SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
เศรษฐศาสตรคืออะไร

         เศรษฐศาสตรเปนวิชาการแขนงหนึ่งของสังคมศาสตร ไดกอตัวและมีพัฒนาการตอเนื่อง
จนมีสถานภาพเปน “ศาสตร” นับตั้งแตมีการตีพิมพตาราทางเศรษฐศาสตรเลมแรกของโลก ซึ่งมี
                                                          ํ
ชือคอนขางยาววา An Inquiry into the Nature and Causes of the Wealth of the Nation เมื่อ
   ่
ค.ศ.1776 ผูเขียนเปนชาวอังกฤษ ชื่อ อดัม สมิธ (Adam Smith) ซึงไดรับยกยองวาเปนบิดาแหง
                                                                     ่
วิชาเศรษฐศาสตรระดับสากล และนับจากนั้นเปนตนมา การศึกษาทางเศรษฐศาสตร ก็ไดขยายตัว
และครอบคลุมเนื้อหาอยางกวางขวางมากขึ้นเรื่อย ๆ
         คํานิยามอยางสั้นที่สุดที่จะแนะนําใหรูจักกับ เศรษฐศาสตร มีดังนี้
         เศรษฐศาสตร คือ ศาสตรที่ศึกษาเกี่ยวกับการเลือกหนทางในการใชทรัพยากรการผลิต
อันมีอยูจากัด สําหรับการผลิตสินคาและบริการเพื่อใหเกิดประโยชนสงสุด
        ํ                                                             ู
         จากคําอธิบายขางตน มีคําสําคัญที่ควรอธิบายขยายความอยู 4 คํา คือ
                   (1) การเลือก
                   (2) ทรัพยากรการผลิต
                   (3) การมีอยูจํากัด
                   (4) สินคาและบริการ
         เหตุที่ตองมี “การเลือก” (choice) เพราะทรัพยากรตาง ๆ สามารถนําไปใชประโยชนได
หลายทาง ขณะเดียวกัน ความไมสมดุลระหวางความตองการที่ไมมีขีดจํ ากัดของมนุษยกับ
ทรัพยากรการผลิตที่มีอยูจํากัด ทําใหความตองการบางสวนไมสามารถจะบรรลุผลได เราจึงตอง
เลือกหนทางในการใชทรัพยากรอันมีจํากัดไปในทางที่จะกอใหเกิดประโยชนสูงสุด หรือใหความพอ
ใจมากที่สุด การเลือกดังกลาวนี้เปนพฤติกรรมเชิงเศรษฐกิจขั้นพื้นฐานที่ตองเผชิญอยูทุกเมื่อ
เชือวัน นับตั้งแตระดับบุคคล กลุมบุคคล ไปจนถึงระดับประเทศชาติ ในระดับบุคคลหรือกลุม
     ่
บุคคล รายไดที่มีจํากัดทําใหไมสามารถใชจายไดตามใจชอบ เมื่อมีสินคาที่อยากไดพรอมกันหลาย
อยาง บุคคลจึงตองตัดสินใจเลือกซื้อเฉพาะสินคาที่จะใหประโยชนสูงสุด ในระดับประเทศชาติ จํา
เปนตองตัดสินใจเลือกใชทรัพยากรที่มีจํ ากัดไปในทางที่จะทํ าใหประชาชนโดยสวนรวมไดรับ
ประโยชนสูงสุดเชนกัน
         ดังนัน “การเลือก” จึงเปน “เงา” ของเศรษฐศาสตร สิ่งใดที่มีประเด็นเกี่ยวกับการเลือกใช
              ้
ซึ่งทรัพยากรการผลิต สิ่งนั้นยอมเกี่ยวของกับเศรษฐศาสตร โดยนัยตรงขาม หากมีประกาสิต
กําหนดการใชทรัพยากรไวตายตัว เศรษฐศาสตรก็จะไมมีบทบาทในเรื่องนั้น
คําวา “ทรัพยากรการผลิต” (productive resources) หมายถึง ทรัพยากรที่นํามาผลิต
สินคาและบริการ เรียกอีกชื่อหนึ่งวา ปจจัยการผลิต (factors of production) แบงเปน 4 ประเภท
คือ ที่ดิน (land) แรงงาน (labor) ทุน (capital) และผูประกอบการ (entrepreneur)
          ก. ที่ดิน ไดแกทดนรวมทั้งทรัพยากรธรรมชาติตาง ๆ เชน ปาไม แรธาตุ สัตวนํ้า ความ
                           ี่ ิ
อุดมสมบูรณของที่ดิน ปริมาณนํ้าฝนและสิ่งแวดลอมตามธรรมชาติตาง ๆ เปนตน สิ่งเหลานี้มีอยู
                                                                       
