SlideShare a Scribd company logo
เทคโนโลยีการศึกษา
กับอุปกรณ์และเครืองมือ
                   ่
      สื่อการศึกษา


       อาจารย์ดร.นาถวดี นันทา
           ภินัย
นวัตกรรม
   นว = ใหม่
กรรม = การกระทำา



การกระทำาใหม่ ๆ
เกณฑ์ของนวัตกรรม
ใหม่ทั้งหมดหรือบางส่วน
ใช้วิธีระบบในการพัฒนา
ต้องมีการพิสจน์
             ู     วิจัย
 ทดลอง
ยังไม่แพร่หลาย
เส้นทางของนวัตกรรม
    ประดิษฐ์คิดค้น

        พัฒนา

เป็นนวัตกรรมโดยสมบูรณ์
นวัตกรรมทางการ
    ศึกษา(Innovation)
    เป็นแนวคิด การปฏิบัติ หรือ
สิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ที่ยังไม่เคยมี
ใช้มาก่อน หรือเป็นการพัฒนา
ดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยู่แล้ว
ให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น
นวัตกรรมการศึกษา
    (Educational innovation)
หมายถึงนวัตกรรมทีช่วยให้การศึกษา
                        ่
การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมาก
ยิ่งขึ้น ทำาให้ผู้เรียนสามารถเกิดการ
เรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วและมี
ประสิทธิภาพสูงขึ้นกว่าเดิม เกิดแรง
จูงใจในการเรียน และประหยัดเวลา
ในการเรียนด้วยนวัตกรรม
เทคโนโลยีและนวัตกรรม
       นวัตกรรมทางการศึกษา



นำามาใช้และเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง



         เทคโนโลยีการศึกษา
ความหมายของเทคโนโลยี
 เทคโนโลยีเป็นการนำาแนวคิด หลัก
 การ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี
 กระบวนการ ตลอดจนผลผลิตทาง
 วิทยาศาสตร์ทงในด้านสิ่งประดิษฐ์
              ั้
 และวิธีการปฏิบติมาประยุกต์ใช้เพือ
                 ั               ่
 ขยายขีดความสามารถของมนุษย์
 ช่วยให้การทำางานดีขึ้น และเพือเพิม
                              ่    ่
 ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของ
เทคโนโลยีกบอุปกรณ์เครื่องมือสื่อ
          ั
          การศึกษา
ประสาทสัมผัสทัง 5้
ตาเป็นประสาทสัมผัสทีใช้ในการรับ
                       ่
รู้มากทีสุด
        ่
รองลงมาคือหู
ดังนัน การใช้สื่อโสตทัศน์ (Audio-
     ้
Visual) ในการสอนจึงนับเป็นสิง  ่
สำาคัญยิ่งเพือช่วยผู้สอนในการ
              ่
ถ่ายทอดเนือหา ความรู้แก่ผู้เรียน เพื่อ
            ้
ความสำาคัญของเครื่องมืออุปกรณ์สื่อ
               การศึกษา
1. เกิดการรับรู้หลายช่องทาง การ
 ฟัง+การดู
2. เพิมความเชื่อมโยงในความรู้
       ่
 ความเข้าใจในเนื้อหา
3. ผู้เรียนปรับการรับรู้ของตนให้
 เหมาะสมกับรูปแบบการเรียนรู้ของ
 ตนเองได้
พัฒนาการของสื่ออุปกรณ์
  ช่วงแรกของศตวรรษที่ 20 ใช้เทคโนโลยีเสียง
  และภาพด้วยวัสดุอุปกรณ์ในลักษณะสื่อธรรมดา
  และสืออิเล็กทรอนิกส์ เรียกว่าสื่อแบบดั้งเดิม
        ่
  (traditional media)หรือสื่อพื้นฐาน อาทิ
 แผ่นเสียงเครื่องเล่นแผ่นเสียง
 เทปเสียงเครื่องเล่นเทป
 ฟิล์มเครื่องฉายภาพยนตร์
 ภาพถ่าย
 แผนที่
 ของจำาลอง
พัฒนาการของสื่ออุปกรณ์
  ช่วงหลังของศตวรรษที่ 20 ราวพ.ศ.
  2520 เป็นต้นมามีการนำาเทคโนโลยี
  ดิจิทลลมาใช้ในการผลิตสือ เรียกว่า
        ั                   ่
  สือดิจิทล อาทิ
    ่       ั
 ใช้ Powerpoint แทนแผ่นโปร่งใส
  ฉายบนเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ
 ใช้แผ่นวีซีดหรือดีวีดี แทนภาพยนตร์
                ี
  ทีใช้ฟิลม หรือวีดิทศน์
      ่       ์      ั
 ใช้ซีดแทนเทปคาสเซ็ต เป็นต้น
          ี
การแบ่งประเภทสื่อ

