SlideShare a Scribd company logo
โครงการการประยุกต์อุปกรณ์ป้ องกันอันตราย (safety valve) จากนํ้าในขวดผนึกกั้นอากาศ
(under water seal) ถูกดูดย้อนทาง
วีระวรรณ อึ้งอร่าม
โครงการในครั้งนี้ เป็นการประยุกต์อุปกรณ์ป้ องกันอันตราย (safety valve) จากนํ้าในขวด
ผนึกกั้นอากาศ (under water seal) ถูกดูดย้อนทางและการจัดทําคู่มือในการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ท่อระบาย
ทรวงอก โดยอิงหลักฐานเชิงประจักษ์ (evidence based practice) เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการ
ปฏิบัติการดูแลผู้ป่วย
วัตถุประสงค์
1. เพื่อจัดทําอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย (safety valve) จากนํ้าในขวดผนึกกั้นอากาศถูกดูด
ย้อนทางสําเร็จรูป
2. เพื่อให้ผู้ป่วยมีการระบายทรวงอกมีประสิทธิภาพและช่วยให้ปอดขยายตัวได้ดี
ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการใส่ท่อระบายทรวงอก
3. เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานมีความสะดวก ลดขั้นตอนในการปฏิบัติการดูแลระบบท่อระบาย
ทรวงอก
4. เพื่อพัฒนาคุณภาพการบิการพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
มีแนวปฏิบัติงานที่ชัดเจนนํามาซึ่งคุณภาพการพยาบาล
ขอบเขต
ผู้ป่วยในหออภิบาลผู้ป่วยระยะวิกฤตศัลยกรรมและฉุกเฉินที่ได้รับการใส่ท่อระบาย
ทรวงอกทุกราย
งบประมาณ (ชุดอุปกรณ์ป้องกันอันตราย safety valve)
1. กระบอกฉีดยาพลาสติก (syringe) ขนาด 3 ml. ราคา 1.26 บาท/เครื่อง
2. เม็ดโฟมขนาดที่เหมาะสม 50 เม็ด ราคา 5.00 บาท/ห่อ
3. กาวเอนกประสงค์ ราคา 19.00 บาท/หลอด
4. ค่าอบอุปกรณ์ ราคา 5.00 บาท / หน่วย
สรุป ชุดอุปกรณ์ป้องกันอันตราย (safety valve) 1 ชุด ราคาประมาณ 7 บาท
Safety Valve ICD วีระวรรณ อึ้งอร่าม S&E ICU MD KKU’ 2554 หน้า 2
2
การประยุกต์อุปกรณ์ป้ องกันอันตราย (safety valve)
1. อุปกรณ์ที่ใช้ และขั้นตอนการผลิตอุปกรณ์ ดังนี้
1.1 กระบอกฉีดยาพลาสติก (syringe) ขนาด 3 ml. 1 เครื่อง
นําปลอกนอก (cartridge) มาตัดส่วนหัว ส่วนแกน piston ของ syringe
และส่วนท้ายออก ดังภาพ นํามาตัดแต่งไว้ใส่ใน cartridge ดังภาพ
1.2 เม็ดโฟม
นํามาเลือกขนาดที่เหมาะสม 1 เม็ด
(เส้นผ่าศูนย์กลางก่อนอบแก๊ส 0.6-0.7
เซนติเมตร เมื่อผ่านการอบแก๊สจะได้ขนาดที่
เหมาะสม คือ 0.4-0.5 เซนติเมตร)
ใส่เม็ดโฟมในปลอกนอก (cartridge)
และนําแกน piston ของ syringe ที่ตัดไว้มาติดให้
แน่นที่ส่วนท้ายของปลอกนอกโดยใช้กาว
เอนกประสงค์ดังภาพ
1.3 สายยาง เป็นสายยางขนาดที่ใช้ในท่อระบายทรวงอกทั่วไปนํามาตัดเพื่อใช้เป็นข้อต่อ
ยาว 1.5 นิ้ว ดังภาพ
Safety Valve ICD วีระวรรณ อึ้งอร่าม S&E ICU MD KKU’ 2554 หน้า 3
3
นํามาอุปกรณ์ทั้งหมดมาประกอบเข้าด้วยกัน โดยนําสายยางมาต่อเข้าส่วนท้ายปลอกนอก
ของ syringe ที่ภายในมีการติดแน่นของแกน piston แล้ว ได้อุปกรณ์ดังภาพ
