SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง

  “...ป่าไม้ที่จะปลูกนั้น สมควรที่จะปลูกแบบป่าใช้ไม้หนึ่ง ป่าสาหรับใช้ผล
หนึ่ง ป่าสาหรับใช้เป็นฟืนอย่างหนึ่ง อันนี้แยกออกไปเป็นกว้างๆ ใหญ่ๆ การ
ที่จะปลูกต้นไม้สาหรับใช้ประโยชน์ดังนี้ ในคาวิเคราะห์ของกรมป่าไม้รู้สึก
จะไม่ใช่ป่าไม้ เป็นสวนหรือจะเป็นสวนมากกว่าป่าไม้ แต่ในความหมายของ
 การช่วยเหลือเพื่อต้นน้าลาธารนั้น ป่าไม้เช่นนี้จะเป็นสวนผลไม้ก็ตามหรือ
 เป็นสวนไม้ฟืนก็ตาม นั่นแหละเป็นป่าไม้ที่ถูกต้อง เพราะทาหน้าที่เป็นป่า
    คือ เป็นต้นไม้และทาหน้าที่เป็นทรัพยากรในด้านสาหรับให้ผลที่มาเป็น
           ประโยชน์แก่ ประชาชนได้...” พระราชดาริ ปี พ.ศ. 2523


                          นางสาวศิริวรรณ ใหญ่เอี่ยม ม.4/8 เลขที่11
• ป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง
• ที่ได้ดาเนินการในศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจาก
  พระราชดาริ จังหวัดเพชรบุรี และศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อัน
  เนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัดเชียงใหม่
• การปลูกป่า ๓ อย่าง คือ ป่าสาหรับไม้ใช้สอยป่าสาหรับเป็นไม้ผล และ
  ป่าสาหรับเป็นเชื้อเพลิงซึ่งราษฎรสามารถใช้ประโยชน์จากป่าได้อย่าง
  เกื้อกูล นอกจากนี้ยังได้ประโยชน์อย่างที่ ๔ อันเป็นการอนุรักษ์ดินและน้า
  อีกด้วย                  นางสาวศิริวรรณ ใหญ่เอี่ยม ม.4/8 เลขที่11
ไม้มงคล ๙ ชนิด
            ในการก่อ สร้างอาคารบ้านเรือน
ก่อนทาการก่อสร้างนิยมทาพิธีวางศิลาฤกษ์โดย
ใช้ไม้มงคล 9 ชนิด ปักกับพื้นดินไม้ทั้ง 9 ชนิด
          มีชื่อเป็นมงคลนาม ดังนี้
         1. ไม้ราชพฤกษ์ (อาคเณย์) หมายถึง ความ
        เป็นใหญ่และมีอานาจวาสนา


           2. ไม้ขนุน (เหนือ) หมายถึง หนุนให้ดีขึ้น
          ร่ารวยขึ้น ทาอะไรจะมีผู้ให้การเกื้อหนุน


            นางสาวศิริวรรณ ใหญ่เอี่ยม ม.4/8 เลขที่11
3. ไม้ชัยพฤกษ์ (ตะวันออก) หมายถึง การมี
โชคชัย ชัยชนะ


 4. ไม้ทองหลาง (ศูนย์กลาง) หมายถึง การมี
เงินมีทอง


 5. ไม้ไผ่สีสุก (พายัพ) หมายถึง มีความสุข



  นางสาวศิริวรรณ ใหญ่เอี่ยม ม.4/8 เลขที่11
6. ไม้ทรงบาดาล (อิสาน) หมายถึง ความ
มั่นคง หรือทาให้ บ้ านมั่นคงแข็งแรง




7. ไม้สัก (ทักษิณ) หมายถึง ความมีศักดิ์ศรี
ความมีเกียรติ



   นางสาวศิริวรรณ ใหญ่เอี่ยม ม.4/8 เลขที่11
8. ไม้พะยูง (หรดี) หมายถึง การพยุงฐานะ
ให้ดีขึ้น



    9. ไม้กันเกรา (ปัจฉิม)
    หมายถึง ป้องกันภัยอันตรายต่าง ๆ หรือ
    อีกชื่อหนึ่งว่าตาเสา
    ซึ่งอาจหมายถึง ทาให้เสาเรือนมั่นคง