ตามธรรมชาติ มนุษยสรางขึ้นไมได แตสามารถปรับปรุงคุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติไดบาง              
เชน ปรับปรุงที่ดินใหอุดมสมบูรณขึ้น เปนตน ผลตอบแทนจากการใชที่ดินเรียกวา คาเชา (rent)
          ข. แรงงาน เปนทรัพยากรมนุษย (human resource) ไดแก สติปญญา ความรู ความ
คิด แรงกายและแรงใจที่มนุษยทุมเทใหแกการผลิตสินคาและบริการ โดยทั่วไปมีการแบงแรงงาน
เปน 3 ประเภท คือ แรงงานฝมือ เชน นักวิทยาศาสตร นักวิชาการ วิศวกร และแพทย เปนตน แรง
งานกึงฝมอ เชน ชางไม ชางเทคนิค พนักงานเสมียน คนคุมเครื่องจักรในโรงงาน เปนตน และแรง
       ่ ื
งานไรฝมอ เชน กรรมกรแบกหาม นักการภารโรง คนยาม เปนตน ผลตอบแทนของแรงงานเรียก
          ื
วา คาจางและเงินเดือน (wage and salary) อนึง แรงงานสัตวไมถือเปนปจจัยผลิตประเภทแรง
                                                    ่
งาน แตอนุโลมถือเปนทุน
          ค. ทุน คือเครืองจักรเครื่องมือที่มนุษยสรางขึ้นเพื่อใชรวมกับปจจัยการผลิตอื่น ๆ ในการ
                         ่
ผลิตสินคาและบริการ ทุนหรือสินคาทุน หรือสินทรัพยประเภททุน (capital goods) แบงเปน 2
ประเภท คือ สิ่งกอสราง (construction) และเครื่องจักรอุปกรณการผลิต (equipment)
          การลงทุน (investment) หมายถึงการใชจายในการจัดหาเพิ่มพูนสินคาทุน โดยมีวัตถุ
ประสงคเพือเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตสินคาและบริการทั้งในปจจุบันและอนาคต
             ่
          สวนเงินทุน (money capital) นัน นักเศรษฐศาสตรถือวาเปนเพียงสื่อกลางที่นํามาซึ่งสิน
                                          ้
ทรัพยประเภททุน สินทรัพยประเภททุนยอมสะทอนความเปนจริงทางเศรษฐกิจยิ่งกวาจํานวนเงิน
ทุน เงินทุนจํานวนเดียวกันใชจัดหาสินคาทุนไดมากหรือนอยขึ้นอยูกับหลายปจจัย ดังนั้น สินคา
ทุนจึงมีความสําคัญในเชิงเศรษฐกิจมากกวาเงินทุน อนึ่ง เนื่องจากการวัดผลตอบแทนจากปจจัย
ทุนโดยตรงมีความยุงยาก เราจึงอนุโลมใหใชผลตอบแทนของเงินทุน อันไดแกอัตราดอกเบี้ย
(interest) เปนผลตอบแทนของปจจัยทุนดวย
          ง. ผูประกอบการ (entrepreneur) คือ ผูทาหนาที่รวบรวมปจจัยการผลิต 3 ประเภทที่
                                                       ํ
กลาวมาขางตน เพื่อทําการผลิตสินคาและบริการ คาตอบแทนของผูประกอบการเรียกวากําไร
(profit) ในบรรดาปจจัยการผลิตทั้ง 4 ประเภท ผูประกอบการนับเปนปจจัยการผลิตที่มีความ
สําคัญมากที่สุด แมวาจะมีปจจัยการผลิต 3 ประเภทแรกมากมายก็ตาม การผลิตจะไมอาจเกิด
ขึนหากขาดผูประกอบการ
  ้
ในทางเศรษฐศาสตรตนทุนการผลิต คือ ผลรวมคาตอบแทนปจจัยการผลิตทั้งหมด
             คําวา “การมีอยูจํากัด” (scarcity) ใหคาจํากัดความได 2 แบบ (1) คําจํากัดความเชิง
                                                     ํ
สัมบูรณ (absolute definition) คือพิจารณาจากทรัพยากรการผลิตทั้งหมดที่มีอยู ซึ่งอาจมองได
หลายระดับ หากมองในระดับโลก ทรัพยากรการผลิตทุกอยางในโลกลวนมีอยูอยางจํากัด ไมวา
จะเปนกําลังแรงงาน ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และเครื่องจักรตาง ๆ ทรัพยากรเหลานี้ทั่วทั้งโลกมี
อยูเ ทาไรก็เทานัน เพิ่มอีกไมได หากประเทศใดมีเพิ่มขึ้น โดยมากก็เปนเพียงการเคลื่อนยายมา
                     ้
จากประเทศอืน ตัวอยางเชน การเคลื่อนยายแรงงานขามประเทศ หรือการเคลื่อนยายปจจัยการ
                   ่
ผลิตอืน ๆ ไปทําการผลิตรวมกับที่ดินของประเทศอื่น โดยการเชาหรือซื้อที่ดินในตางประเทศทํา
         ่
การผลิต หากมองในระดับประเทศ การมีอยูจํากัดปรากฏขึ้นเมื่อบุคคลหนึ่งครอบครอง
ทรัพยากรการผลิตมากขึ้น ก็จะมีทรัพยากรการผลิตเหลือนอยลงสําหรับคนอื่น ๆ ในสังคม (2) คํา
จํากัดความเชิงสัมพัทธ (relative definition) เปนการพิจารณาอุปทานของทรัพยากรการผลิตเมื่อ
เทียบกับอุปสงคหรือความตองการทางวัตถุอันไมจํากัด ฉะนัน ไมวาจะมีทรัพยากรการผลิต
                                                                     ้
มากเทาใดก็ตาม เมื่อนําทรัพยากรเหลานี้ไปใชในการผลิตสินคาและบริการ ก็ยังไมสามารถสนอง
ความตองการอันไมจํากัดของมนุษยได
             ความจํากัดนี้เปนปรากฏการณที่เกิดขึ้นในทุกระดับสังคมและเกิดขึ้นอยูตลอดเวลา และ
ในอนาคตการมีอยูจํ ากัดคงจะปรากฎชัดเจนยิ่งขึ้นเมื่อทรัพยากรสวนหนึ่งถูกใชหมดไป สวนที่
เหลือมีนอยลง อยางไรก็ตาม ปรากฏการณนี้จะไมเกิดขึ้น หากมีการคนพบวิทยาการใหม ๆ ใน
             
