SlideShare a Scribd company logo
วัฒ นธรรมภาคกลาง
บริเวณภาคกลางส่วนใหญ่เป็นที่ราบ ทีเกิดจาก การทับถมดินตะกอนของ
                                        ่
แม่นำ้า การตั้งถิ่นฐานของ ผู้จะอยู่บริเวณนำ้า เช่น การพายเรือสินค้าจน
กลาย เป็นตลาดนำ้า การเล่นเพลง หรือการอาศัยอยู่บน เรือนแพ เป็นต้น
   
บ้านทรงไทยนับว่าเป็นภูมิปัญญาของบรรพบุรุษไทย ที่ได้คิดสร้างที่อยู่อาศัย
ทีเหมาะสมกับสภาพภูมิประ
   ่
เทศ ภูมิอากาศ และประโยชน์ใช้สอย คือ เป็นเรือนยกพื้นสูง เพือป้องกันนำ้า
                                                               ่
ท่วมตัวเรือน เพราะในปลายฤดู ฝนจะมีนำ้าป่าไหลหลากจากทางเหนือ มา
ท่วมพืนที่ลุ่มในภาคกลาง หากมีลมพายุก็สามารถพัดผ่านใต้ถุน เรือนไปได้
       ้
ใต้ถุนเรือน สามารถใช้เป็นสถานที่ทอผ้า ตำาข้าว เก็บของ ส่วนหลังคาที่สูง
และลาดชันก็เหมาะ กับสภาพอากาศที่ร้อนอบอ้าว และมีฝนตกชุกของภาค
กลาง เพราะทำาให้อากาศร้อนจากภายนอกถ่ายเทมา ยังห้องได้ช้า และ
ทำาให้ฝนไหลลงอย่างรวดเร็ว รอบตัวเรือนมีชายคายื่นยาว เพื่อป้องกันกัน
ฝนสาด และ แสงแดด การสร้างบ้านยังคำานึงเรื่องทิศทางของการระบายลม
และระบายความร้อน โดยลมประจำาที่พดผ่าน เรียกว่า ลมว่าว หรือลม
                                          ั
ตะเภา พัดจากทิศใต้ไปทิศเหนือ การวางตัวเรือนจึงต้องหันทางทิศใต้ หรือ
ทิศเหนือ เพือให้ลมพัดผ่าน
              ่
บ้า นเรือ นไทย หรือ เรือ นไทย  เรือนไทยภาคกลางจะสร้างด้วยไม้ แบ่ง
                          เป็น 2 ประเภทคือ




               เรือนเครื่องสับ เป็นเรือนทีทำาด้วยไม้
                                          ่
               เนื้อแข็ง
เรือนไม้ผูก เป็นเรือนที่ทำาด้วยไม้ไผ่เป็นส่วนใหญ่ เอกลักษณ์ของคนไทย
คือ ยกพื้นสูง มีใต้ถุนเรือน หลังคาหน้าจั่วทรงสูง สร้างโดยไม่ใช้ตะปู แต่
จะนำาจำานวนต่างๆ ของเรือนมาประกอบกัน เรียกว่าการ
เข้าไม้ ทำาให้สะดวกต่อการย้ายบ้าน




    ลักษณะของเรือนไทยภาคกลางเป็นเรือนยกใต้ถุนสูง สูงจากพื้นดิน
ประมาณพ้นศีรษะ รวมทั้งระเบียงและ ชานก็ยกสูงด้วย การยกใต้ถุนสูงนี้มี
ระดับลดหลั่นกัน พืนระเบียงลดจากพื้นห้องนอน 40 เซนติเมตร พื้นชาน
                  ้
ลดจากระเบียงอีก 40 เซนติเมตร และปิดด้วยไม้ระแนงตีเว้นช่องโปร่ง การ
ลดระดับ พื้นทำาให้ได้ประโยชน์ ดังนี้ คือช่วยให้ลมพัดผ่านจากใต้ถุนขึ้น
มา ข้างบนสามารถมองลงมายังใต้ถุนชั้นล่างได้ และใช้ระดับลด 40
เซนติเมตร ไว้เป็นที่นั่งห้อยเท้า
 หลังคาทรงจั่วสูงชายคายื่นยาว หลังคาของเรือนไทยเป็นแบบทรงมนิลา
ใช้ไม้ทำาโครงและใช้จากแฝก หรือกระเบื้องดินเผาเป็นวัสดุมุงหลังคา วัสดุ
เหล่านี้ต้องใช้วิธีมุงตามระดับองศาที่สูงชันมาก นำ้าฝนจึงจะ ไหลได้เร็ว ไม่
รั่ว การทำาหลังคาทรงสูงนี้ มีผลช่วยบรรเทาความร้อนที่จะถ่ายเทลงมายัง
ส่วนล่าง ทำาให้ที่พัก อาศัยหลับนอนเย็นสบาย สำาหรับเรือนครัวทั่วไปตรง
ส่วนของหน้าจั่วทั้ง 2 ด้าน ทำาช่องระบายอากาศโดยใช้ ไม้ตีเว้นช่อง หรือ
ทำาเป็นรูปรัศมีพระอาทิตย์ เพื่อถ่ายเทควันไฟออกจากเรือนครัวได้สะดวก
เนื่องจากสภาพ ดินฟ้าอากาศของภาคกลาง แดดแรงจัด อุณหภูมิบางเดือน
สูงถึง 39.9 องศาเซลเซียส ฝนชุก จึงจำาเป็น ต้องต่อเติมกันสาดให้ยื่นออก
ชานกว้า ง เมื่อมองดูแปลนของเรือนไทยทั่วไป จะเห็นพืนทีของชานกว้าง
                                                          ้ ่
มาก ที่มีปริมาณถึงร้อยละ 40 ของพืนที่ทงหมด (ห้องระเบียงชาน) ถ้ารวม
                                      ้    ั้
พื้นที่ของระเบียงเข้าไปด้วย จะมีปริมาณถึงร้อยละ 60 พืนที่นี้ เป็นส่วน
                                                        ้
อาศัยภายนอก ส่วนทีอาศัยหลับนอนมีฝากั้นเป็นห้อง มีเนื้อที่เพียงร้อยละ
                      ่
40 ของพื้นที่ทั้งหมด สาเหตุที่พื้นที่อยู่อาศัยภายนอกมีปริมาณมาก เพราะ
ดินฟ้าอากาศร้อนอบอ้าวนั่นเอง
เรือ นครอบครัว ขยาย  โดยที่สรุปแล้วแผนผังของเรือนครอบครัวขยายมี
3 แบบ คือ
•จะปลูกเรียงเป็นแถวไปตามยาวต่อจากเรือนของพ่อแม่
•จะจัดวางตัวเรือนเป็นกลุ่ม ที่มีชานเชื่อมตรงกลาง ชานที่เชื่อมนี้เปิดโล่ง
ไม่มีหลังคาคลุม
•ปลูกเรือนขึ้นใหม่อยู่ในบริเวณใกล้ๆ เป็นหลังๆ ทีไม่มีชานเชื่อม
                                                ่
กุฏิสงฆ์

