406อินฟาเรด(พลพัชร+รุจ)406
อินฟาเรด(พลพัชร+รุจ)406
 
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403
สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403
สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403
 
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405
 
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุ
 
คลื่นวิทยุ(สิทธิกานต์+วรุตม์)404
คลื่นวิทยุ(สิทธิกานต์+วรุตม์)404คลื่นวิทยุ(สิทธิกานต์+วรุตม์)404
คลื่นวิทยุ(สิทธิกานต์+วรุตม์)404
 
อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401
อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401
อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401
 
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406
 
อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)
อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)
อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)
 

Viewers also liked

คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401Apinya Singsopa
 
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407Mullika Pummuen
 
รังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีอัลตราไวโอเลตรังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีอัลตราไวโอเลตDashodragon KaoKaen
 
ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406
ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406
ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406Phratsuda Somsuk
 
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)Salin Satheinmars
 
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
Worawut Thongchan
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์Somporn Laothongsarn
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
Visible light communication
Visible light communicationVisible light communication
Visible light communication
Parth Saxena
 

Viewers also liked (11)

คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
 
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407
 
รังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีอัลตราไวโอเลตรังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีอัลตราไวโอเลต
 
ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406
ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406
ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406
 
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
 
เรื่อง แสง
เรื่อง  แสงเรื่อง  แสง
เรื่อง แสง
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
Visible light communication
Visible light communicationVisible light communication
Visible light communication
 

Similar to คลื่น ไมโครเวฟ 2003

2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
Mrpopovic Popovic
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารMrpopovic Popovic
 
Communication Concept 3
Communication Concept 3Communication Concept 3
Communication Concept 3
Jenchoke Tachagomain
 
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402แพทตี้ ฉัตรบริรักษ์
 
สายคู่บิดเกลียว(ธีภพ สิรภพ)402
สายคู่บิดเกลียว(ธีภพ สิรภพ)402สายคู่บิดเกลียว(ธีภพ สิรภพ)402
สายคู่บิดเกลียว(ธีภพ สิรภพ)402Theepop Eamchotchawalit
 
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401Mink Chonnikan
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
supatra2011
 
Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13mook_suju411
 
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406Arutchapaun Trongsiriwat
 
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]wattumplavittayacom
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าSomporn Laothongsarn
 
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405Te Mu Su
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721
CUPress
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
suchai mechai
 
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูลเทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
Mrpopovic Popovic
 
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลwatnawong
 
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405คทาณัฐ เมธชนัน
 
Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and networkNittaya Intarat
 

Similar to คลื่น ไมโครเวฟ 2003 (20)

2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
 
Communication Concept 3
Communication Concept 3Communication Concept 3
Communication Concept 3
 
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
 
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
 
สายคู่บิดเกลียว(ธีภพ สิรภพ)402
สายคู่บิดเกลียว(ธีภพ สิรภพ)402สายคู่บิดเกลียว(ธีภพ สิรภพ)402
สายคู่บิดเกลียว(ธีภพ สิรภพ)402
 
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
 
Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13
 
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
 
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
 
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูลเทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
 