หลังจากนั้นนําอุปกรณ์ที่ได้ส่งอบแก๊ส เพื่อทําให้ปราศจากเชื้อ (sterile)
2. วิธีการประยุกต์ใช้อุปกรณ์
2.1 เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการต่ออุปกรณ์ป้ องกันอันตราย (safety valve) เข้ากับระบบท่อ
ระบายทรวงอก (ICD) เดิม
1. กรรไกร
2. พลาสเตอร์ผ้า
3. ไม้พันสําลี
4. Providine solution
5. Clamp (สําหรับหนีบสาย ICD)
6. อุปกรณ์ป้ องกันอันตราย (safety valve)
Safety Valve ICD วีระวรรณ อึ้งอร่าม S&E ICU MD KKU’ 2554 หน้า 4
4
2.2 การต่ออุปกรณ์ป้องกันอันตราย (safety valve) เข้ากับระบบ ICD เดิม
1. ตัดสายยางที่ต่อจากขวดที่ 1 (ขวดเก็บสารเหลว; content; collection) มายังขวดที่ 2 ให้
มีความยาวที่เหมาะสมไม่เกิน 30-45 cms.
2. นําอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย (safety valve) ด้านท้าย (สายยาง) มาต่อเข้ากับแท่งแก้ว
ยาวที่จุ่มนํ้าในขวดผนึกกั้นอากาศ (under water seal; ขวดที่ 2) ดังภาพ หลังจากเช็ดทําลายเชื้อด้วย
สารละลายโพรวิดีน (providine solution) แล้ว
3. ต่อสายยางจากขวดที่ 1 เข้ากับส่วนบนของอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย (safety valve)
ใช้พลาสเตอร์ผ้าขนาดที่เหมาะสมพันหุ้มระหว่างข้อต่อ ทุกข้อต่อเพื่อป้องกันการเลื่อนหลุด ดังภาพ
อุปกรณ์ป้ องกัน
อันตราย
(safety valve)
สายยางต่อระหว่างขวดที่ 1 ไปขวดที่ 2จากผู้ป่ วย
กรณีแบบ 2 ขวด
1 2
3 4
กรณีแบบ 3 ขวด
Safety Valve ICD วีระวรรณ อึ้งอร่าม S&E ICU MD KKU’ 2554 หน้า 5
5
ต่อระหว่างขวดที่ 1 ไปขวดที่ 2 เช่นเดียวกับการต่อแบบ 2 ขวด ดังภาพ
ต่อ wall suction
จากผู้ป่ วย
ขวดที่ 1
เก็บสารเหลว
Collection
ขวดที่ 2
ผนึกกั้นอากาศ
under water seal
ขวดที่ 3
ควบคุม
ความดันลบ
อุปกรณ์ป้ องกัน
อันตราย
(safety valve)
อุปกรณ์ป้ องกัน
อันตราย
(safety valve)
Safety Valve ICD วีระวรรณ อึ้งอร่าม S&E ICU MD KKU’ 2554 หน้า 6
6
กลไกการทํางานของอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย (safety valve)
1. อากาศสามารถไหลผ่านจากขวดที่ 1 ไปขวดที่ 2 ได้สะดวกตลอดเวลาโดยอัตราการไหล
(flow rate) ไม่ลดลงจากเดิม จึงไม่มีผลต่อการระบายลม และสารเหลว
2. หากเกิดแรงดูดกลับ (ความดันอากาศในขวดที่ 1 น้อยกว่าในขวดที่ 2) valve (ลูกโฟม) จะ
ถูกนํ้าดันขึ้น เคลื่อนไปอยู่ในตําแหน่งปิดที่ส่วนบนของ safety valve ทันที เพื่อไม่ให้นํ้าจากขวดที่ 2
ไหลไปที่ขวดที่ 1 ได้แต่ถ้าแรงดูดสูงมากอาจไหลไปได้บ้าง แต่จะผ่านไปในปริมาณน้อย และไม่ทํา
ให้นํ้าในขวดที่ 2 ลดลงตํ่ากว่าปลายแท่งแก้ว การเคลื่อนปิดของ valve ดังภาพ
3. เมื่อความดันอากาศในขวดที่ 2 กลับมาอยู่ในภาวะปกติ (ในขวดที่ 1 มีความดันสูงกว่าใน
ขวดที่ 2) valve จะเคลื่อนลงกลับไปอยู่ในตําแหน่งเปิดได้เอง โดยอัตโนมัติ สามารถระบายลมและ
สารเหลวออกจากช่องเยื่อหุ้มปอดได้ตามปกติ