สื่อพื้นฐาน
สื่อแอนะล็อก
สื่อดิจิทัล
สือพืนฐาน
                  ่ ้
  เป็นสื่อรูปแบบเก่าที่ใช้กันมาตั้งแต่ดั้งเดิม ได้แก่
 สิงพิมพ์ต่างๆ เช่น บัตรคำา โปสเตอร์
    ่
 ของจริง
 ของจำาลอง
 กระดานต่างๆ เช่น กระดานชอล์ก กระดานผ้า
  สำาลี กระดานนิเทศ
 แผนภูมิ กราฟ
 การสาธิต
  สือเหล่านีผลิตได้ด้วยตนเอง ถ่ายทอดเนื้อหา
      ่      ้
  ด้วยตัวสื่อเอง
สือแอนะล็อก
            ่
  เป็นสื่ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทใช้ใน
                                  ี่
  การถ่ายทอดเนื้อหาจากวัสดุให้เห็น
  เป็นภาพขนาดใหญ่บนจอภาพหรือ
  ถ่ายทอดเสียงจากวัสดุบันทึก เช่น
 เครื่องฉาย
 เครื่องเสียง
 เครื่องแปลง/ถ่ายทอดสัญญาณ อาทิ
  กล้องโทรทัศน์ เครื่องเล่นวีดิทศน์
                                ั
สื่อดิจิทล
                        ั
  เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการถ่ายทอด
  เนื้อหาและแปลงสัญญาณเช่นเดียวกับสือแอนะ ่
  ล็อก แต่เป็นสื่อที่ใช้เทคโนโลยีระดับสูงโดยการ
  ใช้ระบบดิจิทัล ซึ่งจะมีการทำางานด้วยการ “ปิด”
  หรือ “เปิด” ทำาให้ข้อมูลมีความเที่ยงตรงและ
  สามารถบีบอัดข้อมูลได้ ได้แก่
 เครื่องแปลง/ถ่ายทอดสัญญาณ อาทิ
   กล้องดิจิทัล
  เครื่องเล่นวีซีดี ดีวีดี
  เครื่องวีดีโอโปรเจ็คเตอร์


More Related Content

Viewers also liked

นำเสนอครั้งที่ 1-60258
นำเสนอครั้งที่ 1-60258นำเสนอครั้งที่ 1-60258
นำเสนอครั้งที่ 1-60258
Ampol Sonwises
 
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูล ภูมิ...
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูลภูมิ...บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูลภูมิ...
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูล ภูมิ...
Chingchai Humhong
 
บทที่ 1 วิจัย
บทที่ 1 วิจัยบทที่ 1 วิจัย
บทที่ 1 วิจัยNatmol Thedsanabun
 
Example of gis&rs applications
Example of gis&rs applicationsExample of gis&rs applications
Example of gis&rs applications
Prapaporn Boonplord
 
Interactive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctuInteractive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctu
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to DatabaseOpas Kaewtai
 
Educational Technology at NSTDA
Educational Technology at NSTDAEducational Technology at NSTDA
Educational Technology at NSTDA
Boonlert Aroonpiboon
 
Android room award 2556
Android room award 2556Android room award 2556
Android room award 2556
Anekwong Yoddumnern
 
ICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framworkICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framworkBunsasi
 