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
 
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405
 
Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and network
 

คลื่น ไมโครเวฟ 2003

  • 2. ควำมสำำคัญ เป็นคลื่นควำมถี่วิทยุชนิด หนึ่งที่มีควำมถีอยู่ระหว่ำง ่ 0.3GHz - 300GHz ส่วนในกำรใช้งำนนั้นส่วนมำกนิยมใช้ ควำมถีระหว่ำง 1GHz - 60GHz เพรำะเป็นย่ำนควำมถี่ที่ ่ สำมำรถผลิตขึ้นได้ด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
  • 3. กำรค้นพบ ในปี ค.ศ.1940 ของสองนักประดิษฐ์ชำวอังกฤษ คือ จอห์น แรนดอลล์และ เอช เอ บู๊ตได้ประดิษฐ์อุปกรณ์ที่เรียกกันว่ำ "แม็ กนีตรอน" ใช้ผลิตพลังงำนไมโครเวฟ ซึ่งเป็นกำรแผ่รังสีคลืนสัน ่ ้ รูปแบบหนึ่ง โดยจุดประสงค์ครั้งแรกคือ ใช้ในกำรปรับปรุงระบบ เรดำร์ที่ใช้ในสงครำมโลกครั้งที่ 2เปอร์ซี่ เลอ บำรอน สเปนเซอร์ เป็นนักฟิสิกส์ที่ทำำงำนให้กบ บริษัท เรทีออน ผู้ผลิตอุปกรณ์ ั เรดำร์ เขำพบว่ำ เมื่อเขำใช้เครื่องแม็กนีตรอน รังสีที่ได้ให้ควำม ร้อนออกมำด้วย เขำจึงหำวิธีที่จะนำำเอำควำมร้อนนี้มำใช้ ในไม่ ช้ำเขำก็ใช้แม็กนีตรอนละลำยช็อกโกเล็ตและทำำข้ำวโพดคั่วของ เขำไมโครเวฟ ทำำให้โมเลกุลของอำหำรเกิดกำรสั่นสะเทือน ดัง นั้นอำหำรจึงร้อนขึ้นและขบวนกำรนี้เกิดขึ้นเร็วมำก คลืนนี้ไม่ ่ ทำำให้สิ่งที่ทำำจำกกระดำษ กระเบื้องเคลือบ หรือแก้วร้อนขึ้น กำร ใช้ไมโครเวฟในกำรปรุงอำหำรนอกจำกจะสะดวก ใช้เวลำสั้นลง แล้วยังประหยัดพลังงำนอีกด้วยใน ค.ศ.1945 เริ่มมีกำรผลิตเตำ ไมโครเวฟออกจำำหน่ำยแต่ยังมีขนำดใหญ่ไม่เหมำะกับกำรใชใน ครัวทั่วไป ต้องใช้เวลำอีกนำนกว่ำจะสำมำรถพัฒนำให้มีขนำด
  • 4. ลักษณะของคลื่นไมโครเวฟ เช่นเดียวกับลักษณะทั่วไปของคลืน คลื่นวิทยุไมโครเวฟจะ ่ มีลักษณะดังต่อไปนี้ เดินทางเป็นเส้นตรง สามารถหักเหได้ (Refract) สามารถสะท้อนได้ (Reflect) สามารถแตกกระจายได้ (Diffract) สามารถถูกลดทอนเนื่องจากฝน (Attenuate) สามารถถูกลดทอนเนื่องจากชั้นบรรยากาศ
  • 5. ข้อ ดีใ นการใช้ว ท ยุไ มโครเวฟ ิ ในการสือ สาร ่ คุณสมบัติการกระจายคลืนไมโครเวฟคงที่ ่ ทิศทางของสายอากาศเป็นแนวพุ่งตรงไปในทิศทางที่ต้องการ อัตราขยายสัญญาณของสายอากาศสูง สามารถทำาให้อตราส่วนของสัญญาณต่อสัญญาณรบกวนดีขึ้น ั คือมีสัญญาณรบกวนเกิดขึ้นน้อย สามารถส่งคลื่นได้ในย่านกว้างเพราะคลื่นมีความถี่สูงมาก เครือข่ายมีความน่าเชื่อถือสูงในการใช้งาน ปลอดภัยจากการเกิดภัยธรรมชาติ เช่น นำ้าท่วม แผ่นดินไหว การรบกวนที่เกิดจากมนุษย์ทำาขึ้นมีน้อย เช่น อุบัติเหตุ การ ก่อสร้าง ไฟไหม้ การก่อสร้างทำาได้ง่าย และเร็ว สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างน้อย ใช้ค่าใช้จ่ายน้อยแต่