เรือ นร้า นค้า ริม นำ้า  เป็นเรือนที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นร้านค้าขาย รวมทั้งกินอยู่
หลับ นอน ฉะนั้นประโยชน์ใช้สอยจึงต่างกับเรือนพักอาศัยทั่วไป เรือนแบ่ง
เป็น 2 ส่วน ส่วนหน้าเปิดเป็นร้านค้ามีที่สำาหรับวางสินค้า ส่วนหลังเป็นที่อยู่
อาศัย
เรือ นร้า นค้า ริม ทาง  เรือนร้านค้าริมทางเป็นเรือนที่สร้างขึ้น เพือ ่
ประโยชน์ ทางการค้า และใช้พักอาศัยไปในตัว มีจุดมุ่งหมายเช่นเดียวกับ
เรือนร้านค้าริม นำ้า การขนส่งใช้เกวียนเป็นพาหนะ
เรือ นตำา หนัก  เป็นเรือนสำาหรับเชื้อพระวงศ์หรือเจ้านายชั้นผู้ใหญ่ มีขนาด
ใหญ่ หลายช่วงเสา ลักษณะคล้ายกุฏิสงฆ์ ซึ่งนำามารวมกันจำานวน 6-9
   ภาคกลางเป็นภูมิภาคที่มีดินและนำ้าอุดมสมบูรณ์ จึงเป็นแหล่งปลูก ข้าวที่
สำาคัญของประเทศ และมีอาหารการกินที่อดมสมบูรณ์ ทั้งพืช ผักและสัตว์
                                         ุ
ต่างๆ คนภาคกลางนิยมรับประทานข้าวเจ้าเป็นอาหาร หลักในอดีต คน
ภาคกลางนิยมใช้ใบบัวห่อข้าวนำาไปรับประทานเวลา ออกไปทำางานในนา
หรือการเดินทางเรียกกันว่า"ข้า วห่อ ใบบัว " กับ ข้าวที่นิยมมีเกือบทุกมื้อ
อาหาร คือ นำ้าพริกประเภทต่างๆ เช่น นำ้าพริก เผา นำ้าพริกกะปิ นำ้าพริกปลา
ย่าง รับประทานกับผักนานาชนิดที่หา ได้ในท้องถิ่นและนิยมปรุงรสอาหาร
มื้อจะจัดเป็นสำารับ มีกบข้าวหลายอย่าง รสชาติอาหารภาค กลางมีการผสม
                       ั
ผสานของหลากหลายรสชาติ ทั้งรสเปรี้ยว หวาน เค็ม เผ็ด เอกลักษณ์ของ
รสชาติอาหาร ไม่ได้เกิดจากเครื่องปรุง เพียงอย่างเดียว เช่น รสเปรี้ยวที่ใช้
ปรุงอาหาร อาจได้ทั้งจากมะนาว มะขาม มะกรูด ตะลิงปลิง ส้มแขก ผล ไม้
บางชนิด เช่น มะดัน มะม่วง เป็นต้น การใช้เครื่องปรุงรสเปรี้ยวทีแตกต่าง
                                                                   ่
กัน จึงทำาให้เกิดความ หลากหลายใช้ชนิดของอาหารไทยภาคกลาง
เช่น ต้ม ยำา ใช้ม ะนาว เพื่อ ให้ร สเปรี้ย ว แต่ต ้ม โคล้ง ใช้น ำ้า มะขาม
เปีย ก เพื่อ ให้ร ส เปรี้ย วแทน




     นอกจากนั้นยังมีรสเค็ม ที่ได้จากนำ้าปลา กะปิ รสขม ที่ได้จากพืช ชนิด
ต่างๆ เช่น มะระ เป็นต้น และ ความเผ็ด ที่ได้จากพริก พริกไทย และเครื่อง
เทศ อาหารภาคกลางเป็น อาหารที่มีครบทุกรส ซึ่งอาหารไทยที่ชาวต่าง
ชาติส่วนใหญ่รู้จัก และนิยมบริโภคล้วนแต่เป็นอาหารภาค กลางทั้งนั้นไม
ว่าจะเป็น ต้มยำากุง แกงเขียวหวานผัดไทย พะแนง เป็นต้น จึงทำาให้อาหาร
                  ้
ประเพณีร ับ บัว  เป็นประเพณีของชาวอำาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
จัดขึ้นในวันขึ้น 15 คำ่า เดือน 11 ของทุกปี ในเทศกาลออกพรรษา ตำานาน
ของประเพณี รับบัวตำานานหนึ่งเล่าว่า ในสมัยก่อนนั้นอำาเภอบางพลี เป็น
แหล่งทีมีดอกบัวหลวงมาก เมื่อถึงช่วงออกพรรษา ชาวบ้านที่อยู่ใกล้อำาเภอ
        ่
บางพลี โดยเฉพาะที่อำาเภอ เมือง และอำาเภอพระประแดง จะเดินทางไปเก็บ
ดอกบัว ที่อำาเภอบางพลี เพื่อนำามาประกอบพิธีทำาบุญในวันออก
พรรษา ต่อมาชาวบางพลีเป็นผู้เก็บดอกบัวไว้แจกให้ ชาวบ้านต่างถิ่น เพือ่
รุ่งเช้าของวันขึ้น 15 คำ่า เดือน 11 ชาวบ้านต่างถิน จะพายเรือไปรับดอกบัว
                                                 ่
จากชาวบางพลี เพื่อนำาดอกบัวไปนมัสการหลวงพ่อโต ที่วัดบางพลีใหญ่
ในการให้ และรับดอกบัวกระทำากันอย่างสุภาพ รับส่งกันมือต่อมือ ผู้ให้จะ
อธิฐานก่อน ส่วนผู้รับก็จะพนมมือไหว้ขอบคุณ แต่ถาเป็นผู้สนิทสนมกัน ก็
                                                   ้
อาจโดยดอกบัวให้โดยไม่มีพธีรีตอง เมื่อเวลาผ่านไปการโยนดอกบัวให้กัน
                               ิ
ก็ กลายเป็นความนิยมแทนการรับส่งมือต่อมือ จนชื่อประเพณีถูกเรียก
ว่า่อสภาพการดำารงชีวิตเปลี่ยนไปบมีโรงงานอุตสาหกรรม มีงถิ่นก็พสรรเกิด
เมื  "โยนบัว " แทน "รับ บัว  เมื่อรั ดอก บัวแล้วชาวบ้านต่า บ้านจัดายเรือก
ลับ ที่อำาเภอบางพลีมากขึ้น จนต่อมาจัดเป็อกบัวน้องขันด้วย ยงานราชการ
ขึ้น โดยมีการพายแข่งกัน แหล่งนำ้าที่มีดนการแข่ยลง หน่า
จึงคิดจัดงานรับบัวขึ้นมา เพื่ออนุรักษ์ประเพณีไว้ โดยจัดให้มี การประกวด
เรือสวยงาม และนำาไม้ไผ่มาสานเป็นโครงรูปองค์พระพุทธรูป ปิดด้วย
กระดาษสีทอง สมมุติว่า เป็นหลวงพ่อโต วัดบางพลีใหญ่ใน นำามาตั้งบนเรือ
แห่ไปตามลำาคลองสำาโรง อำาเภอบางพลี จังหวัดสมุทร ปราการ ชาวบ้านที่
อยู่ริมฝั่งคลองและชาวบ้านที่นำาเรือมาจอดอยู่ริมคลอง จะนำาดอกบัวโยน
ภาษาภาคกลาง ส่วนใหญ่ใช้ภาษาไทยกลางที่เป็นภาษาราชการ ยกเว้น
คนบางกลุ่มที่มีบรรพบุรุษเป็นชาวจีน ชาวมอญหรือชาวลาวพวน ซึ่งมี
สำาเนียงภาษาที่แตกต่างออกไป 
การแต่งกายภาคกลาง การแต่งกายในชีวิตประจำาวันทั่วไป ชายนุ่งกางเกง
ครึ่งน่อง สวมเสื้อแขนสั้น คาดผ้าขาวม้า ส่วนหญิง จะนุ่งซิ่นยาว สวมเสื้อ
แขนสั้นหรือยาว
ลัก ษณะการแต่ง กาย
ผู้ช าย สมัยก่อนการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง นิยมสวมใส่โจง
กระเบนสวมเสื้อสีขาว ติดกระดุม 5 เม็ด ที่เรียกว่า "ราชประแตน" ไว้ผมสั้น
ข้างๆตัดเกรียนถึงหนังศีรษะข้างบนหวีแสกกลาง
ผู้ห ญิง  สมัยก่อนการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง นิยมสวมใส่ผ้าซิ่น
                      