More Related Content

What's hot

การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuipiyarat wongnai
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
Warning sign
Warning signWarning sign
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPEtaem
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
freelance
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Prachaya Sriswang
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
Suradet Sriangkoon
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
Chutchavarn Wongsaree
 
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานBLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
Paleenui Jariyakanjana
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
Chutchavarn Wongsaree
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
Chutchavarn Wongsaree
 
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
Aphisit Aunbusdumberdor
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
wichudaice
 

What's hot (20)

การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
 
SSI
SSISSI
SSI
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
CLABSI
CLABSICLABSI
CLABSI
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
CAUTI
CAUTICAUTI
CAUTI
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
 
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานBLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
 
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 

Viewers also liked

Chest Drains
Chest DrainsChest Drains
Chest Drains
nishad
 
Water seal drainage
Water seal drainageWater seal drainage
Water seal drainage
Aashish Parihar
 
Checklist chest drain version 2
Checklist chest drain version 2Checklist chest drain version 2
Checklist chest drain version 2Weerawan Ueng-aram
 
Intercostal drain
Intercostal drainIntercostal drain
Intercostal drain
Dr. Salman Iqbal
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
Care of client with chest tube
Care of client with chest tubeCare of client with chest tube
Care of client with chest tube
WahidahPuteriAbah
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
sawed kodnara
 
2. chest tube drainage
2. chest tube drainage2. chest tube drainage

Viewers also liked (9)

Chest Drains
Chest DrainsChest Drains
Chest Drains
 
Water seal drainage
Water seal drainageWater seal drainage
Water seal drainage
 
Checklist chest drain version 2
Checklist chest drain version 2Checklist chest drain version 2
Checklist chest drain version 2
 
Pneumothorax
PneumothoraxPneumothorax
Pneumothorax
 
Intercostal drain
Intercostal drainIntercostal drain
Intercostal drain
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
Care of client with chest tube
Care of client with chest tubeCare of client with chest tube
Care of client with chest tube
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
2. chest tube drainage
2. chest tube drainage2. chest tube drainage
2. chest tube drainage
 