นางสาวศิริวรรณ ใหญ่เอี่ยม ม.4/8 เลขที่11
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระราชปรารถเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๔ ด้วยทรงห่วง
ในสถานการณ์ของไม้ยางนาเมื่อกว่า ๔๐ ปีที่แล้วว่า
         “ ไม้ยางนาในประเทศไทยได้ถูกตัดไปใช้สอยและทาเป็นสินค้ากันเป็น
จานวนมากขึ้นทุกปี เป็นที่น่าวิตกว่าหากมิได้ทาการบารุงส่งเสริมและดาเนินการ
ปลูกไม้ยางนาขึ้นแล้ว ปริมาณยางนาก็จะลดน้อยลงไปทุกที จึงควรจะได้มีการ
ดาเนินการวิจัยเกี่ยวกับการปลูกไม้ยางนาเพื่อจะได้นาความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติ ”
                             นางสาวศิริวรรณ ใหญ่เอี่ยม ม.4/8 เลขที่11
ยางนา (Dipterocarpus alatus Roxb.) เป็นเสมือนพยาไม้แห่งเอเชีย
อาคเนย์ เพราะมีขนาดสูงใหญ่ มีถิ่นกาเนิดอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย
อาจมีความสูงถึง ๕๐ เมตรและมีเส้นรอบวงที่ระดับอกถึง ๗ เมตร ในประเทศไทยพบ
อยู่ทั่วไป ซึ่งยืนยันได้จากชื่อหมู่บ้าน ตาบล อาเภอที่มีคาว่า “ ยาง ” อยู่ในทุกภาคของ
ประเทศ เช่น อาเภอท่ายาง ท่าสองยาง ยางตลาด และยางชุมน้อย เป็นไม้เอนกประสงค์
แทบทุกส่วนสามารถก่อให้เกิดประโยชน์ได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม เป็นแหล่งอาหาร
ป่า แหล่งนันทนาการ น้ามันยาก สมุนไพร และเนื้อไม้สาหรับใช้สอยทั่วไป จน
พระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. ๒๔๕๔ ได้ให้ความสาคัญของไม้ยางเท่าเทียมกับไม้สัก
ด้วยการกาหนดว่าทั้ง “ ไม้สักและไม้ยางนาทั่วไปในราชอาณาจักร ไม่ว่าจะขึ้นอยู่กับที่
ใด (รวมทั้งในเอกชน) เป็นไม้หวงห้ามประเภท ก. (ไม้หวงธรรมดา) ซึ่งการทาไม้
จะต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่ ” แม้ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ประเทศไทยก็
ยังต้องนาเข้าไม้ยางถึง ๑๔๑,๘๒๔ ลูกบาศก์เมตร คิดเป็นมูลค่า ๑,๐๔๕ ล้านบาท