    รำา โทน เป็นการละเล่นพืนบ้านชนิดหนึ่งของชาวบ้านเมืองลพบุรี นิยม
                               ้
เล่นกันแพร่หลายในระหว่าง พ.ศ. ๒๔๘๔ - ๒๔๘๘   เหตุที่เรียกชื่อว่ารำา
โทน เพราะเดิมเป็นการรำาประกอบจังหวะการตี "โทน" ซึ่งเป็นเครื่องดนตรี
หลักในการเล่น ภายหลังแม้ใช้เครื่องดนตรีอน เช่น รำามะนา ตีให้จังหวะ
                                                ื่
แทนก็ยังเรียกชื่อเช่นเดิม   ผู้ที่นยมเล่นรำาโทน คือหนุ่มสาวชาวบ้าน กล่าว
                                   ิ
กันว่าในช่วงสงครามโลกครั้งที่         ๒ ผู้คนต้องอพยพหนีภัยทางอากาศจาก
กรุงเทพฯ ไปยังชนบทตามที่ต่างๆ กัน ในภาวะสงครามนั้นยามคำ่าคืนจะมืด
ไปทุกหนทุกแห่ง เนื่องจากทางรัฐบาลห้ามกระทำาการต่างๆ             หลายอย่าง
เช่น      ห้ามจุดไฟ ห้ามชุมนุมและอื่นๆ             ประชาชนเกิดความเหงาและ
เครียด การสนทนากันเพียงอย่างเดียวไม่สนุก จึงได้คิดเล่นรำาโทนขึ้น การ
ละเล่นชนิดนี้ชาวบ้านรู้จักและเล่นได้ทกคน ขณะที่เล่นจะจุดตะเกียงตั้งไว้
                                         ุ
ของเนื้อร้อง  ไม่บอกชื่อผู้แต่ง   ใครอยากแต่งขึ้นมาใหม่กได้  ไม่นิยม     ็
ดัดแปลงทั้งเนือร้องและท่ารำา  คือจำามาอย่างไรก็ร้องและรำาอย่างนั้น  บาง
                      ้
ครั้งการถ่ายทอดอาจได้มาเฉพาะเนื้อเพลง กรณีเช่นนี้ผู้เล่นจะคิดท่ารำา
ประกอบเองตามความหมายของเนื้อเพลง เนื้อร้องมักเป็นการเกี้ยวพาราสี
ปลุกใจหรือสะท้อนชีวตความเป็นอยู่หรือมาจากวรรณคดีไทย เช่น เพลง
                               ิ
ลพบุรีของเรานี่เอ๋ย   เจ็ดนาฬิกา  ใครรักใครโค้งใคร  เชื่อผู้นำาของชาติ
ศิลปากร ฯลฯ  จากการสำารวจพบว่า แม้เป็นเพลงเดียวกัน   หากคณะของผู้
เล่นอยู่ต่างสถานที่หรือต่างท้องถิ่นกัน  ท่ารำาและเนื้อเพลงก็อาจผิดแผกกัน
ไปได้ แต่บางเพลงยังคงเหมือนกันทุกประการ อย่างไรก็ตามเพลงทุกเพลง
ไม่จำาเป็นต้องได้จากการสืบทอดเสมอไป ผู้เล่นสามารถแต่งเนื้อร้อง  และ
ท่ารำาขึนเป็นปัจจุบันในขณะเล่นก็ได้
           ้
      เพลงรำาโทนช่วงก่อนปี พ.ศ.๒๔๘๔ เนื้อเพลงส่วนใหญ่จะเป็นเพลงที่มี
เนื้อหาเกี่ยวกับตัวละครในวรรณคดี  เช่น  ไกรทอง  ลักษณะวงศ์  พระศรีสุริ
โยทัย  แต่ที่พบมากที่สุดได้แก่  เพลงรัก หรือ  เพลงที่เกี้ยวพาราสีกัน
ตัว อย่า ง     เพลงรำาโทน
ระหว่างหนุ่มสาว   เช่น   ไหนเล่าดอกรัก    ยามเย็นเดินเล่น
                                             รำา แบบกรม
ทะเลเหนือ   ว่าวน้อยที่เราเคยเล่น   เดือนจ๋าเดือน  สวยจริงหล่อจริง  จันทร์
ศิล ป                                          
วันเพ็ญ  ฯลฯ
                                 รำาแบบ รำาแบบกรมศิลป                        กรมศิลป กรม
ศิลปากร
                        ร้องรำาทำาท่าแขนอ่อน                         รำาซับรำาซ้อนเอวอ่อน
โท่น" หรือ "ป๊ะ โท่น โท่น ป๊ะ โท่น โท่น" ใช้โทนใบเดียว หรือหลายใบ
 ก็ได้ ต่อมานิยมใช้ "รำามะนา" แทนเพราะเสียงดังไพเราะและเร้าใจดีกว่า
 อาจใช้อปกรณ์อนๆ เช่น ถังนำ้ามันตีให้จังหวะ แทนก็ได้ นอกจากนี้อาจจะ
            ุ           ื่
 ใช้ฉิ่งตีให้จังหวะได้อกด้วย ี
                 ในบางพืนที่   เช่น   บ้านแหลมฟ้าผ่า    ตำาบลบางพึ่ง    อำาเภอ
                           ้
 บ้านหมี่    จังหวัดลพบุรี    ใช้ถังนำ้ามันเหล็กที่ติดอยู่กับรถจี๊บของทหารมาตี
 แทนโทน  และมีเครื่องประกอบจังหวะอย่างอื่นอีก ได้แก่ ถังนำ้ามัน
 เหล็ก ๑ ลูก ฉิ่ง ฉาบเล็ก และกรับ          เป็นต้น  สำาหรับเครื่องดนตรีที่วิทยาลัย
 นาฏศิลปลพบุรี                 นำามาใช้ประกอบการรำาโทนที่ปรับปรุงใหม่ประกอบ
 ด้วย โทน ๑ คู่  ฉิ่ง ๑ คู่ กรับ ๓ คู่ และฉาบเล็ก ๑คู่ 
     วิธ ีเ ล่น   ผู้เล่นชายโค้งชวนหญิงออกมารำาเป็นคู่ๆ  ช่วยกันร้องไปรำา
 ตามกันไปเป็นวง  นักดนตรีก็ตีโทนให้จังหวะเร้าใจ เพลงหนึ่งๆ จะร้องซำ้า
 ๓ - ๔ เที่ยวก็จะเปลี่ยนเพลงต่อไป การรำาไม่มีท่ารำาตายตัวมักเป็นการใส่ท่า
 ตามเนื้อร้อง เปลี่ยนคู่รำากันตามใจ ผู้มาดูอาจช่วยตบมือและร้องตามไปด้วย