โครงการ Safety valve

  • 1. โครงการการประยุกต์อุปกรณ์ป้ องกันอันตราย (safety valve) จากนํ้าในขวดผนึกกั้นอากาศ (under water seal) ถูกดูดย้อนทาง วีระวรรณ อึ้งอร่าม โครงการในครั้งนี้ เป็นการประยุกต์อุปกรณ์ป้ องกันอันตราย (safety valve) จากนํ้าในขวด ผนึกกั้นอากาศ (under water seal) ถูกดูดย้อนทางและการจัดทําคู่มือในการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ท่อระบาย ทรวงอก โดยอิงหลักฐานเชิงประจักษ์ (evidence based practice) เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการ ปฏิบัติการดูแลผู้ป่วย วัตถุประสงค์ 1. เพื่อจัดทําอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย (safety valve) จากนํ้าในขวดผนึกกั้นอากาศถูกดูด ย้อนทางสําเร็จรูป 2. เพื่อให้ผู้ป่วยมีการระบายทรวงอกมีประสิทธิภาพและช่วยให้ปอดขยายตัวได้ดี ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการใส่ท่อระบายทรวงอก 3. เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานมีความสะดวก ลดขั้นตอนในการปฏิบัติการดูแลระบบท่อระบาย ทรวงอก 4. เพื่อพัฒนาคุณภาพการบิการพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น มีแนวปฏิบัติงานที่ชัดเจนนํามาซึ่งคุณภาพการพยาบาล ขอบเขต ผู้ป่วยในหออภิบาลผู้ป่วยระยะวิกฤตศัลยกรรมและฉุกเฉินที่ได้รับการใส่ท่อระบาย ทรวงอกทุกราย งบประมาณ (ชุดอุปกรณ์ป้องกันอันตราย safety valve) 1. กระบอกฉีดยาพลาสติก (syringe) ขนาด 3 ml. ราคา 1.26 บาท/เครื่อง 2. เม็ดโฟมขนาดที่เหมาะสม 50 เม็ด ราคา 5.00 บาท/ห่อ 3. กาวเอนกประสงค์ ราคา 19.00 บาท/หลอด 4. ค่าอบอุปกรณ์ ราคา 5.00 บาท / หน่วย สรุป ชุดอุปกรณ์ป้องกันอันตราย (safety valve) 1 ชุด ราคาประมาณ 7 บาท
  • 2. Safety Valve ICD วีระวรรณ อึ้งอร่าม S&E ICU MD KKU’ 2554 หน้า 2 2 การประยุกต์อุปกรณ์ป้ องกันอันตราย (safety valve) 1. อุปกรณ์ที่ใช้ และขั้นตอนการผลิตอุปกรณ์ ดังนี้ 1.1 กระบอกฉีดยาพลาสติก (syringe) ขนาด 3 ml. 1 เครื่อง นําปลอกนอก (cartridge) มาตัดส่วนหัว ส่วนแกน piston ของ syringe และส่วนท้ายออก ดังภาพ นํามาตัดแต่งไว้ใส่ใน cartridge ดังภาพ 1.2 เม็ดโฟม นํามาเลือกขนาดที่เหมาะสม 1 เม็ด (เส้นผ่าศูนย์กลางก่อนอบแก๊ส 0.6-0.7 เซนติเมตร เมื่อผ่านการอบแก๊สจะได้ขนาดที่ เหมาะสม คือ 0.4-0.5 เซนติเมตร) ใส่เม็ดโฟมในปลอกนอก (cartridge) และนําแกน piston ของ syringe ที่ตัดไว้มาติดให้ แน่นที่ส่วนท้ายของปลอกนอกโดยใช้กาว เอนกประสงค์ดังภาพ 1.3 สายยาง เป็นสายยางขนาดที่ใช้ในท่อระบายทรวงอกทั่วไปนํามาตัดเพื่อใช้เป็นข้อต่อ ยาว 1.5 นิ้ว ดังภาพ