                                นางสาวศิริวรรณ ใหญ่เอี่ยม ม.4/8 เลขที่11
ด้วยสายพระเนตรอันยาวไกล ในการเสด็จพระราชดาเนินทางรถยนต์ไปแปร
พระราชฐาน ณ พระที่นั่งไกลกังวล อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ผ่านป่ายาง
นาสูงใหญ่สองข้างทางถนนเพชรเกษม ช่วงหลักกิโลเมตรที่ ๑๗๖-๑๗๙ ท้องที่อาเภอ
ท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าหน้าที่ สานักพระราชวัง
ไปเก็ยเมล็ดยางนาเมื่อเดือนเมษายน ๒๕๐๔ ให้เจ้าหน้านาไปเพาะเลี้ยงกล้าไว้ใต้ร่ม
ต้นแคบ้านในบริเวณพระตาหนักจิตรลดารโหฐานส่วนหนึ่งและได้ทรงเพาะเมล็ดไม้
ยางนาโดยพระองค์เองไว้บนดาดฟ้าพระตาหนักเปี่ยมสุข ในพระราชวังไกลกังวล หัว
หิน อีกส่วนหนึ่ง
                               นางสาวศิริวรรณ ใหญ่เอี่ยม ม.4/8 เลขที่11
จากนั้นได้ทรงปลูกกล้าไม้ยางนาอายุ ๔ เดือน ในบริเวณสวนจิดลดาร่วมกับสมเด็จพระ
นางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชบริพาร คณาจารย์ และนิสิต
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จานวน ๑,๐๙๖ ต้น โดยมีระยะปลูก ๒.๕๐ x ๒.๕๐ เมตร เนื้อ
ที่ประมาณ ๔ ไร่ ๑ งาน ซึ่งถือเป็นสวนป่ายางนาที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย พร้อม
กับทรงกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คณะวนศาสตร์และโครงการส่วนพระองค์ส่วนจิตรดา
ทาการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการปลูกไม้ยางนาในบริเวณสวนจิตรลดา โดยมีศาสตราจารย์
เทียม คมกฤส คณบดีคณะวนศาสตร์ในขณะนั้นเป็นหัวหน้าโครงการ
งานวิจัยในครั้งนั้นมี ๓ สิ่งทดลองหลัก คือ
   ปุ๋ย (ไม่ใส่ปุ๋ย ใส่ปุ๋ยไนโตรเจน ๒๐ ก./ไร่ และใส่ปุ๋ยไนโตรเจน ๔๐ ก./ไร่)
ให้ร่มด้วยไม้ระแนง (ไม่ให้ร่ม ให้ร่ม ๕๐ % และให้ร่ม ๗๕ % )
ปลูกพืชควบ (ปลูกยางนาควบกับแคบ้าน กล้วย และอ้อย)
และทรงมีพระบรมราชานุญาตให้คณาจารย์และนิสิตคณะวนศาสตร์ เข้าไปดูแลรักษาและ
เก็บข้อมูลอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งเข้าไปปลูกต้นไม้ในวันปลูกต้นไม้ประจาปีแห่งชาติเป็น
ประจาทุกปี ตราบเท่าทุกวันนี้
                                นางสาวศิริวรรณ ใหญ่เอี่ยม ม.4/8 เลขที่11
ในส่วนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ถือว่างานวิจัยไม้ยางนาในสวนจิตรลดามีจุดเด่น
3 ประการคือ ๑.เป็นงานวิจัยด้านวนวัฒนวิทยาเพื่อสนองพระราชดาริของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ๒.แปลงทดลองและงานทดลองภาคสนามอยู่ในบริเวณ
พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน ๓.เป็นต้นแบบของการวิจัยและการปลูกป่าตามระบบวน
เกษตรซึ่งมีการพูดถึงกันอย่างกว้างขวางในเวลาต่อมา ด้วยสานึกในพระมหากรุณาธิคุณ
เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจ้าอยู่หัวเนื่องในพระราชพิธีมหามงคลพระ
