SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
การติดตอสื่อสารระหวางมนุษยกับหุนยนต

          การติดตอสื่อสารระหวางมนุษยกับหุนยนต (human-robot interaction) เปนศาสตรที่เกี่ยวของกับ
การทําใหมนุษยสามารถใชงานควบคุม ติดตอสื่อสารกับหุนยนตที่สรางขึ้นมาไดอยางสะดวกและเปนธรรมชาติ
ซึ่งมีความเกี่ยวของกับความรูทางดานวิทยาการหุนยนต (robotics) ปจจัยมนุษย (human factor) การ
ติดตอสื่อสารระหวางมนุษยกับคอมพิวเตอร (human-computer interaction) ปญญาประดิษฐ (artificial
intelligence) การทําความเขาใจภาษาธรรมชาติ (natural language understanding) เปนตน ซึ่งการ
ผสมผสานความรูดังกลาวทําใหเราสามารถออกแบบระบบการติดตอสื่อสาร เพื่อควบคุมการใชงานหุนยนต
อยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น


           การติดตอสื่อสารระหวางมนุษยกับหุนยนตนั้นไดมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง นับตั้งแตระยะแรกที่
หุนยนตเริ่มมีบทบาทในโรงงานอุตสาหกรรม เชน โรงงานผลิตรถยนต โดยงานของหุนยนตจะเนนการหยิบจับ
วางหรือประกอบชิ้นงานเปนหลัก ดังนั้นเพื่อความสะดวกในการควบคุมหุนยนต จึงมีการคิดคนอุปกรณสอน
และบันทึกคาตําแหนงของปลายแขนหุนยนตซึ่งเรียกวาแปนการสอนตําแหนง (teach pendant) โดยผูใช
สามารถปอนเปนคาตัวเลขของตําแหนงหรือควบคุมการเคลื่อนที่ของแตละขอตอผานปุมบนแปนควบคุม จน
ปลายแขนถึงตําแหนงที่ตองการแลวสั่งบันทึกคามุมของแตละขอตอนั้นไว หลังจากนั้นเราสามารถสั่งการให
หุนยนตเคลื่อนที่ไปยังตําแหนงที่เคยสอนและบันทึกไวได การควบคุมประเภทนี้เหมาะกับการใชงานประเภท
หยิบแลววาง (pick-and-place task)
นอกจากหุนยนตที่ใชในโรงงานอุตสาหกรรม ที่ทําหนาที่ทุนแรงในการหยิบจับ เชื่อม ตัด พนสีและ
ประกอบชิ้นสวนแลว ยังมีการพัฒนาหุนยนตใหสามารถทํางานในหลากหลายดานมากยิ่งขึ้นเชน หุนยนต
สํารวจและกูภัย หุนยนตใชในทางทหาร หุนยนตเพื่อการศึกษา หุนยนตใชในการแพทย รวมทั้งหุนยนตบริการ
ทั้งในสํานักงานและบาน หุนยนตไดเขามามีบทบาทในชีวิตมนุษยมากขึ้น จึงมีการวิจัย พัฒนาและสราง
เครื่องมือและวิธีการในการควบคุม     ติดตอสื่อสารกับหุนยนตใหไดมีความสะดวกและเปนธรรมชาติมากขึ้น
ตอมาไดมีการพัฒนากานควบคุม (joystick) ซึ่งทําใหผูใชงานสามารถควบคุมหุนยนตโดยเฉพาะหุนยนตแบบ
เคลื่อนที่ไดสะดวกขึ้นโดยสามารถใชรวมกับปุม เพื่อสงคําสั่งการเคลื่อนที่ไปยังหุนยนต




                                            ทาทางตางๆ เชน ภาษามือ (sign language) ก็สามารถ
                                    นํามาใชสั่งการณหุนยนตไดเชนกัน โดยผูใชจะสวมถุงมือปอนขอมูล
                                    (data gloves) โดยระบบจะตรวจสอบรูปแบบการยืด งอของขอมือ
                                    และนิ้วมือ แลวนําไปเปรียบเทียบกับรูปแบบที่เคยบันทึกหรือจดจํา
                                    ไว