Project present
Project presentProject present
Project present
Niyyin Chantani
 
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ ลูกไก่รุ่นที่สอง
 
การสร้าง Android Application จาก HTML5 ด้วย PhoneGap
การสร้าง Android Application จาก HTML5 ด้วย PhoneGapการสร้าง Android Application จาก HTML5 ด้วย PhoneGap
การสร้าง Android Application จาก HTML5 ด้วย PhoneGapDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Ppt เสนอโปรเจค2
Ppt เสนอโปรเจค2Ppt เสนอโปรเจค2
Ppt เสนอโปรเจค2
Lovely Pim
 
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Kanda Runapongsa Saikaew
 
เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5
เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5
เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5
Samart Phetdee
 
NSTDA Educational Technology : R&D
NSTDA Educational Technology : R&DNSTDA Educational Technology : R&D
NSTDA Educational Technology : R&D
Boonlert Aroonpiboon
 
แนะนำ HTML5 แบบอ่านจบต้องรู้บ้างแหละ
แนะนำ HTML5 แบบอ่านจบต้องรู้บ้างแหละแนะนำ HTML5 แบบอ่านจบต้องรู้บ้างแหละ
แนะนำ HTML5 แบบอ่านจบต้องรู้บ้างแหละ
Withoon Wangsa-Nguankit
 
Viviana veloza santamaria (1)
Viviana veloza santamaria (1)Viviana veloza santamaria (1)
Viviana veloza santamaria (1)
klaumilenitha
 

Viewers also liked (20)

นำเสนอครั้งที่ 1-60258
นำเสนอครั้งที่ 1-60258นำเสนอครั้งที่ 1-60258
นำเสนอครั้งที่ 1-60258
 
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูล ภูมิ...
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูลภูมิ...บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูลภูมิ...
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูล ภูมิ...
 
บทที่ 1 วิจัย
บทที่ 1 วิจัยบทที่ 1 วิจัย
บทที่ 1 วิจัย
 
Example of gis&rs applications
Example of gis&rs applicationsExample of gis&rs applications
Example of gis&rs applications
 
Interactive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctuInteractive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctu
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
Educational Technology at NSTDA
Educational Technology at NSTDAEducational Technology at NSTDA
Educational Technology at NSTDA
 
1109291212453896 12111614140548
1109291212453896 121116141405481109291212453896 12111614140548
1109291212453896 12111614140548
 
Android room award 2556
Android room award 2556Android room award 2556
Android room award 2556
 
ICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framworkICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framwork
 
Project present
Project presentProject present
Project present
 
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
 
การสร้าง Android Application จาก HTML5 ด้วย PhoneGap
การสร้าง Android Application จาก HTML5 ด้วย PhoneGapการสร้าง Android Application จาก HTML5 ด้วย PhoneGap
การสร้าง Android Application จาก HTML5 ด้วย PhoneGap
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
Ppt เสนอโปรเจค2
Ppt เสนอโปรเจค2Ppt เสนอโปรเจค2
Ppt เสนอโปรเจค2
 
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
 
เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5
เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5
เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5
 
NSTDA Educational Technology : R&D
NSTDA Educational Technology : R&DNSTDA Educational Technology : R&D
NSTDA Educational Technology : R&D
 
แนะนำ HTML5 แบบอ่านจบต้องรู้บ้างแหละ
แนะนำ HTML5 แบบอ่านจบต้องรู้บ้างแหละแนะนำ HTML5 แบบอ่านจบต้องรู้บ้างแหละ
แนะนำ HTML5 แบบอ่านจบต้องรู้บ้างแหละ
 
Viviana veloza santamaria (1)
Viviana veloza santamaria (1)Viviana veloza santamaria (1)
Viviana veloza santamaria (1)
 

Similar to พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา

ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2Warakon Phommanee
 
Technologies and education media 1
Technologies and education media 1Technologies and education media 1
Technologies and education media 1Cholthicha JaNg
 
บทที่+7
บทที่+7บทที่+7
บทที่+7paynarumon
 
ท พวรรณ
ท พวรรณท พวรรณ
ท พวรรณSchool
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้aumkpru45
 