ผลิตทีสามารถประหยัดทรัพยากรหรือสรางทรัพยากรใหมทดแทนทรัพยากรเดิมที่หมดไป
           ่
             ไดกลาวพาดพิงในขอความขางตนวา “ความตองการทางวัตถุอันไมจํากัด” (unlimited
wants in materials) ในทางศาสนาพุทธมีคาเรียกมนุษยวา “ปุถุชน” ซึ่งหมายถึงคนที่มีความโลภ
                                                 ํ
โกรธ หลง คําวา “โลภ” นี้อาจอนุโลมใหมีความหมายใกลเคียงกับคําวา “มีความตองการไมจํากัด”
กลาวคือ เมือไดมาอยางหนึ่งก็อยากไดอยางอื่น เปนเชนนี้ตอไปเรื่อย ๆ ไมมีที่สิ้นสุด หากไปถาม
                 ่
คนยากจนวาในชีวิตปรารถนาอะไร คําตอบมักจะเปนวาขอใหมีอาหารรับประทานครบ 3 มื้อ หรือ
มีปจจัย 4 ครบถวน หากถามคําถามเดียวกันกับผูมีรายไดปานกลาง คําตอบมักเปนวานอกจากมี
     
ปจจัย 4 ครบถวนแลวยังตองมีคุณภาพที่ดี เชน อาหารตองอรอยถูกปาก เสื้อผาตองตามสมัย
นิยม ในบานขอมีเครืองปรับอากาศ มีตูเย็น โทรทัศนสี เปนตน และหากถามมหาเศรษฐีวา
                           ่
ปรารถนาอะไรในชีวิต คําตอบก็คงจะเปนวาอยากอยูในตําแหนงคนรวยที่สุด หรืออยากมีชื่อเสียง
เกียรติยศโดงดังนอกเหนือจากวัตถุสมบัตที่มีมากมายอยูแลว กลาวโดยสรุป สําหรับมนุษยปถุชน
                                              ิ                                              ุ
มักจะไมมีคําตอบวาพอแลว หยุดแลว ไมปรารถนาอะไรทั้งสิ้นแลว
             คําวา “สินคาและบริการ” (goods and services) คือสิงทีไดจากการทํางานรวมกันของ
                                                                    ่ ่
ปจจัยการผลิตตาง ๆ เปนสิ่งที่มีอรรถประโยชน (utility) มากกวาศูนย แบงเปน 2 ประเภท (1) สิน
คาและบริการขั้นกลาง (intermediate goods and services) เปนสินคาที่มีการซื้อขายเพื่อนําไป
ใชเปนปจจัยการผลิต เชน อาหารสัตว วัสดุกอสราง รถบรรทุกสิบลอ เปนตน และ (2) สินคา
และบริการขั้นสุดทาย (final goods and services) เปนสินคาที่มีการซื้อขายเพื่อนําไปใชอุปโภค
และบริโภค ตัวอยางเชน ผลิตภัณฑเหล็ก โรงงานถลุงเหล็กนําสินแรเหล็กมาถลุงและทําเปนแทง
เหล็ก จากนันรีดเปนแผนเหล็ก ใชแผนเหล็กขึ้นรูปเปนตัวถังรถ โรงงานประกอบรถยนตใสชิ้น
                 ้
สวนตาง ๆ เขากับตัวถังรถ สําเร็จออกมาเปนรถยนต จะเห็นวาแทงเหล็ก แผนเหล็ก โครงตัวถังรถ
เปนสินคาขันกลาง สวนรถยนตอาจถือเปนสินคาขั้นกลางถาหนวยผลิตซื้อไปใชงาน และถือเปน
             ้
สินคาขันสุดทายถาครัวเรือนซื้อไปใช จะเห็นไดวาสินคาหรือบริการอยางเดียวกันอาจเปนไดทั้งสิน
         ้
คาขั้นกลางและสินคาขั้นสุดทาย ทั้งนี้พิจารณาจากวัตถุประสงคในการนําไปใชประโยชนเปน
สําคัญ
           ในการศึกษาเศรษฐศาสตร ไดแบงสินคาออกเปน 2 ประเภท ไดแก เศรษฐทรัพย
(economic goods) และสินคาไรราคา (free goods) เศรษฐศาสตรศึกษาเฉพาะสินคาที่เปน
เศรษฐทรัพยเทานั้น
           ก. เศรษฐทรัพย คือสินคาที่มีตนทุน ดังนั้นจึงมีราคามากกวาศูนย โดยปกติ
ผูบริโภคจะเปนผูจายคาสินคาโดยตรง แตในบางกรณี ผูบริโภคกับผูจายคาสินคาอาจจะเปน
คนละคน ซึงไดแก เศรษฐทรัพยที่ไดจาการบริจาค หรือจากการใหโดยเสนหา หรือจากบริการสวัส
               ่