ชนมพรรษา 6 รอบ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ร่วมกับ กรมป่าไม้ จึงได้จัดให้มีการ
ประชุมสัมมนาเรื่อง “ไม้ยางนาและไม้ในวงศ์ยาง” ขึ้นในระหว่างวันที่ 17-18
พฤศจิกายน 2542 พร้อมกับจัดพิมพ์เอกสารประกอบการประชุมสัมมนารวม 4 ฉบับ
และปลูกต้นยางนาบริเวณอาคารสารนิเทศ 50 ปี จานวน 9 ต้น ไว้เป็นที่ระลึก
                               นางสาวศิริวรรณ ใหญ่เอี่ยม ม.4/8 เลขที่11
16 แนวทางการปลูกป่า ตามคาพ่อ
1.ปลูกป่าทดแทนพื้นที่ป่าไม้ที่ถูกบุกรุกแผ้วถางและพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม
2.ปลกป่าตามบริเวณอ่างเก็บน้าหรือเหนืออ่างเก็บน้า เพื่อให้เกิดความชุ่มชื้นยาวนาน3.ปลุกป่า
บนภูเขาสูง เพื่อป้องกันการพังทลายของดิน รวมทั้งเป็นแหล่งต้นน้าลาธาร
4.จาแนกสมรรถนะของที่ดินให้เหมาะสม พื้นที่ใดที่ไม่สามารถทาการเกษตรกรรมได้ให้มี
การรักษาสภาพป่าไม้ และให้มีการปลูกป่าโดยใช้ไม้ 3 ชนิด ได้แก่ ไม้สาหรับใช้สอย ไม้ผล
และไม้สาหรับใช้เป็นเชื้อเพลิง
5.ในสภาพป่าเต็งรัง ป่าเสื่อมโทรมนั้น ความจริงไม่ต้องทาอะไร ป่าก็จะกลับคืนสภาพได้
6.วัชพืชคลุมพื้นที่อยู่อย่าเอาออกเพราะจะเป็นสิ่งป้องกันการเซาะพังทลายของหน้าดินเป็น
อย่างดี
7.อย่าใช้ยาฆ่าวัชพืชหรือยาฆ่าหญ้า เนื่องจากพิษของยาจะตกค้างอยู่ในพื้นดินเป็นเวลานาน
8.ก่อนปลูกป่าจาเป็นต้องกาจัดวัชพืช แต่วัชพืชในป่าเต็งรังในป่าต้นน้าธารไม่ต้องขจัด
9.ปลูกป่าเสริมธรรมชาติเป็นการเพิ่มที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า
10.ปลูกป่าต้นน้าลาธาร โดยไม่ให้มีผู้บุกรุกเข้าไปตั้งหลักแหล่งใหม่ ป่าก็จะสามารถฟื้นฟูและ
ขยายพันธุ์ได้เองตามธรรมชาติ          นางสาวศิริวรรณ ใหญ่เอี่ยม ม.4/8 เลขที่11
11.ในป่าต้นน้าลาธารไม่ควรให้มีสิ่งปลูกสร้างอะไรทั้งสิ้น
12.ปลูกป่าเพื่อให้ราษฎรมีรายได้เพิ่มขึ้นโดยให้ราษฎรในท้องที่นั้นๆเข้าร่วม
กิจกรรมเพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจให้ราษฎรเห็นความสาคัญของป่าและการปลูก
ป่า
13.ส่งเสริมให้ประชาชนได้เข้าร่วมในกิจกรรมตั้งแต่ต้น และมีส่วนร่วมให้มากที่สุด
14.การปลูกป่าธรรมชาติหรือปลูกป่าต้นน้าลาธารควรศึกษาดูก่อนว่าพืชพันธุ์ไม้
ดั้งเดิมมีอะไรบ้างแล้วปลูกแซมตามรายการชนิดต้นไม้ที่ศึกษามาได้ ไม่ควรนาไม้
แปลกปลอมต่างพันธุ์ต่างถิ่นเข้ามาปลูก
15.การปลูกป่า ควรศึกษาพื้นที่พร้อมระบบเรื่องน้าด้วย ในพื้นที่ภูเขาควรจะสร้าง
ฝายแม้วหรือ Check Dam เพื่อกักน้าไว้สร้างความชุ่มชื้นให้ยาวนาน และเป็น
ระบบกันไฟเปียกด้วย ดังตัวอย่างที่ศูนย์ศึกษาห้วยฮ่องไคร้ ดอยสะเก็ด จังหวัด
เชียงใหม่
16.ควรปลูกแฝกเพื่อป้องกันการพังทลายพร้อมทั้งรักษาหน้าดิน และสร้าง TOP-
SOIL เก็บความชุ่มชื้นไว้พร้อมๆ กับการปลูกป่า
                           นางสาวศิริวรรณ ใหญ่เอี่ยม ม.4/8 เลขที่11