                          เต้น กำา รำา                               รำา กลอง
ว                                        ยาว    
รำาในหมู่ชาวบ้านแล้ว   ทหารและข้าราชการก็นิยมเล่น  โดยร้องเล่นกับ
 ชาวบ้านด้วยพบว่าทหารในจังหวัดสระบุรีได้ร่วมเล่นรำาโทนกับหญิงสาว
 ชาวบ้าน…”
                  จะเห็นได้ว่าการเล่นรำาโทนยังไม่มีระเบียบแบบแผนของการ
 แต่งกายเข้ามาเกี่ยวข้อง เนื่องจากเป็นการ  “ร่วมเล่น”   เพื่อความบันเทิง
 ไม่ใช่เพื่อการแสดงเช่นการแสดงชนิดอืนๆ      ่
                  ชายนิยมแบบสากลประกอบด้วยหมวก  เสื้อชั้นนอกคอ
 เปิด  หรือคอปิด  ถ้าเป็นคอเปิดต้องใส่เสื้อชั้นในคอปก  มีผ้าผูกคอเงื่อนกลา
 สีหรือเงือนหูกระต่าย กางเกงขายาวแบบสากล สวมรองเท้าถุงเท้า
            ่
      โอกาสที่แ สดง     ไม่มีโอกาสที่แน่นอน   ชาวบ้านนึกอยากจะเล่นเมื่อ
 ใดก็ชวนกันมาเล่นที่ลานบ้านคนใดคนหนึ่ง จะเล่นตอนกลางคืนเท่านั้นมัก
 เริ่มเล่นตอนหัวคำ่า เล่นกันไปเรื่อยๆ จนไม่มีคนเล่นหรือง่วงนอนกันมากแล้ว
 ก็จะเลิกเล่น แยกย้ายกันกลับบ้านของตน เล่นได้ทุกโอกาส  เพื่อการพัก
 ผ่อน  คลายความเครียด  และเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างหนุม-สาว   ไม่
                                                                ่
 นิยมเล่นในงานศพ


                        รำา
อย                                                       รำาวงมาตรฐาน

More Related Content

What's hot

ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
Padvee Academy
 
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]Sansanee Tooksoon
 
ใบงานที่ 6.2 เรื่อง คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ต
ใบงานที่  6.2   เรื่อง คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ตใบงานที่  6.2   เรื่อง คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ต
ใบงานที่ 6.2 เรื่อง คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ต
โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
SophinyaDara
 
สี่สิบห้าบาท
สี่สิบห้าบาทสี่สิบห้าบาท
สี่สิบห้าบาทJanniie
 
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
คุณครูพี่อั๋น
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียงjiko2505
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนการเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนMaii's II
 
จังหวัดกับตัวสะกด
จังหวัดกับตัวสะกดจังหวัดกับตัวสะกด
จังหวัดกับตัวสะกด
Tasnee Punyothachat
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เกษสุดา สนน้อย
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
Chainarong Maharak
 

What's hot (20)

ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
 
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
 
ใบงานที่ 6.2 เรื่อง คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ต
ใบงานที่  6.2   เรื่อง คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ตใบงานที่  6.2   เรื่อง คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ต
ใบงานที่ 6.2 เรื่อง คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ต
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
 
สี่สิบห้าบาท
สี่สิบห้าบาทสี่สิบห้าบาท
สี่สิบห้าบาท
 
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนการเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีน
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
จังหวัดกับตัวสะกด
จังหวัดกับตัวสะกดจังหวัดกับตัวสะกด
จังหวัดกับตัวสะกด
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 

Similar to สังคม ภาคกลาง

งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือtonsocial
 
ประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการfufee
 
ภาคใต้
ภาคใต้ภาคใต้
ภาคใต้tonsocial
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางorawan155
 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือtonsocial
 
ดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านJakkrit Supokam
 
ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย0857226950bb
 
ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย0857226950bb
 
ชุติกาญจน์
ชุติกาญจน์ชุติกาญจน์
ชุติกาญจน์
Fon Chutikan Kongchusri
 
น้ำฦน
น้ำฦนน้ำฦน
น้ำฦน
Fon Chutikan Kongchusri
 
ท่องเที่ยว
ท่องเที่ยวท่องเที่ยว
ท่องเที่ยว
Suchada Uya
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงเปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงloveonlyone
 
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงเปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
loveonlyone
 

Similar to สังคม ภาคกลาง (20)

งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือ
 
File
FileFile
File
 
ประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการ
 
ภาคใต้
ภาคใต้ภาคใต้
ภาคใต้
 
Wisdom1
Wisdom1Wisdom1
Wisdom1
 
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาวประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลาง
 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 
ดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้าน
 
ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย
 
ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย
 
7
77
7
 
presentation
presentationpresentation
presentation
 
ชุติกาญจน์
ชุติกาญจน์ชุติกาญจน์
ชุติกาญจน์
 
น้ำฦน
น้ำฦนน้ำฦน
น้ำฦน
 
ท่องเที่ยว
ท่องเที่ยวท่องเที่ยว
ท่องเที่ยว
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
5
55
5
 
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงเปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
 
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงเปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
 

More from tonsocial

ใบงาน.5
ใบงาน.5ใบงาน.5
ใบงาน.5tonsocial
 
ใบงาน.4
ใบงาน.4ใบงาน.4
ใบงาน.4tonsocial
 
ใบงาน.3
ใบงาน.3ใบงาน.3
ใบงาน.3tonsocial
 
ใบงาน.2
ใบงาน.2ใบงาน.2
ใบงาน.2tonsocial
 
ใบงาน.1
ใบงาน.1ใบงาน.1
ใบงาน.1tonsocial
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงานtonsocial
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงานtonsocial
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงานtonsocial
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงานtonsocial
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงานtonsocial
 
ภาคเหนือ
ภาคเหนือภาคเหนือ
ภาคเหนือ
tonsocial
 

More from tonsocial (14)

ใบงาน.5
ใบงาน.5ใบงาน.5
ใบงาน.5
 
ใบงาน.4
ใบงาน.4ใบงาน.4
ใบงาน.4
 
ใบงาน.3
ใบงาน.3ใบงาน.3
ใบงาน.3
 
ใบงาน.2
ใบงาน.2ใบงาน.2
ใบงาน.2
 
ใบงาน.1
ใบงาน.1ใบงาน.1
ใบงาน.1
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ภาคเหนือ
ภาคเหนือภาคเหนือ
ภาคเหนือ
 