ดิการของรัฐ ซึ่งเปนเศรษฐทรัพยทไดเปลา จึงเรียกอีกชื่อหนึ่งวา “สินคาใหเปลา” (ซึ่งไมใชสินคาไร
                                   ี่
ราคา)
        ข. สินคาไรราคา หมายถึงสินคาและบริการที่ไมมีตนทุน จึงไมมีราคาที่ตองจาย ตัวอยาง
ของสินคาไรราคา ไดแก สายลม แสงแดด นํ้าฝน อากาศในบรรยากาศ นํ้าทะเล และนํ้าในแมนํ้า
ลําคลอง
------------
พิมพครั้งแรกใน เศรษฐสาร ปที่ 4 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน 2531

More Related Content

What's hot

ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์Preecha Napao
 
หลักเศรษฐศาสตร์๑
หลักเศรษฐศาสตร์๑หลักเศรษฐศาสตร์๑
หลักเศรษฐศาสตร์๑mrsuwijak
 
Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.MR.Praphit Faakham
 
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นPaew Tongpanya
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copyKunlaya Kamwut
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นKunlaya Kamwut
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai versionEconomic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai versionwarawut ruankham
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นPaew Tongpanya
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจPannatut Pakphichai
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3พัน พัน
 

What's hot (15)

ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
สรุปสาระที่ 3. เศรษฐศาสตร์
สรุปสาระที่  3. เศรษฐศาสตร์สรุปสาระที่  3. เศรษฐศาสตร์
สรุปสาระที่ 3. เศรษฐศาสตร์
 
หลักเศรษฐศาสตร์๑
หลักเศรษฐศาสตร์๑หลักเศรษฐศาสตร์๑
หลักเศรษฐศาสตร์๑
 
Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.
 
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai versionEconomic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
Industry 2020
Industry 2020 Industry 2020
Industry 2020
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3
 

Similar to ใบความรู้เศรษฐศาสตร์

กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเราfreelance
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเราfreelance
 
การทำวิทยานิพนธ์อย่างสร้างสรรค์
การทำวิทยานิพนธ์อย่างสร้างสรรค์การทำวิทยานิพนธ์อย่างสร้างสรรค์
การทำวิทยานิพนธ์อย่างสร้างสรรค์guestabb00
 
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศPa'rig Prig
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1praphol
 
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทุนวัฒนธรรม และโอกาสทางธุรกิจ Creative Economy, Cultural C...
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทุนวัฒนธรรม และโอกาสทางธุรกิจCreative Economy, Cultural C...เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทุนวัฒนธรรม และโอกาสทางธุรกิจCreative Economy, Cultural C...
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทุนวัฒนธรรม และโอกาสทางธุรกิจ Creative Economy, Cultural C...AthiyutPanmanee
 