More Related Content

Similar to ป่าชุมชน

ต้นไม้กระดาษ
ต้นไม้กระดาษต้นไม้กระดาษ
ต้นไม้กระดาษtheesraponno
 
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกพัน พัน
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ThanyapornK1
 
20080801 Carena Pmd
20080801 Carena Pmd20080801 Carena Pmd
20080801 Carena PmdAkradech M.
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...Sircom Smarnbua
 
แบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋ว
แบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋วแบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋ว
แบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋วWongsathorn Kanyaengpan
 
20080901banana_ntun
20080901banana_ntun20080901banana_ntun
20080901banana_ntunmolvyakob
 
orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815BellNattanan
 
สวนสวยหวาน
สวนสวยหวานสวนสวยหวาน
สวนสวยหวานBenjawan Punkum
 

Similar to ป่าชุมชน (20)

ต้นไม้กระดาษ
ต้นไม้กระดาษต้นไม้กระดาษ
ต้นไม้กระดาษ
 
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
 
Practice
PracticePractice
Practice
 
Practice
PracticePractice
Practice
 
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
 
ปกใน
ปกในปกใน
ปกใน
 
20080801 Carena Pmd
20080801 Carena Pmd20080801 Carena Pmd
20080801 Carena Pmd
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
 
Plant ser 77_60_6
Plant ser 77_60_6Plant ser 77_60_6
Plant ser 77_60_6
 
แบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋ว
แบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋วแบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋ว
แบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋ว
 
Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6
 
Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5
 
20080901banana_ntun
20080901banana_ntun20080901banana_ntun
20080901banana_ntun
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
 
orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815
 
สวนสวยหวาน
สวนสวยหวานสวนสวยหวาน
สวนสวยหวาน
 
Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1
 
Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
 

ป่าชุมชน

  • 1. โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง “...ป่าไม้ที่จะปลูกนั้น สมควรที่จะปลูกแบบป่าใช้ไม้หนึ่ง ป่าสาหรับใช้ผล หนึ่ง ป่าสาหรับใช้เป็นฟืนอย่างหนึ่ง อันนี้แยกออกไปเป็นกว้างๆ ใหญ่ๆ การ ที่จะปลูกต้นไม้สาหรับใช้ประโยชน์ดังนี้ ในคาวิเคราะห์ของกรมป่าไม้รู้สึก จะไม่ใช่ป่าไม้ เป็นสวนหรือจะเป็นสวนมากกว่าป่าไม้ แต่ในความหมายของ การช่วยเหลือเพื่อต้นน้าลาธารนั้น ป่าไม้เช่นนี้จะเป็นสวนผลไม้ก็ตามหรือ เป็นสวนไม้ฟืนก็ตาม นั่นแหละเป็นป่าไม้ที่ถูกต้อง เพราะทาหน้าที่เป็นป่า คือ เป็นต้นไม้และทาหน้าที่เป็นทรัพยากรในด้านสาหรับให้ผลที่มาเป็น ประโยชน์แก่ ประชาชนได้...” พระราชดาริ ปี พ.ศ. 2523 นางสาวศิริวรรณ ใหญ่เอี่ยม ม.4/8 เลขที่11
  • 2. • ป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง • ที่ได้ดาเนินการในศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจาก พระราชดาริ จังหวัดเพชรบุรี และศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อัน เนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัดเชียงใหม่ • การปลูกป่า ๓ อย่าง คือ ป่าสาหรับไม้ใช้สอยป่าสาหรับเป็นไม้ผล และ ป่าสาหรับเป็นเชื้อเพลิงซึ่งราษฎรสามารถใช้ประโยชน์จากป่าได้อย่าง เกื้อกูล นอกจากนี้ยังได้ประโยชน์อย่างที่ ๔ อันเป็นการอนุรักษ์ดินและน้า อีกด้วย นางสาวศิริวรรณ ใหญ่เอี่ยม ม.4/8 เลขที่11
  • 3. ไม้มงคล ๙ ชนิด ในการก่อ สร้างอาคารบ้านเรือน ก่อนทาการก่อสร้างนิยมทาพิธีวางศิลาฤกษ์โดย ใช้ไม้มงคล 9 ชนิด ปักกับพื้นดินไม้ทั้ง 9 ชนิด มีชื่อเป็นมงคลนาม ดังนี้ 1. ไม้ราชพฤกษ์ (อาคเณย์) หมายถึง ความ เป็นใหญ่และมีอานาจวาสนา 2. ไม้ขนุน (เหนือ) หมายถึง หนุนให้ดีขึ้น ร่ารวยขึ้น ทาอะไรจะมีผู้ให้การเกื้อหนุน นางสาวศิริวรรณ ใหญ่เอี่ยม ม.4/8 เลขที่11
  • 4. 3. ไม้ชัยพฤกษ์ (ตะวันออก) หมายถึง การมี โชคชัย ชัยชนะ 4. ไม้ทองหลาง (ศูนย์กลาง) หมายถึง การมี เงินมีทอง 5. ไม้ไผ่สีสุก (พายัพ) หมายถึง มีความสุข นางสาวศิริวรรณ ใหญ่เอี่ยม ม.4/8 เลขที่11
  • 5. 6. ไม้ทรงบาดาล (อิสาน) หมายถึง ความ มั่นคง หรือทาให้ บ้ านมั่นคงแข็งแรง 7. ไม้สัก (ทักษิณ) หมายถึง ความมีศักดิ์ศรี ความมีเกียรติ นางสาวศิริวรรณ ใหญ่เอี่ยม ม.4/8 เลขที่11
  • 6. 8. ไม้พะยูง (หรดี) หมายถึง การพยุงฐานะ ให้ดีขึ้น 9. ไม้กันเกรา (ปัจฉิม) หมายถึง ป้องกันภัยอันตรายต่าง ๆ หรือ อีกชื่อหนึ่งว่าตาเสา ซึ่งอาจหมายถึง ทาให้เสาเรือนมั่นคง นางสาวศิริวรรณ ใหญ่เอี่ยม ม.4/8 เลขที่11
  • 7. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระราชปรารถเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๔ ด้วยทรงห่วง ในสถานการณ์ของไม้ยางนาเมื่อกว่า ๔๐ ปีที่แล้วว่า “ ไม้ยางนาในประเทศไทยได้ถูกตัดไปใช้สอยและทาเป็นสินค้ากันเป็น จานวนมากขึ้นทุกปี เป็นที่น่าวิตกว่าหากมิได้ทาการบารุงส่งเสริมและดาเนินการ ปลูกไม้ยางนาขึ้นแล้ว ปริมาณยางนาก็จะลดน้อยลงไปทุกที จึงควรจะได้มีการ ดาเนินการวิจัยเกี่ยวกับการปลูกไม้ยางนาเพื่อจะได้นาความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติ ” นางสาวศิริวรรณ ใหญ่เอี่ยม ม.4/8 เลขที่11