สังคม ภาคกลาง

  • 1.
  • 2. วัฒ นธรรมภาคกลาง บริเวณภาคกลางส่วนใหญ่เป็นที่ราบ ทีเกิดจาก การทับถมดินตะกอนของ ่ แม่นำ้า การตั้งถิ่นฐานของ ผู้จะอยู่บริเวณนำ้า เช่น การพายเรือสินค้าจน กลาย เป็นตลาดนำ้า การเล่นเพลง หรือการอาศัยอยู่บน เรือนแพ เป็นต้น     บ้านทรงไทยนับว่าเป็นภูมิปัญญาของบรรพบุรุษไทย ที่ได้คิดสร้างที่อยู่อาศัย ทีเหมาะสมกับสภาพภูมิประ ่ เทศ ภูมิอากาศ และประโยชน์ใช้สอย คือ เป็นเรือนยกพื้นสูง เพือป้องกันนำ้า ่ ท่วมตัวเรือน เพราะในปลายฤดู ฝนจะมีนำ้าป่าไหลหลากจากทางเหนือ มา ท่วมพืนที่ลุ่มในภาคกลาง หากมีลมพายุก็สามารถพัดผ่านใต้ถุน เรือนไปได้ ้ ใต้ถุนเรือน สามารถใช้เป็นสถานที่ทอผ้า ตำาข้าว เก็บของ ส่วนหลังคาที่สูง และลาดชันก็เหมาะ กับสภาพอากาศที่ร้อนอบอ้าว และมีฝนตกชุกของภาค กลาง เพราะทำาให้อากาศร้อนจากภายนอกถ่ายเทมา ยังห้องได้ช้า และ ทำาให้ฝนไหลลงอย่างรวดเร็ว รอบตัวเรือนมีชายคายื่นยาว เพื่อป้องกันกัน ฝนสาด และ แสงแดด การสร้างบ้านยังคำานึงเรื่องทิศทางของการระบายลม และระบายความร้อน โดยลมประจำาที่พดผ่าน เรียกว่า ลมว่าว หรือลม ั ตะเภา พัดจากทิศใต้ไปทิศเหนือ การวางตัวเรือนจึงต้องหันทางทิศใต้ หรือ ทิศเหนือ เพือให้ลมพัดผ่าน ่
  • 3. บ้า นเรือ นไทย หรือ เรือ นไทย  เรือนไทยภาคกลางจะสร้างด้วยไม้ แบ่ง เป็น 2 ประเภทคือ เรือนเครื่องสับ เป็นเรือนทีทำาด้วยไม้ ่ เนื้อแข็ง
  • 4. เรือนไม้ผูก เป็นเรือนที่ทำาด้วยไม้ไผ่เป็นส่วนใหญ่ เอกลักษณ์ของคนไทย คือ ยกพื้นสูง มีใต้ถุนเรือน หลังคาหน้าจั่วทรงสูง สร้างโดยไม่ใช้ตะปู แต่ จะนำาจำานวนต่างๆ ของเรือนมาประกอบกัน เรียกว่าการ เข้าไม้ ทำาให้สะดวกต่อการย้ายบ้าน     ลักษณะของเรือนไทยภาคกลางเป็นเรือนยกใต้ถุนสูง สูงจากพื้นดิน ประมาณพ้นศีรษะ รวมทั้งระเบียงและ ชานก็ยกสูงด้วย การยกใต้ถุนสูงนี้มี ระดับลดหลั่นกัน พืนระเบียงลดจากพื้นห้องนอน 40 เซนติเมตร พื้นชาน ้ ลดจากระเบียงอีก 40 เซนติเมตร และปิดด้วยไม้ระแนงตีเว้นช่องโปร่ง การ ลดระดับ พื้นทำาให้ได้ประโยชน์ ดังนี้ คือช่วยให้ลมพัดผ่านจากใต้ถุนขึ้น มา ข้างบนสามารถมองลงมายังใต้ถุนชั้นล่างได้ และใช้ระดับลด 40 เซนติเมตร ไว้เป็นที่นั่งห้อยเท้า
  • 5.  หลังคาทรงจั่วสูงชายคายื่นยาว หลังคาของเรือนไทยเป็นแบบทรงมนิลา ใช้ไม้ทำาโครงและใช้จากแฝก หรือกระเบื้องดินเผาเป็นวัสดุมุงหลังคา วัสดุ เหล่านี้ต้องใช้วิธีมุงตามระดับองศาที่สูงชันมาก นำ้าฝนจึงจะ ไหลได้เร็ว ไม่ รั่ว การทำาหลังคาทรงสูงนี้ มีผลช่วยบรรเทาความร้อนที่จะถ่ายเทลงมายัง ส่วนล่าง ทำาให้ที่พัก อาศัยหลับนอนเย็นสบาย สำาหรับเรือนครัวทั่วไปตรง ส่วนของหน้าจั่วทั้ง 2 ด้าน ทำาช่องระบายอากาศโดยใช้ ไม้ตีเว้นช่อง หรือ ทำาเป็นรูปรัศมีพระอาทิตย์ เพื่อถ่ายเทควันไฟออกจากเรือนครัวได้สะดวก เนื่องจากสภาพ ดินฟ้าอากาศของภาคกลาง แดดแรงจัด อุณหภูมิบางเดือน สูงถึง 39.9 องศาเซลเซียส ฝนชุก จึงจำาเป็น ต้องต่อเติมกันสาดให้ยื่นออก
  • 6. ชานกว้า ง เมื่อมองดูแปลนของเรือนไทยทั่วไป จะเห็นพืนทีของชานกว้าง ้ ่ มาก ที่มีปริมาณถึงร้อยละ 40 ของพืนที่ทงหมด (ห้องระเบียงชาน) ถ้ารวม ้ ั้ พื้นที่ของระเบียงเข้าไปด้วย จะมีปริมาณถึงร้อยละ 60 พืนที่นี้ เป็นส่วน ้ อาศัยภายนอก ส่วนทีอาศัยหลับนอนมีฝากั้นเป็นห้อง มีเนื้อที่เพียงร้อยละ ่ 40 ของพื้นที่ทั้งหมด สาเหตุที่พื้นที่อยู่อาศัยภายนอกมีปริมาณมาก เพราะ ดินฟ้าอากาศร้อนอบอ้าวนั่นเอง
  • 7. เรือ นครอบครัว ขยาย  โดยที่สรุปแล้วแผนผังของเรือนครอบครัวขยายมี 3 แบบ คือ •จะปลูกเรียงเป็นแถวไปตามยาวต่อจากเรือนของพ่อแม่ •จะจัดวางตัวเรือนเป็นกลุ่ม ที่มีชานเชื่อมตรงกลาง ชานที่เชื่อมนี้เปิดโล่ง ไม่มีหลังคาคลุม •ปลูกเรือนขึ้นใหม่อยู่ในบริเวณใกล้ๆ เป็นหลังๆ ทีไม่มีชานเชื่อม ่
  • 8. กุฏิสงฆ์ เรือ นร้า นค้า ริม นำ้า  เป็นเรือนที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นร้านค้าขาย รวมทั้งกินอยู่ หลับ นอน ฉะนั้นประโยชน์ใช้สอยจึงต่างกับเรือนพักอาศัยทั่วไป เรือนแบ่ง เป็น 2 ส่วน ส่วนหน้าเปิดเป็นร้านค้ามีที่สำาหรับวางสินค้า ส่วนหลังเป็นที่อยู่ อาศัย เรือ นร้า นค้า ริม ทาง  เรือนร้านค้าริมทางเป็นเรือนที่สร้างขึ้น เพือ ่ ประโยชน์ ทางการค้า และใช้พักอาศัยไปในตัว มีจุดมุ่งหมายเช่นเดียวกับ เรือนร้านค้าริม นำ้า การขนส่งใช้เกวียนเป็นพาหนะ เรือ นตำา หนัก  เป็นเรือนสำาหรับเชื้อพระวงศ์หรือเจ้านายชั้นผู้ใหญ่ มีขนาด ใหญ่ หลายช่วงเสา ลักษณะคล้ายกุฏิสงฆ์ ซึ่งนำามารวมกันจำานวน 6-9