Work1m34 34-47
Work1m34 34-47Work1m34 34-47
Work1m34 34-47
marootkwa
 
เทคโนโลยีสื่อประสม
เทคโนโลยีสื่อประสมเทคโนโลยีสื่อประสม
เทคโนโลยีสื่อประสมchavala
 
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
สมเกียรติ เพ็ชรมาก
 
งานดอกเตอร์
งานดอกเตอร์งานดอกเตอร์
งานดอกเตอร์tuphung
 
สื่อการสอน.Ppt
 สื่อการสอน.Ppt  สื่อการสอน.Ppt
สื่อการสอน.Ppt poonick
 
สื่อการสอน.Ppt
 สื่อการสอน.Ppt  สื่อการสอน.Ppt
สื่อการสอน.Ppt poonick
 
multimedai
multimedaimultimedai
multimedai
krunui1
 
test pppt
test pppttest pppt
test pppt
crcteacher2009
 

Similar to พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา (20)

ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
Technologies and education media 1
Technologies and education media 1Technologies and education media 1
Technologies and education media 1
 
บทที่+7
บทที่+7บทที่+7
บทที่+7
 
ท พวรรณ
ท พวรรณท พวรรณ
ท พวรรณ
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
Work1m34 34-47
Work1m34 34-47Work1m34 34-47
Work1m34 34-47
 
เทคโนโลยีสื่อประสม
เทคโนโลยีสื่อประสมเทคโนโลยีสื่อประสม
เทคโนโลยีสื่อประสม
 
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
 
งานดอกเตอร์
งานดอกเตอร์งานดอกเตอร์
งานดอกเตอร์
 
01
0101
01
 
สื่อการสอน.Ppt
 สื่อการสอน.Ppt  สื่อการสอน.Ppt
สื่อการสอน.Ppt
 
สื่อการสอน.Ppt
 สื่อการสอน.Ppt  สื่อการสอน.Ppt
สื่อการสอน.Ppt
 
multimedai
multimedaimultimedai
multimedai
 
test pppt
test pppttest pppt
test pppt
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 

พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา

  • 1. เทคโนโลยีการศึกษา กับอุปกรณ์และเครืองมือ ่ สื่อการศึกษา อาจารย์ดร.นาถวดี นันทา ภินัย
  • 2. นวัตกรรม นว = ใหม่ กรรม = การกระทำา การกระทำาใหม่ ๆ
  • 4. เส้นทางของนวัตกรรม ประดิษฐ์คิดค้น พัฒนา เป็นนวัตกรรมโดยสมบูรณ์
  • 5. นวัตกรรมทางการ ศึกษา(Innovation) เป็นแนวคิด การปฏิบัติ หรือ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ที่ยังไม่เคยมี ใช้มาก่อน หรือเป็นการพัฒนา ดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยู่แล้ว ให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น
  • 6. นวัตกรรมการศึกษา (Educational innovation) หมายถึงนวัตกรรมทีช่วยให้การศึกษา ่ การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น ทำาให้ผู้เรียนสามารถเกิดการ เรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วและมี ประสิทธิภาพสูงขึ้นกว่าเดิม เกิดแรง จูงใจในการเรียน และประหยัดเวลา ในการเรียนด้วยนวัตกรรม
  • 7. เทคโนโลยีและนวัตกรรม นวัตกรรมทางการศึกษา นำามาใช้และเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง เทคโนโลยีการศึกษา
  • 8. ความหมายของเทคโนโลยี เทคโนโลยีเป็นการนำาแนวคิด หลัก การ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี กระบวนการ ตลอดจนผลผลิตทาง วิทยาศาสตร์ทงในด้านสิ่งประดิษฐ์ ั้ และวิธีการปฏิบติมาประยุกต์ใช้เพือ ั ่ ขยายขีดความสามารถของมนุษย์ ช่วยให้การทำางานดีขึ้น และเพือเพิม ่ ่ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของ
  • 9. เทคโนโลยีกบอุปกรณ์เครื่องมือสื่อ ั การศึกษา ประสาทสัมผัสทัง 5้ ตาเป็นประสาทสัมผัสทีใช้ในการรับ ่ รู้มากทีสุด ่ รองลงมาคือหู ดังนัน การใช้สื่อโสตทัศน์ (Audio- ้ Visual) ในการสอนจึงนับเป็นสิง ่ สำาคัญยิ่งเพือช่วยผู้สอนในการ ่ ถ่ายทอดเนือหา ความรู้แก่ผู้เรียน เพื่อ ้
  • 10. ความสำาคัญของเครื่องมืออุปกรณ์สื่อ การศึกษา 1. เกิดการรับรู้หลายช่องทาง การ ฟัง+การดู 2. เพิมความเชื่อมโยงในความรู้ ่ ความเข้าใจในเนื้อหา 3. ผู้เรียนปรับการรับรู้ของตนให้ เหมาะสมกับรูปแบบการเรียนรู้ของ ตนเองได้
  • 11. พัฒนาการของสื่ออุปกรณ์ ช่วงแรกของศตวรรษที่ 20 ใช้เทคโนโลยีเสียง และภาพด้วยวัสดุอุปกรณ์ในลักษณะสื่อธรรมดา และสืออิเล็กทรอนิกส์ เรียกว่าสื่อแบบดั้งเดิม ่ (traditional media)หรือสื่อพื้นฐาน อาทิ  แผ่นเสียงเครื่องเล่นแผ่นเสียง  เทปเสียงเครื่องเล่นเทป  ฟิล์มเครื่องฉายภาพยนตร์  ภาพถ่าย  แผนที่  ของจำาลอง
  • 12. พัฒนาการของสื่ออุปกรณ์ ช่วงหลังของศตวรรษที่ 20 ราวพ.ศ. 2520 เป็นต้นมามีการนำาเทคโนโลยี ดิจิทลลมาใช้ในการผลิตสือ เรียกว่า ั ่ สือดิจิทล อาทิ ่ ั  ใช้ Powerpoint แทนแผ่นโปร่งใส ฉายบนเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ  ใช้แผ่นวีซีดหรือดีวีดี แทนภาพยนตร์ ี ทีใช้ฟิลม หรือวีดิทศน์ ่ ์ ั  ใช้ซีดแทนเทปคาสเซ็ต เป็นต้น ี
  • 14. สือพืนฐาน ่ ้ เป็นสื่อรูปแบบเก่าที่ใช้กันมาตั้งแต่ดั้งเดิม ได้แก่  สิงพิมพ์ต่างๆ เช่น บัตรคำา โปสเตอร์ ่  ของจริง  ของจำาลอง  กระดานต่างๆ เช่น กระดานชอล์ก กระดานผ้า สำาลี กระดานนิเทศ  แผนภูมิ กราฟ  การสาธิต สือเหล่านีผลิตได้ด้วยตนเอง ถ่ายทอดเนื้อหา ่ ้ ด้วยตัวสื่อเอง
  • 15. สือแอนะล็อก ่ เป็นสื่ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทใช้ใน ี่ การถ่ายทอดเนื้อหาจากวัสดุให้เห็น เป็นภาพขนาดใหญ่บนจอภาพหรือ ถ่ายทอดเสียงจากวัสดุบันทึก เช่น  เครื่องฉาย  เครื่องเสียง  เครื่องแปลง/ถ่ายทอดสัญญาณ อาทิ กล้องโทรทัศน์ เครื่องเล่นวีดิทศน์ ั
  • 16. สื่อดิจิทล ั เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการถ่ายทอด เนื้อหาและแปลงสัญญาณเช่นเดียวกับสือแอนะ ่ ล็อก แต่เป็นสื่อที่ใช้เทคโนโลยีระดับสูงโดยการ ใช้ระบบดิจิทัล ซึ่งจะมีการทำางานด้วยการ “ปิด” หรือ “เปิด” ทำาให้ข้อมูลมีความเที่ยงตรงและ สามารถบีบอัดข้อมูลได้ ได้แก่  เครื่องแปลง/ถ่ายทอดสัญญาณ อาทิ กล้องดิจิทัล เครื่องเล่นวีซีดี ดีวีดี เครื่องวีดีโอโปรเจ็คเตอร์ 