  • 8. ยางนา (Dipterocarpus alatus Roxb.) เป็นเสมือนพยาไม้แห่งเอเชีย อาคเนย์ เพราะมีขนาดสูงใหญ่ มีถิ่นกาเนิดอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย อาจมีความสูงถึง ๕๐ เมตรและมีเส้นรอบวงที่ระดับอกถึง ๗ เมตร ในประเทศไทยพบ อยู่ทั่วไป ซึ่งยืนยันได้จากชื่อหมู่บ้าน ตาบล อาเภอที่มีคาว่า “ ยาง ” อยู่ในทุกภาคของ ประเทศ เช่น อาเภอท่ายาง ท่าสองยาง ยางตลาด และยางชุมน้อย เป็นไม้เอนกประสงค์ แทบทุกส่วนสามารถก่อให้เกิดประโยชน์ได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม เป็นแหล่งอาหาร ป่า แหล่งนันทนาการ น้ามันยาก สมุนไพร และเนื้อไม้สาหรับใช้สอยทั่วไป จน พระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. ๒๔๕๔ ได้ให้ความสาคัญของไม้ยางเท่าเทียมกับไม้สัก ด้วยการกาหนดว่าทั้ง “ ไม้สักและไม้ยางนาทั่วไปในราชอาณาจักร ไม่ว่าจะขึ้นอยู่กับที่ ใด (รวมทั้งในเอกชน) เป็นไม้หวงห้ามประเภท ก. (ไม้หวงธรรมดา) ซึ่งการทาไม้ จะต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่ ” แม้ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ประเทศไทยก็ ยังต้องนาเข้าไม้ยางถึง ๑๔๑,๘๒๔ ลูกบาศก์เมตร คิดเป็นมูลค่า ๑,๐๔๕ ล้านบาท นางสาวศิริวรรณ ใหญ่เอี่ยม ม.4/8 เลขที่11
  • 9. ด้วยสายพระเนตรอันยาวไกล ในการเสด็จพระราชดาเนินทางรถยนต์ไปแปร พระราชฐาน ณ พระที่นั่งไกลกังวล อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ผ่านป่ายาง นาสูงใหญ่สองข้างทางถนนเพชรเกษม ช่วงหลักกิโลเมตรที่ ๑๗๖-๑๗๙ ท้องที่อาเภอ ท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าหน้าที่ สานักพระราชวัง ไปเก็ยเมล็ดยางนาเมื่อเดือนเมษายน ๒๕๐๔ ให้เจ้าหน้านาไปเพาะเลี้ยงกล้าไว้ใต้ร่ม ต้นแคบ้านในบริเวณพระตาหนักจิตรลดารโหฐานส่วนหนึ่งและได้ทรงเพาะเมล็ดไม้ ยางนาโดยพระองค์เองไว้บนดาดฟ้าพระตาหนักเปี่ยมสุข ในพระราชวังไกลกังวล หัว หิน อีกส่วนหนึ่ง นางสาวศิริวรรณ ใหญ่เอี่ยม ม.4/8 เลขที่11
  • 10. จากนั้นได้ทรงปลูกกล้าไม้ยางนาอายุ ๔ เดือน ในบริเวณสวนจิดลดาร่วมกับสมเด็จพระ นางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชบริพาร คณาจารย์ และนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จานวน ๑,๐๙๖ ต้น โดยมีระยะปลูก ๒.๕๐ x ๒.๕๐ เมตร เนื้อ ที่ประมาณ ๔ ไร่ ๑ งาน ซึ่งถือเป็นสวนป่ายางนาที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย พร้อม กับทรงกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คณะวนศาสตร์และโครงการส่วนพระองค์ส่วนจิตรดา ทาการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการปลูกไม้ยางนาในบริเวณสวนจิตรลดา โดยมีศาสตราจารย์ เทียม คมกฤส คณบดีคณะวนศาสตร์ในขณะนั้นเป็นหัวหน้าโครงการ งานวิจัยในครั้งนั้นมี ๓ สิ่งทดลองหลัก คือ ปุ๋ย (ไม่ใส่ปุ๋ย ใส่ปุ๋ยไนโตรเจน ๒๐ ก./ไร่ และใส่ปุ๋ยไนโตรเจน ๔๐ ก./ไร่) ให้ร่มด้วยไม้ระแนง (ไม่ให้ร่ม ให้ร่ม ๕๐ % และให้ร่ม ๗๕ % ) ปลูกพืชควบ (ปลูกยางนาควบกับแคบ้าน กล้วย และอ้อย) และทรงมีพระบรมราชานุญาตให้คณาจารย์และนิสิตคณะวนศาสตร์ เข้าไปดูแลรักษาและ เก็บข้อมูลอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งเข้าไปปลูกต้นไม้ในวันปลูกต้นไม้ประจาปีแห่งชาติเป็น ประจาทุกปี ตราบเท่าทุกวันนี้ นางสาวศิริวรรณ ใหญ่เอี่ยม ม.4/8 เลขที่11