  • 9.    ภาคกลางเป็นภูมิภาคที่มีดินและนำ้าอุดมสมบูรณ์ จึงเป็นแหล่งปลูก ข้าวที่ สำาคัญของประเทศ และมีอาหารการกินที่อดมสมบูรณ์ ทั้งพืช ผักและสัตว์ ุ ต่างๆ คนภาคกลางนิยมรับประทานข้าวเจ้าเป็นอาหาร หลักในอดีต คน ภาคกลางนิยมใช้ใบบัวห่อข้าวนำาไปรับประทานเวลา ออกไปทำางานในนา หรือการเดินทางเรียกกันว่า"ข้า วห่อ ใบบัว " กับ ข้าวที่นิยมมีเกือบทุกมื้อ อาหาร คือ นำ้าพริกประเภทต่างๆ เช่น นำ้าพริก เผา นำ้าพริกกะปิ นำ้าพริกปลา ย่าง รับประทานกับผักนานาชนิดที่หา ได้ในท้องถิ่นและนิยมปรุงรสอาหาร
  • 10. มื้อจะจัดเป็นสำารับ มีกบข้าวหลายอย่าง รสชาติอาหารภาค กลางมีการผสม ั ผสานของหลากหลายรสชาติ ทั้งรสเปรี้ยว หวาน เค็ม เผ็ด เอกลักษณ์ของ รสชาติอาหาร ไม่ได้เกิดจากเครื่องปรุง เพียงอย่างเดียว เช่น รสเปรี้ยวที่ใช้ ปรุงอาหาร อาจได้ทั้งจากมะนาว มะขาม มะกรูด ตะลิงปลิง ส้มแขก ผล ไม้ บางชนิด เช่น มะดัน มะม่วง เป็นต้น การใช้เครื่องปรุงรสเปรี้ยวทีแตกต่าง ่ กัน จึงทำาให้เกิดความ หลากหลายใช้ชนิดของอาหารไทยภาคกลาง เช่น ต้ม ยำา ใช้ม ะนาว เพื่อ ให้ร สเปรี้ย ว แต่ต ้ม โคล้ง ใช้น ำ้า มะขาม เปีย ก เพื่อ ให้ร ส เปรี้ย วแทน      นอกจากนั้นยังมีรสเค็ม ที่ได้จากนำ้าปลา กะปิ รสขม ที่ได้จากพืช ชนิด ต่างๆ เช่น มะระ เป็นต้น และ ความเผ็ด ที่ได้จากพริก พริกไทย และเครื่อง เทศ อาหารภาคกลางเป็น อาหารที่มีครบทุกรส ซึ่งอาหารไทยที่ชาวต่าง ชาติส่วนใหญ่รู้จัก และนิยมบริโภคล้วนแต่เป็นอาหารภาค กลางทั้งนั้นไม ว่าจะเป็น ต้มยำากุง แกงเขียวหวานผัดไทย พะแนง เป็นต้น จึงทำาให้อาหาร ้
  • 11. ประเพณีร ับ บัว  เป็นประเพณีของชาวอำาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ จัดขึ้นในวันขึ้น 15 คำ่า เดือน 11 ของทุกปี ในเทศกาลออกพรรษา ตำานาน ของประเพณี รับบัวตำานานหนึ่งเล่าว่า ในสมัยก่อนนั้นอำาเภอบางพลี เป็น แหล่งทีมีดอกบัวหลวงมาก เมื่อถึงช่วงออกพรรษา ชาวบ้านที่อยู่ใกล้อำาเภอ ่ บางพลี โดยเฉพาะที่อำาเภอ เมือง และอำาเภอพระประแดง จะเดินทางไปเก็บ ดอกบัว ที่อำาเภอบางพลี เพื่อนำามาประกอบพิธีทำาบุญในวันออก พรรษา ต่อมาชาวบางพลีเป็นผู้เก็บดอกบัวไว้แจกให้ ชาวบ้านต่างถิ่น เพือ่
  • 12. รุ่งเช้าของวันขึ้น 15 คำ่า เดือน 11 ชาวบ้านต่างถิน จะพายเรือไปรับดอกบัว ่ จากชาวบางพลี เพื่อนำาดอกบัวไปนมัสการหลวงพ่อโต ที่วัดบางพลีใหญ่ ในการให้ และรับดอกบัวกระทำากันอย่างสุภาพ รับส่งกันมือต่อมือ ผู้ให้จะ อธิฐานก่อน ส่วนผู้รับก็จะพนมมือไหว้ขอบคุณ แต่ถาเป็นผู้สนิทสนมกัน ก็ ้ อาจโดยดอกบัวให้โดยไม่มีพธีรีตอง เมื่อเวลาผ่านไปการโยนดอกบัวให้กัน ิ ก็ กลายเป็นความนิยมแทนการรับส่งมือต่อมือ จนชื่อประเพณีถูกเรียก ว่า่อสภาพการดำารงชีวิตเปลี่ยนไปบมีโรงงานอุตสาหกรรม มีงถิ่นก็พสรรเกิด เมื  "โยนบัว " แทน "รับ บัว  เมื่อรั ดอก บัวแล้วชาวบ้านต่า บ้านจัดายเรือก ลับ ที่อำาเภอบางพลีมากขึ้น จนต่อมาจัดเป็อกบัวน้องขันด้วย ยงานราชการ ขึ้น โดยมีการพายแข่งกัน แหล่งนำ้าที่มีดนการแข่ยลง หน่า จึงคิดจัดงานรับบัวขึ้นมา เพื่ออนุรักษ์ประเพณีไว้ โดยจัดให้มี การประกวด เรือสวยงาม และนำาไม้ไผ่มาสานเป็นโครงรูปองค์พระพุทธรูป ปิดด้วย กระดาษสีทอง สมมุติว่า เป็นหลวงพ่อโต วัดบางพลีใหญ่ใน นำามาตั้งบนเรือ แห่ไปตามลำาคลองสำาโรง อำาเภอบางพลี จังหวัดสมุทร ปราการ ชาวบ้านที่ อยู่ริมฝั่งคลองและชาวบ้านที่นำาเรือมาจอดอยู่ริมคลอง จะนำาดอกบัวโยน
  • 13. ภาษาภาคกลาง ส่วนใหญ่ใช้ภาษาไทยกลางที่เป็นภาษาราชการ ยกเว้น คนบางกลุ่มที่มีบรรพบุรุษเป็นชาวจีน ชาวมอญหรือชาวลาวพวน ซึ่งมี สำาเนียงภาษาที่แตกต่างออกไป  การแต่งกายภาคกลาง การแต่งกายในชีวิตประจำาวันทั่วไป ชายนุ่งกางเกง ครึ่งน่อง สวมเสื้อแขนสั้น คาดผ้าขาวม้า ส่วนหญิง จะนุ่งซิ่นยาว สวมเสื้อ แขนสั้นหรือยาว ลัก ษณะการแต่ง กาย ผู้ช าย สมัยก่อนการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง นิยมสวมใส่โจง กระเบนสวมเสื้อสีขาว ติดกระดุม 5 เม็ด ที่เรียกว่า "ราชประแตน" ไว้ผมสั้น ข้างๆตัดเกรียนถึงหนังศีรษะข้างบนหวีแสกกลาง ผู้ห ญิง  สมัยก่อนการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง นิยมสวมใส่ผ้าซิ่น