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ Sutasinee Phu-on
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตTor Jt
 
Conservation of natural resources
Conservation of natural resourcesConservation of natural resources
Conservation of natural resourcesPakarattaWongsri
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)FURD_RSU
 
เศรษฐศาสตร์บทที่ 2
เศรษฐศาสตร์บทที่ 2เศรษฐศาสตร์บทที่ 2
เศรษฐศาสตร์บทที่ 2songyangwtps
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53Link Standalone
 
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSarinee Achavanuntakul
 

Similar to ใบความรู้เศรษฐศาสตร์ (20)

Green Economy: Concepts and Updates
Green Economy: Concepts and UpdatesGreen Economy: Concepts and Updates
Green Economy: Concepts and Updates
 
สรุปสาระที่ 3. เศรษฐศาสตร์
สรุปสาระที่  3. เศรษฐศาสตร์สรุปสาระที่  3. เศรษฐศาสตร์
สรุปสาระที่ 3. เศรษฐศาสตร์
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
 
การทำวิทยานิพนธ์อย่างสร้างสรรค์
การทำวิทยานิพนธ์อย่างสร้างสรรค์การทำวิทยานิพนธ์อย่างสร้างสรรค์
การทำวิทยานิพนธ์อย่างสร้างสรรค์
 
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
Is Capitalism Hostile to the Poor?
Is Capitalism Hostile to the Poor?Is Capitalism Hostile to the Poor?
Is Capitalism Hostile to the Poor?
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทุนวัฒนธรรม และโอกาสทางธุรกิจ Creative Economy, Cultural C...
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทุนวัฒนธรรม และโอกาสทางธุรกิจCreative Economy, Cultural C...เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทุนวัฒนธรรม และโอกาสทางธุรกิจCreative Economy, Cultural C...
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทุนวัฒนธรรม และโอกาสทางธุรกิจ Creative Economy, Cultural C...
 
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
 
Energy Plus_Oct - Dec 2013
Energy Plus_Oct - Dec 2013Energy Plus_Oct - Dec 2013
Energy Plus_Oct - Dec 2013
 
Conservation of natural resources
Conservation of natural resourcesConservation of natural resources
Conservation of natural resources
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
 
เศรษฐศาสตร์บทที่ 2
เศรษฐศาสตร์บทที่ 2เศรษฐศาสตร์บทที่ 2
เศรษฐศาสตร์บทที่ 2
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
 
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
 
ิีbs
ิีbsิีbs
ิีbs
 
Online Collaboration
Online CollaborationOnline Collaboration
Online Collaboration
 