  • 3. Safety Valve ICD วีระวรรณ อึ้งอร่าม S&E ICU MD KKU’ 2554 หน้า 3 3 นํามาอุปกรณ์ทั้งหมดมาประกอบเข้าด้วยกัน โดยนําสายยางมาต่อเข้าส่วนท้ายปลอกนอก ของ syringe ที่ภายในมีการติดแน่นของแกน piston แล้ว ได้อุปกรณ์ดังภาพ หลังจากนั้นนําอุปกรณ์ที่ได้ส่งอบแก๊ส เพื่อทําให้ปราศจากเชื้อ (sterile) 2. วิธีการประยุกต์ใช้อุปกรณ์ 2.1 เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการต่ออุปกรณ์ป้ องกันอันตราย (safety valve) เข้ากับระบบท่อ ระบายทรวงอก (ICD) เดิม 1. กรรไกร 2. พลาสเตอร์ผ้า 3. ไม้พันสําลี 4. Providine solution 5. Clamp (สําหรับหนีบสาย ICD) 6. อุปกรณ์ป้ องกันอันตราย (safety valve)
  • 4. Safety Valve ICD วีระวรรณ อึ้งอร่าม S&E ICU MD KKU’ 2554 หน้า 4 4 2.2 การต่ออุปกรณ์ป้องกันอันตราย (safety valve) เข้ากับระบบ ICD เดิม 1. ตัดสายยางที่ต่อจากขวดที่ 1 (ขวดเก็บสารเหลว; content; collection) มายังขวดที่ 2 ให้ มีความยาวที่เหมาะสมไม่เกิน 30-45 cms. 2. นําอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย (safety valve) ด้านท้าย (สายยาง) มาต่อเข้ากับแท่งแก้ว ยาวที่จุ่มนํ้าในขวดผนึกกั้นอากาศ (under water seal; ขวดที่ 2) ดังภาพ หลังจากเช็ดทําลายเชื้อด้วย สารละลายโพรวิดีน (providine solution) แล้ว 3. ต่อสายยางจากขวดที่ 1 เข้ากับส่วนบนของอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย (safety valve) ใช้พลาสเตอร์ผ้าขนาดที่เหมาะสมพันหุ้มระหว่างข้อต่อ ทุกข้อต่อเพื่อป้องกันการเลื่อนหลุด ดังภาพ อุปกรณ์ป้ องกัน อันตราย (safety valve) สายยางต่อระหว่างขวดที่ 1 ไปขวดที่ 2จากผู้ป่ วย กรณีแบบ 2 ขวด 1 2 3 4 กรณีแบบ 3 ขวด
  • 5. Safety Valve ICD วีระวรรณ อึ้งอร่าม S&E ICU MD KKU’ 2554 หน้า 5 5 ต่อระหว่างขวดที่ 1 ไปขวดที่ 2 เช่นเดียวกับการต่อแบบ 2 ขวด ดังภาพ ต่อ wall suction จากผู้ป่ วย ขวดที่ 1 เก็บสารเหลว Collection ขวดที่ 2 ผนึกกั้นอากาศ under water seal ขวดที่ 3 ควบคุม ความดันลบ อุปกรณ์ป้ องกัน อันตราย (safety valve) อุปกรณ์ป้ องกัน อันตราย (safety valve)
  • 6. Safety Valve ICD วีระวรรณ อึ้งอร่าม S&E ICU MD KKU’ 2554 หน้า 6 6 กลไกการทํางานของอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย (safety valve) 1. อากาศสามารถไหลผ่านจากขวดที่ 1 ไปขวดที่ 2 ได้สะดวกตลอดเวลาโดยอัตราการไหล (flow rate) ไม่ลดลงจากเดิม จึงไม่มีผลต่อการระบายลม และสารเหลว 2. หากเกิดแรงดูดกลับ (ความดันอากาศในขวดที่ 1 น้อยกว่าในขวดที่ 2) valve (ลูกโฟม) จะ ถูกนํ้าดันขึ้น เคลื่อนไปอยู่ในตําแหน่งปิดที่ส่วนบนของ safety valve ทันที เพื่อไม่ให้นํ้าจากขวดที่ 2 ไหลไปที่ขวดที่ 1 ได้แต่ถ้าแรงดูดสูงมากอาจไหลไปได้บ้าง แต่จะผ่านไปในปริมาณน้อย และไม่ทํา ให้นํ้าในขวดที่ 2 ลดลงตํ่ากว่าปลายแท่งแก้ว การเคลื่อนปิดของ valve ดังภาพ 3. เมื่อความดันอากาศในขวดที่ 2 กลับมาอยู่ในภาวะปกติ (ในขวดที่ 1 มีความดันสูงกว่าใน ขวดที่ 2) valve จะเคลื่อนลงกลับไปอยู่ในตําแหน่งเปิดได้เอง โดยอัตโนมัติ สามารถระบายลมและ สารเหลวออกจากช่องเยื่อหุ้มปอดได้ตามปกติ