  • 14.                        รำา โทน เป็นการละเล่นพืนบ้านชนิดหนึ่งของชาวบ้านเมืองลพบุรี นิยม ้ เล่นกันแพร่หลายในระหว่าง พ.ศ. ๒๔๘๔ - ๒๔๘๘   เหตุที่เรียกชื่อว่ารำา โทน เพราะเดิมเป็นการรำาประกอบจังหวะการตี "โทน" ซึ่งเป็นเครื่องดนตรี หลักในการเล่น ภายหลังแม้ใช้เครื่องดนตรีอน เช่น รำามะนา ตีให้จังหวะ ื่ แทนก็ยังเรียกชื่อเช่นเดิม   ผู้ที่นยมเล่นรำาโทน คือหนุ่มสาวชาวบ้าน กล่าว ิ กันว่าในช่วงสงครามโลกครั้งที่ ๒ ผู้คนต้องอพยพหนีภัยทางอากาศจาก กรุงเทพฯ ไปยังชนบทตามที่ต่างๆ กัน ในภาวะสงครามนั้นยามคำ่าคืนจะมืด ไปทุกหนทุกแห่ง เนื่องจากทางรัฐบาลห้ามกระทำาการต่างๆ หลายอย่าง เช่น ห้ามจุดไฟ ห้ามชุมนุมและอื่นๆ ประชาชนเกิดความเหงาและ เครียด การสนทนากันเพียงอย่างเดียวไม่สนุก จึงได้คิดเล่นรำาโทนขึ้น การ ละเล่นชนิดนี้ชาวบ้านรู้จักและเล่นได้ทกคน ขณะที่เล่นจะจุดตะเกียงตั้งไว้ ุ
  • 15. ของเนื้อร้อง  ไม่บอกชื่อผู้แต่ง   ใครอยากแต่งขึ้นมาใหม่กได้  ไม่นิยม ็ ดัดแปลงทั้งเนือร้องและท่ารำา  คือจำามาอย่างไรก็ร้องและรำาอย่างนั้น  บาง ้ ครั้งการถ่ายทอดอาจได้มาเฉพาะเนื้อเพลง กรณีเช่นนี้ผู้เล่นจะคิดท่ารำา ประกอบเองตามความหมายของเนื้อเพลง เนื้อร้องมักเป็นการเกี้ยวพาราสี ปลุกใจหรือสะท้อนชีวตความเป็นอยู่หรือมาจากวรรณคดีไทย เช่น เพลง ิ ลพบุรีของเรานี่เอ๋ย   เจ็ดนาฬิกา  ใครรักใครโค้งใคร  เชื่อผู้นำาของชาติ ศิลปากร ฯลฯ  จากการสำารวจพบว่า แม้เป็นเพลงเดียวกัน   หากคณะของผู้ เล่นอยู่ต่างสถานที่หรือต่างท้องถิ่นกัน  ท่ารำาและเนื้อเพลงก็อาจผิดแผกกัน ไปได้ แต่บางเพลงยังคงเหมือนกันทุกประการ อย่างไรก็ตามเพลงทุกเพลง ไม่จำาเป็นต้องได้จากการสืบทอดเสมอไป ผู้เล่นสามารถแต่งเนื้อร้อง  และ ท่ารำาขึนเป็นปัจจุบันในขณะเล่นก็ได้ ้ เพลงรำาโทนช่วงก่อนปี พ.ศ.๒๔๘๔ เนื้อเพลงส่วนใหญ่จะเป็นเพลงที่มี เนื้อหาเกี่ยวกับตัวละครในวรรณคดี  เช่น  ไกรทอง  ลักษณะวงศ์  พระศรีสุริ โยทัย  แต่ที่พบมากที่สุดได้แก่  เพลงรัก หรือ  เพลงที่เกี้ยวพาราสีกัน ตัว อย่า ง     เพลงรำาโทน ระหว่างหนุ่มสาว   เช่น   ไหนเล่าดอกรัก    ยามเย็นเดินเล่น                                  รำา แบบกรม ทะเลเหนือ   ว่าวน้อยที่เราเคยเล่น   เดือนจ๋าเดือน  สวยจริงหล่อจริง  จันทร์ ศิล ป                                           วันเพ็ญ  ฯลฯ              รำาแบบ รำาแบบกรมศิลป        กรมศิลป กรม ศิลปากร ร้องรำาทำาท่าแขนอ่อน                         รำาซับรำาซ้อนเอวอ่อน
  • 16. โท่น" หรือ "ป๊ะ โท่น โท่น ป๊ะ โท่น โท่น" ใช้โทนใบเดียว หรือหลายใบ ก็ได้ ต่อมานิยมใช้ "รำามะนา" แทนเพราะเสียงดังไพเราะและเร้าใจดีกว่า อาจใช้อปกรณ์อนๆ เช่น ถังนำ้ามันตีให้จังหวะ แทนก็ได้ นอกจากนี้อาจจะ ุ ื่ ใช้ฉิ่งตีให้จังหวะได้อกด้วย ี             ในบางพืนที่   เช่น   บ้านแหลมฟ้าผ่า    ตำาบลบางพึ่ง    อำาเภอ ้ บ้านหมี่    จังหวัดลพบุรี    ใช้ถังนำ้ามันเหล็กที่ติดอยู่กับรถจี๊บของทหารมาตี แทนโทน  และมีเครื่องประกอบจังหวะอย่างอื่นอีก ได้แก่ ถังนำ้ามัน เหล็ก ๑ ลูก ฉิ่ง ฉาบเล็ก และกรับ เป็นต้น  สำาหรับเครื่องดนตรีที่วิทยาลัย นาฏศิลปลพบุรี นำามาใช้ประกอบการรำาโทนที่ปรับปรุงใหม่ประกอบ ด้วย โทน ๑ คู่  ฉิ่ง ๑ คู่ กรับ ๓ คู่ และฉาบเล็ก ๑คู่  วิธ ีเ ล่น   ผู้เล่นชายโค้งชวนหญิงออกมารำาเป็นคู่ๆ  ช่วยกันร้องไปรำา ตามกันไปเป็นวง  นักดนตรีก็ตีโทนให้จังหวะเร้าใจ เพลงหนึ่งๆ จะร้องซำ้า ๓ - ๔ เที่ยวก็จะเปลี่ยนเพลงต่อไป การรำาไม่มีท่ารำาตายตัวมักเป็นการใส่ท่า ตามเนื้อร้อง เปลี่ยนคู่รำากันตามใจ ผู้มาดูอาจช่วยตบมือและร้องตามไปด้วย                           เต้น กำา รำา                           รำา กลอง ว  ยาว  
  • 17. รำาในหมู่ชาวบ้านแล้ว   ทหารและข้าราชการก็นิยมเล่น  โดยร้องเล่นกับ ชาวบ้านด้วยพบว่าทหารในจังหวัดสระบุรีได้ร่วมเล่นรำาโทนกับหญิงสาว ชาวบ้าน…”             จะเห็นได้ว่าการเล่นรำาโทนยังไม่มีระเบียบแบบแผนของการ แต่งกายเข้ามาเกี่ยวข้อง เนื่องจากเป็นการ  “ร่วมเล่น”   เพื่อความบันเทิง ไม่ใช่เพื่อการแสดงเช่นการแสดงชนิดอืนๆ  ่             ชายนิยมแบบสากลประกอบด้วยหมวก  เสื้อชั้นนอกคอ เปิด  หรือคอปิด  ถ้าเป็นคอเปิดต้องใส่เสื้อชั้นในคอปก  มีผ้าผูกคอเงื่อนกลา สีหรือเงือนหูกระต่าย กางเกงขายาวแบบสากล สวมรองเท้าถุงเท้า ่ โอกาสที่แ สดง     ไม่มีโอกาสที่แน่นอน   ชาวบ้านนึกอยากจะเล่นเมื่อ ใดก็ชวนกันมาเล่นที่ลานบ้านคนใดคนหนึ่ง จะเล่นตอนกลางคืนเท่านั้นมัก เริ่มเล่นตอนหัวคำ่า เล่นกันไปเรื่อยๆ จนไม่มีคนเล่นหรือง่วงนอนกันมากแล้ว ก็จะเลิกเล่น แยกย้ายกันกลับบ้านของตน เล่นได้ทุกโอกาส  เพื่อการพัก ผ่อน  คลายความเครียด  และเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างหนุม-สาว   ไม่ ่ นิยมเล่นในงานศพ                         รำา อย          รำาวงมาตรฐาน