ใบความรู้เศรษฐศาสตร์

  • 1. เศรษฐศาสตรคืออะไร เศรษฐศาสตรเปนวิชาการแขนงหนึ่งของสังคมศาสตร ไดกอตัวและมีพัฒนาการตอเนื่อง จนมีสถานภาพเปน “ศาสตร” นับตั้งแตมีการตีพิมพตาราทางเศรษฐศาสตรเลมแรกของโลก ซึ่งมี ํ ชือคอนขางยาววา An Inquiry into the Nature and Causes of the Wealth of the Nation เมื่อ ่ ค.ศ.1776 ผูเขียนเปนชาวอังกฤษ ชื่อ อดัม สมิธ (Adam Smith) ซึงไดรับยกยองวาเปนบิดาแหง ่ วิชาเศรษฐศาสตรระดับสากล และนับจากนั้นเปนตนมา การศึกษาทางเศรษฐศาสตร ก็ไดขยายตัว และครอบคลุมเนื้อหาอยางกวางขวางมากขึ้นเรื่อย ๆ คํานิยามอยางสั้นที่สุดที่จะแนะนําใหรูจักกับ เศรษฐศาสตร มีดังนี้ เศรษฐศาสตร คือ ศาสตรที่ศึกษาเกี่ยวกับการเลือกหนทางในการใชทรัพยากรการผลิต อันมีอยูจากัด สําหรับการผลิตสินคาและบริการเพื่อใหเกิดประโยชนสงสุด ํ ู จากคําอธิบายขางตน มีคําสําคัญที่ควรอธิบายขยายความอยู 4 คํา คือ (1) การเลือก (2) ทรัพยากรการผลิต (3) การมีอยูจํากัด (4) สินคาและบริการ เหตุที่ตองมี “การเลือก” (choice) เพราะทรัพยากรตาง ๆ สามารถนําไปใชประโยชนได หลายทาง ขณะเดียวกัน ความไมสมดุลระหวางความตองการที่ไมมีขีดจํ ากัดของมนุษยกับ ทรัพยากรการผลิตที่มีอยูจํากัด ทําใหความตองการบางสวนไมสามารถจะบรรลุผลได เราจึงตอง เลือกหนทางในการใชทรัพยากรอันมีจํากัดไปในทางที่จะกอใหเกิดประโยชนสูงสุด หรือใหความพอ ใจมากที่สุด การเลือกดังกลาวนี้เปนพฤติกรรมเชิงเศรษฐกิจขั้นพื้นฐานที่ตองเผชิญอยูทุกเมื่อ เชือวัน นับตั้งแตระดับบุคคล กลุมบุคคล ไปจนถึงระดับประเทศชาติ ในระดับบุคคลหรือกลุม ่ บุคคล รายไดที่มีจํากัดทําใหไมสามารถใชจายไดตามใจชอบ เมื่อมีสินคาที่อยากไดพรอมกันหลาย อยาง บุคคลจึงตองตัดสินใจเลือกซื้อเฉพาะสินคาที่จะใหประโยชนสูงสุด ในระดับประเทศชาติ จํา เปนตองตัดสินใจเลือกใชทรัพยากรที่มีจํ ากัดไปในทางที่จะทํ าใหประชาชนโดยสวนรวมไดรับ ประโยชนสูงสุดเชนกัน ดังนัน “การเลือก” จึงเปน “เงา” ของเศรษฐศาสตร สิ่งใดที่มีประเด็นเกี่ยวกับการเลือกใช ้ ซึ่งทรัพยากรการผลิต สิ่งนั้นยอมเกี่ยวของกับเศรษฐศาสตร โดยนัยตรงขาม หากมีประกาสิต กําหนดการใชทรัพยากรไวตายตัว เศรษฐศาสตรก็จะไมมีบทบาทในเรื่องนั้น
  • 2. คําวา “ทรัพยากรการผลิต” (productive resources) หมายถึง ทรัพยากรที่นํามาผลิต สินคาและบริการ เรียกอีกชื่อหนึ่งวา ปจจัยการผลิต (factors of production) แบงเปน 4 ประเภท คือ ที่ดิน (land) แรงงาน (labor) ทุน (capital) และผูประกอบการ (entrepreneur) ก. ที่ดิน ไดแกทดนรวมทั้งทรัพยากรธรรมชาติตาง ๆ เชน ปาไม แรธาตุ สัตวนํ้า ความ ี่ ิ อุดมสมบูรณของที่ดิน ปริมาณนํ้าฝนและสิ่งแวดลอมตามธรรมชาติตาง ๆ เปนตน สิ่งเหลานี้มีอยู  ตามธรรมชาติ มนุษยสรางขึ้นไมได แตสามารถปรับปรุงคุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติไดบาง  เชน ปรับปรุงที่ดินใหอุดมสมบูรณขึ้น เปนตน ผลตอบแทนจากการใชที่ดินเรียกวา คาเชา (rent) ข. แรงงาน เปนทรัพยากรมนุษย (human resource) ไดแก สติปญญา ความรู ความ คิด แรงกายและแรงใจที่มนุษยทุมเทใหแกการผลิตสินคาและบริการ โดยทั่วไปมีการแบงแรงงาน เปน 3 ประเภท คือ แรงงานฝมือ เชน นักวิทยาศาสตร นักวิชาการ วิศวกร และแพทย เปนตน แรง งานกึงฝมอ เชน ชางไม ชางเทคนิค พนักงานเสมียน