  • 6. ข้อเสียคลื่นไมโครเวฟ  มีค่าใช้จ่ายสูงกว่าคลื่นอื่นๆ อาจมีผลค้างเคียงในการใช้งาน เช่น ทำาให้เป็นหมัน มีอัตราโอนข้อมูลช้ากว่าคลื่นชนิดอื่น มีผลต่อสิ่งแวดล้อม เป็นคลืนที่ต้องขออนุญาตการใช้งาน ่
  • 7. การสือ สารไมโครเวฟ ่ การสื่อสารไมโครเวฟ วิธที่นิยมใช้กนมากก็คือการสื่อสาร ี ั ในระดับสายตา ใช้ในการสื่อสารข้อมูลข่าวสารในปริมาณ มากๆ เส้นทางในการสื่อสารนี้จะประมาณ 50-80 กิโลเมตร และไม่มีสิ่งกีดขวาง แต่ถ้าต้องการสื่อสารในระยะไกลกว่านี้ จะต้องมีสถานีทวนสัญญาณเพื่อ ให้รับสัญญาณและทำาการ ขยายแล้วส่งสัญญาณต่อไป จนถึงปลายทางได้
  • 8. สถานีท วนสัญ ญาณไมโครเวฟ  สถานีทวนสัญญาณไมโครเวฟ ใช้ในการสือสารไมโครเวฟในระดับสายตา เนื่องจากการสือสาร ่ ่ ในรูปแบบนี้มผลต่อส่วนโค้งของโลก ดังนั้นในการสือสารไมโครเวฟนี้จะต้องมีสถานีทวนสัญญาณ ี ่ ในระยะทุกๆ 50-80 กม. ซึ่งสถานีทวนสัญญาณจะทำาการถ่ายทอด สัญญาณจากสถานีต้นทาง ทำาการรับสัญญาณมาและทำาการขยายสัญญาณ ให้แรงขึนแล้วก็ทำาการส่งสัญญาณต่อไปจนถึง ้ ปลายทาง  สถานีทวนสัญญาณข่าวสารข้อมูล จะทำาการเปลี่ยนแปลงความถี่ทรับเข้ามาให้เหลือเพียงความถี่ ี่ ข่าวสารข้อมูลก่อน แล้วก็ทำาการขยายสัญญาณให้แรงขึนอีกที จากนั้นก็นำาไปผสมกับความถี่ ้ ไมโครเวฟความถี่ใหม่ แล้วทำาการส่งออกไป ข้อดีของสถานีทวนสัญญาณรูปแบบนี้คือ สามารถดึง สัญญาณข่าวสารข้อมูลมาใช้ได้ และสามารถทำาการนำาข่าวสารข้อมูลใหม่แทรกเข้าไปได้ด้วย ข้อ เสียของสถานีทวนสัญญาณรูปแบบนี้คือ จะเกิดสัญญาณรบกวนแทรกเข้ามา และระดับความแรง ของสัญญาณข่าวสารข้อมูลไม่คงที่  สถานีทวนสัญญาณความถี่ IF สถานีทวนสัญญาณรูปแบบนี้จะทำาการเปลี่ยนความถี่ทรับเข้ามาให้ ี่ เป็นความถี่ IF ก่อนแล้วจึงทำาการขยายสัญญาณให้แรงขึนอีกที จากนั้นก็ค่อยทำาการผสมกับคลื่น ้ ไมโครเวฟ ความถีใหม่ แล้วจึงทำาการส่งออกไป ข้อดีของสถานีทวนสัญญาณรูปแบบนี้คือ ่ อัตราส่วนของสัญญาณต่อสัญญาณรบกวนดีขน ระดับความแรงของสัญญาณข้อมูลข่าวสารคงที่ ึ้ ข้อเสียของสถานีทวนสัญญาณรูปแบบคือ ไม่สามารถดึงสัญญาณข้อมูลข่าวสารมาใช้ได้และไม่ สามารถแทรกสัญญาณข้อมูลใหม่ เข้าไปได้  สถานีทวนสัญญาณความถี่ RF สถานีทวนสัญญาณรูปแบบนี้ จะทำาการเปลี่ยนความถี่ RF เดิมไป เป็นความถี่ RF ใหม่ โดยตรงก่อนแล้วค่อยทำาการส่งออกไป ข้อดีของสถานีทวนสัญญาณรูปแบบ คือ มีอตราส่วนของสัญญาณต่อสัญญาณรบกวนดีมาก สัญญาณข้อมูลข่าวสารมีความคงที่ ข้อเสีย ั ของสถานีทวนสัญญาณรูปแบบนี้คือ มีราคาแพงมาก และยังไม่สามารถดึงสัญญาณข้อมูลข่าวสาร มาใช้ได้ และยังไม่สามารถนำาสัญญาณข้อมูลใหม่แทรกเข้าไปได้ และยังมีความยุงยากในการ ่ ออกแบบวงจรอีกด้วย
  • 9. เวฟไกด์ หรือ ท่อ นำา คลืน คือ ่ อะไร ??? เวฟไกด์ (Waveguide) หรือว่าท่อนำาคลื่น นี้ เป็นสายส่งสัญญาณชนิด หนึ่ง-ที่ใช้ใน การส่งคลื่นไมโครเวฟ โดยทั่วไปจะมีลักษณะเป็นท่อกลม หรือท่อเหลียม แล้วแต่จะทำามาและก็จะ ทำามาจากทองแดงหรือ ่ อะลูมเนียม ด้านในฉาบด้วยเงินเพื่อให้เป็นตัวนำาที่ดี สาเหตุที่สายนำา ิ สัญญาณต้องทำาเป็นท่อนี้ก็เพราะว่า คลื่นไมโครเวฟมีความถี่สูงมากจะ เดินทางได้ดที่บริเวณผิวของตัวนำาถ้าหากใช้สายนำาสัญญาณทั่วไปจะ ี ทำาให้เกิดการสูญเสียงพลังงานไปได้ จึงต้องทำาเป็นท่อเพื่อป้องกันการ สูญเสียพลังงานจากผิวของสายสัญญาณ ความถี่ตำ่าสุดทีสามารถใช้ ่ งานได้กับเวฟไกด์เรียกว่า ความถีคตออฟ ซึ่งถ้าความถี่สูงกว่าความถี่ ่ ั คัตออฟ จะสามารถเดินทางไปบนเวฟไกด์ได้ ส่วนความถี่ทตำ่ากว่านี้จะ ี่ ไม่สามารถเดินทางบนเวฟไกด์ได้ ในการเดินทางของคลื่นไมโครเวฟ ในเวฟไกด์นั้น จะเดินทางโดยการสะท้อนผนังท่อ และเดินทางไปตาม ความยาวของท่อนำาคลื่น และความถี่ทสูงก็สามารถเดินทางได้ไกลกว่า ี่ ความถี่ที่ตำ่า รูปแบบในการเกิดคลื่นในเวฟไกด์ ก็จะมีอยู่ 2 รูปแบบด้วยกัน คือ รูปแบบสนามไฟฟ้าตัดขวาง ซึ่งเป็นรูปแบบที่ไม่มส่วนประกอบของ ี สนามไฟฟ้าในทิศทางการแพร่กระจายคลื่น โดยสนามไฟฟ้าจะตั้งฉาก
  • 10. สายอากาศแบบฮอร์น สายอากาศแบบฮอร์นนี้ เป็นสายอากาศที่นิยมใช้กันมากที่สุด เพราะมีกำาลังการขยายสูงประกอบด้วยท่อนำา คลืนตอน ่ ปลายเปิดกว้างออกมากกว่าปกติ การที่จะทำาให้อัตราการ ขยายสูงนั้น ทำาโดยการเพิ่มจานสะท้อนคลื่นแบบพาลาโบ ลา (Parabola) เข้าไปด้วย ในการใช้สายอากาศแบบฮอร์น นี้ต้องใช้ร่วมกับจานสะท้อนคลื่นแบบพาลาโบลา ที่เรียกว่า ตัวสะท้อนคลื่นพาลาโบลิก และตำาแหน่งของฮอร์น ต้องวาง ในตำาแหน่งโฟกัสของตัวสะท้อนคลืน เพราะเป็นตำาแหน่ง ่ รวมคลืนทั้งหมด ่