  • 11. ในส่วนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ถือว่างานวิจัยไม้ยางนาในสวนจิตรลดามีจุดเด่น 3 ประการคือ ๑.เป็นงานวิจัยด้านวนวัฒนวิทยาเพื่อสนองพระราชดาริของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ๒.แปลงทดลองและงานทดลองภาคสนามอยู่ในบริเวณ พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน ๓.เป็นต้นแบบของการวิจัยและการปลูกป่าตามระบบวน เกษตรซึ่งมีการพูดถึงกันอย่างกว้างขวางในเวลาต่อมา ด้วยสานึกในพระมหากรุณาธิคุณ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจ้าอยู่หัวเนื่องในพระราชพิธีมหามงคลพระ ชนมพรรษา 6 รอบ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ร่วมกับ กรมป่าไม้ จึงได้จัดให้มีการ ประชุมสัมมนาเรื่อง “ไม้ยางนาและไม้ในวงศ์ยาง” ขึ้นในระหว่างวันที่ 17-18 พฤศจิกายน 2542 พร้อมกับจัดพิมพ์เอกสารประกอบการประชุมสัมมนารวม 4 ฉบับ และปลูกต้นยางนาบริเวณอาคารสารนิเทศ 50 ปี จานวน 9 ต้น ไว้เป็นที่ระลึก นางสาวศิริวรรณ ใหญ่เอี่ยม ม.4/8 เลขที่11
  • 12. 16 แนวทางการปลูกป่า ตามคาพ่อ 1.ปลูกป่าทดแทนพื้นที่ป่าไม้ที่ถูกบุกรุกแผ้วถางและพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม 2.ปลกป่าตามบริเวณอ่างเก็บน้าหรือเหนืออ่างเก็บน้า เพื่อให้เกิดความชุ่มชื้นยาวนาน3.ปลุกป่า บนภูเขาสูง เพื่อป้องกันการพังทลายของดิน รวมทั้งเป็นแหล่งต้นน้าลาธาร 4.จาแนกสมรรถนะของที่ดินให้เหมาะสม พื้นที่ใดที่ไม่สามารถทาการเกษตรกรรมได้ให้มี การรักษาสภาพป่าไม้ และให้มีการปลูกป่าโดยใช้ไม้ 3 ชนิด ได้แก่ ไม้สาหรับใช้สอย ไม้ผล และไม้สาหรับใช้เป็นเชื้อเพลิง 5.ในสภาพป่าเต็งรัง ป่าเสื่อมโทรมนั้น ความจริงไม่ต้องทาอะไร ป่าก็จะกลับคืนสภาพได้ 6.วัชพืชคลุมพื้นที่อยู่อย่าเอาออกเพราะจะเป็นสิ่งป้องกันการเซาะพังทลายของหน้าดินเป็น อย่างดี 7.อย่าใช้ยาฆ่าวัชพืชหรือยาฆ่าหญ้า เนื่องจากพิษของยาจะตกค้างอยู่ในพื้นดินเป็นเวลานาน 8.ก่อนปลูกป่าจาเป็นต้องกาจัดวัชพืช แต่วัชพืชในป่าเต็งรังในป่าต้นน้าธารไม่ต้องขจัด 9.ปลูกป่าเสริมธรรมชาติเป็นการเพิ่มที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า 10.ปลูกป่าต้นน้าลาธาร โดยไม่ให้มีผู้บุกรุกเข้าไปตั้งหลักแหล่งใหม่ ป่าก็จะสามารถฟื้นฟูและ ขยายพันธุ์ได้เองตามธรรมชาติ นางสาวศิริวรรณ ใหญ่เอี่ยม ม.4/8 เลขที่11
  • 13. 11.ในป่าต้นน้าลาธารไม่ควรให้มีสิ่งปลูกสร้างอะไรทั้งสิ้น 12.ปลูกป่าเพื่อให้ราษฎรมีรายได้เพิ่มขึ้นโดยให้ราษฎรในท้องที่นั้นๆเข้าร่วม กิจกรรมเพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจให้ราษฎรเห็นความสาคัญของป่าและการปลูก ป่า 13.ส่งเสริมให้ประชาชนได้เข้าร่วมในกิจกรรมตั้งแต่ต้น และมีส่วนร่วมให้มากที่สุด 14.การปลูกป่าธรรมชาติหรือปลูกป่าต้นน้าลาธารควรศึกษาดูก่อนว่าพืชพันธุ์ไม้ ดั้งเดิมมีอะไรบ้างแล้วปลูกแซมตามรายการชนิดต้นไม้ที่ศึกษามาได้ ไม่ควรนาไม้ แปลกปลอมต่างพันธุ์ต่างถิ่นเข้ามาปลูก 15.การปลูกป่า ควรศึกษาพื้นที่พร้อมระบบเรื่องน้าด้วย ในพื้นที่ภูเขาควรจะสร้าง ฝายแม้วหรือ Check Dam เพื่อกักน้าไว้สร้างความชุ่มชื้นให้ยาวนาน และเป็น ระบบกันไฟเปียกด้วย ดังตัวอย่างที่ศูนย์ศึกษาห้วยฮ่องไคร้ ดอยสะเก็ด จังหวัด เชียงใหม่ 16.ควรปลูกแฝกเพื่อป้องกันการพังทลายพร้อมทั้งรักษาหน้าดิน และสร้าง TOP- SOIL เก็บความชุ่มชื้นไว้พร้อมๆ กับการปลูกป่า นางสาวศิริวรรณ ใหญ่เอี่ยม ม.4/8 เลขที่11