คนคุมเครื่องจักรในโรงงาน เปนตน และแรง ่ ื งานไรฝมอ เชน กรรมกรแบกหาม นักการภารโรง คนยาม เปนตน ผลตอบแทนของแรงงานเรียก  ื วา คาจางและเงินเดือน (wage and salary) อนึง แรงงานสัตวไมถือเปนปจจัยผลิตประเภทแรง ่ งาน แตอนุโลมถือเปนทุน ค. ทุน คือเครืองจักรเครื่องมือที่มนุษยสรางขึ้นเพื่อใชรวมกับปจจัยการผลิตอื่น ๆ ในการ ่ ผลิตสินคาและบริการ ทุนหรือสินคาทุน หรือสินทรัพยประเภททุน (capital goods) แบงเปน 2 ประเภท คือ สิ่งกอสราง (construction) และเครื่องจักรอุปกรณการผลิต (equipment) การลงทุน (investment) หมายถึงการใชจายในการจัดหาเพิ่มพูนสินคาทุน โดยมีวัตถุ ประสงคเพือเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตสินคาและบริการทั้งในปจจุบันและอนาคต ่ สวนเงินทุน (money capital) นัน นักเศรษฐศาสตรถือวาเปนเพียงสื่อกลางที่นํามาซึ่งสิน ้ ทรัพยประเภททุน สินทรัพยประเภททุนยอมสะทอนความเปนจริงทางเศรษฐกิจยิ่งกวาจํานวนเงิน ทุน เงินทุนจํานวนเดียวกันใชจัดหาสินคาทุนไดมากหรือนอยขึ้นอยูกับหลายปจจัย ดังนั้น สินคา ทุนจึงมีความสําคัญในเชิงเศรษฐกิจมากกวาเงินทุน อนึ่ง เนื่องจากการวัดผลตอบแทนจากปจจัย ทุนโดยตรงมีความยุงยาก เราจึงอนุโลมใหใชผลตอบแทนของเงินทุน อันไดแกอัตราดอกเบี้ย (interest) เปนผลตอบแทนของปจจัยทุนดวย ง. ผูประกอบการ (entrepreneur) คือ ผูทาหนาที่รวบรวมปจจัยการผลิต 3 ประเภทที่  ํ กลาวมาขางตน เพื่อทําการผลิตสินคาและบริการ คาตอบแทนของผูประกอบการเรียกวากําไร (profit) ในบรรดาปจจัยการผลิตทั้ง 4 ประเภท ผูประกอบการนับเปนปจจัยการผลิตที่มีความ สําคัญมากที่สุด แมวาจะมีปจจัยการผลิต 3 ประเภทแรกมากมายก็ตาม การผลิตจะไมอาจเกิด ขึนหากขาดผูประกอบการ ้
  • 3. ในทางเศรษฐศาสตรตนทุนการผลิต คือ ผลรวมคาตอบแทนปจจัยการผลิตทั้งหมด คําวา “การมีอยูจํากัด” (scarcity) ใหคาจํากัดความได 2 แบบ (1) คําจํากัดความเชิง ํ สัมบูรณ (absolute definition) คือพิจารณาจากทรัพยากรการผลิตทั้งหมดที่มีอยู ซึ่งอาจมองได หลายระดับ หากมองในระดับโลก ทรัพยากรการผลิตทุกอยางในโลกลวนมีอยูอยางจํากัด ไมวา จะเปนกําลังแรงงาน ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และเครื่องจักรตาง ๆ ทรัพยากรเหลานี้ทั่วทั้งโลกมี อยูเ ทาไรก็เทานัน เพิ่มอีกไมได หากประเทศใดมีเพิ่มขึ้น โดยมากก็เปนเพียงการเคลื่อนยายมา ้ จากประเทศอืน ตัวอยางเชน การเคลื่อนยายแรงงานขามประเทศ หรือการเคลื่อนยายปจจัยการ ่ ผลิตอืน ๆ ไปทําการผลิตรวมกับที่ดินของประเทศอื่น โดยการเชาหรือซื้อที่ดินในตางประเทศทํา ่ การผลิต หากมองในระดับประเทศ การมีอยูจํากัดปรากฏขึ้นเมื่อบุคคลหนึ่งครอบครอง ทรัพยากรการผลิตมากขึ้น ก็จะมีทรัพยากรการผลิตเหลือนอยลงสําหรับคนอื่น ๆ ในสังคม (2) คํา จํากัดความเชิงสัมพัทธ (relative definition) เปนการพิจารณาอุปทานของทรัพยากรการผลิตเมื่อ เทียบกับอุปสงคหรือความตองการทางวัตถุอันไมจํากัด ฉะนัน ไมวาจะมีทรัพยากรการผลิต ้ มากเทาใดก็ตาม เมื่อนําทรัพยากรเหลานี้ไปใชในการผลิตสินคาและบริการ ก็ยังไมสามารถสนอง ความตองการอันไมจํากัดของมนุษยได ความจํากัดนี้เปนปรากฏการณที่เกิดขึ้นในทุกระดับสังคมและเกิดขึ้นอยูตลอดเวลา และ ในอนาคตการมีอยูจํ ากัดคงจะปรากฎชัดเจนยิ่งขึ้นเมื่อทรัพยากรสวนหนึ่งถูกใชหมดไป สวนที่ เหลือมีนอยลง อยางไรก็ตาม ปรากฏการณนี้จะไมเกิดขึ้น หากมีการคนพบวิทยาการใหม ๆ ใน  ผลิตทีสามารถประหยัดทรัพยากรหรือสรางทรัพยากรใหมทดแทนทรัพยากรเดิมที่หมดไป ่ ไดกลาวพาดพิงในขอความขางตนวา “ความตองการทางวัตถุอันไมจํากัด” (unlimited wants in materials) ในทางศาสนาพุทธมีคาเรียกมนุษยวา “ปุถุชน” ซึ่งหมายถึงคนที่มีความโลภ ํ โกรธ หลง คําวา “โลภ” นี้อาจอนุโลมใหมีความหมายใกลเคียงกับคําวา “มีความตองการไมจํากัด” กลาวคือ เมือไดมาอยางหนึ่งก็อยากไดอยางอื่น เปนเชนนี้ตอไปเรื่อย ๆ ไมมีที่สิ้นสุด หากไปถาม ่ คนยากจนวาในชีวิตปรารถนาอะไร คําตอบมักจะเปนวาขอใหมีอาหารรับประทานครบ 3 มื้อ หรือ มีปจจัย 4 ครบถวน หากถามคําถามเดียวกันกับผูมีรายไดปานกลาง คําตอบมักเปนวานอกจากมี  ปจจัย 4 ครบถวนแลวยังตองมีคุณภาพที่ดี เชน อาหารตองอรอยถูกปาก เสื้อผาตองตามสมัย นิยม ในบานขอมีเครืองปรับอากาศ มีตูเย็น โทรทัศนสี เปนตน และหากถามมหาเศรษฐีวา ่ ปรารถนาอะไรในชีวิต คําตอบก็คงจะเปนวาอยากอยูในตําแหนงคนรวยที่สุด หรืออยากมีชื่อเสียง เกียรติยศโดงดังนอกเหนือจากวัตถุสมบัตที่มีมากมายอยูแลว กลาวโดยสรุป สําหรับมนุษยปถุชน ิ ุ มักจะไมมีคําตอบวาพอแลว หยุดแลว ไมปรารถนาอะไรทั้งสิ้นแลว คําวา “สินคาและบริการ” (goods and services) คือสิงทีไดจากการทํางานรวมกันของ ่ ่ ปจจัยการผลิตตาง ๆ เปนสิ่งที่มีอรรถประโยชน (utility) มากกวาศูนย แบงเปน 2 ประเภท (1) สิน
  • 4. คาและบริการขั้นกลาง (intermediate goods and services) เปนสินคาที่มีการซื้อขายเพื่อนําไป ใชเปนปจจัยการผลิต เชน อาหารสัตว วัสดุกอสราง รถบรรทุกสิบลอ เปนตน และ (2) สินคา และบริการขั้นสุดทาย (final goods and services) เปนสินคาที่มีการซื้อขายเพื่อนําไปใชอุปโภค และบริโภค ตัวอยางเชน ผลิตภัณฑเหล็ก โรงงานถลุงเหล็กนําสินแรเหล็กมาถลุงและทําเปนแทง เหล็ก จากนันรีดเปนแผนเหล็ก ใชแผนเหล็กขึ้นรูปเปนตัวถังรถ โรงงานประกอบรถยนตใสชิ้น ้ สวนตาง ๆ เขากับตัวถังรถ สําเร็จออกมาเปนรถยนต จะเห็นวาแทงเหล็ก แผนเหล็ก โครงตัวถังรถ เปนสินคาขันกลาง สวนรถยนตอาจถือเปนสินคาขั้นกลางถาหนวยผลิตซื้อไปใชงาน และถือเปน ้ สินคาขันสุดทายถาครัวเรือนซื้อไปใช จะเห็นไดวาสินคาหรือบริการอยางเดียวกันอาจเปนไดทั้งสิน ้ คาขั้นกลางและสินคาขั้นสุดทาย ทั้งนี้พิจารณาจากวัตถุประสงคในการนําไปใชประโยชนเปน สําคัญ ในการศึกษาเศรษฐศาสตร ไดแบงสินคาออกเปน 2 ประเภท ไดแก เศรษฐทรัพย (economic goods) และสินคาไรราคา (free goods) เศรษฐศาสตรศึกษาเฉพาะสินคาที่เปน เศรษฐทรัพยเทานั้น ก. เศรษฐทรัพย คือสินคาที่มีตนทุน ดังนั้นจึงมีราคามากกวาศูนย โดยปกติ ผูบริโภคจะเปนผูจายคาสินคาโดยตรง แตในบางกรณี ผูบริโภคกับผูจายคาสินคาอาจจะเปน คนละคน ซึงไดแก เศรษฐทรัพยที่ไดจาการบริจาค หรือจากการใหโดยเสนหา หรือจากบริการสวัส ่ ดิการของรัฐ ซึ่งเปนเศรษฐทรัพยทไดเปลา จึงเรียกอีกชื่อหนึ่งวา “สินคาใหเปลา” (ซึ่งไมใชสินคาไร ี่ ราคา) ข. สินคาไรราคา หมายถึงสินคาและบริการที่ไมมีตนทุน จึงไมมีราคาที่ตองจาย ตัวอยาง ของสินคาไรราคา ไดแก สายลม แสงแดด นํ้าฝน อากาศในบรรยากาศ นํ้าทะเล และนํ้าในแมนํ้า ลําคลอง ------------ พิมพครั้งแรกใน เศรษฐสาร ปที่ 4 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน 2531