                                         การควบคุมหุนยนตระยะไกล (teleoperation) ผูควบคุม
                                  นอกจากจะดูผลการควบคุมผานจอแสดงผลแลว            ผูควบคุมยัง
                                  สามารถสวมอุปกรณแสดงผลแบบสวมศรีษะ (head-mounted
                                  display) ได โดยภาพจะแสดงบนจอภาพขนาดเล็กจํานวน 2 จอ
                                  สําหรับตาทั้งสองขาง ซึ่งบางรุนสามารถแสดงภาพแบบ 3 มิติเพื่อให
ไดขอมูลระยะลึกใกล/ไกลของวัตถุตางๆภายในภาพ และบางรุนสามารถสงเสียงแบบ 3 มิติผานทางหูฟงดวย
นอกจากนี้ยังมีอุปกรณตรวจจับการหมุนศีรษะ (head tracker) ของผูควบคุม ภาพจะถูกแสดงให
สอดคลองกับการหมุนศีรษะของผูควบคุม ทําใหผูควบคุมสามารถติดตอและควบคุมหุนยนตไดอยางสะดวก
และเปนธรรมชาติ


    หุนยนตบางตัวไดรับการพัฒนาใหจดจําหนาตา (face recognition) และทาทาง (gesture recognition)
ของผูใชได โดยอาศัยเทคโนโลยีการมองเห็นของหุนยนต (robot vision) ซึ่งใชกลองเปนตัวรับภาพ เพื่อ
แยกแยะรูปแบบใบหนาและทาทางของผูใช โดยการอาศัยความรูเรื่องระบบภาพ (vision system) และการ
ประมวลผลภาพในคอมพิวเตอร(image processing)




       บางระบบผูใชสามารถใชเสียงในการสั่งงานหุนยนตผานการรูจําเสียง (speech recognition) โดย
หุนยนตจะโตตอบกับผูใชผานทางทาทาง หนาจอ และ/หรือ เสียงสังเคราะห (synthesized sound) ผานทาง
ลําโพง
สําหรับคนชราหรือผูพิการที่ไมสามารถพึ่งตัวเองไดนั้นสามารถใชสัญญาณทางชีวภาพ (biological
signal) ของรางกาย เชน การกรอกตาไป-มา กลามเนื้อ หรือสมองมาใชควบคุมหุนยนตไดเชนกัน




         นอกจากการปอนขอมูลคําสั่งผานอุปกรณแลว การรับผลการทํางานของหุนยนตก็เปนสิ่งจําเปน
เชนกันที่จะทําใหการติดตอสื่อสารระหวางมนุษยและหุนยนตเปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ตัวอยางเชนการมองทาทางของหุนยนตโดยตรงหรือผานจอแสดงผล การรับเสียงการทํางานหรือเสียงพูดที่เกิด
จากการใชคอมพิวเตอรสังเคราะหขึ้น รวมทั้งการรับแรงปอนกลับ (force feedback) ซึ่งจะเปนประโยชน
อยางมากตอการควบคุมหุนยนตระยะไกล เนื่องจากผูใชสามารถรับรูแรงที่วัดไดจากตัวตรวจจับแรงที่ติดตั้งไวที่
ตัวหุนยนตหรือปลายแขนหุนยนต ซึ่งจะถูกนํามาประมวลผลและสงตอมายังอุปกรณแสดงผลแรงเชนกาน
ควบคุมที่มีแรงปอนกลับ หรือชุดแสดงผลแรงปอนกลับแบบสวม (exoskeleton devices)
จะเห็นไดวาการติดตอสื่อสารกับหุนยนต         เปนศาสตรที่มีความจําเปนอยางมากในการสั่งงานและ
ควบคุมหุนยนต ซึ่งมีตั้งแตการติดตอสื่อสารระดับพื้นฐาน เชน การบังคับผานคันบังคับ หรือการพูดคุยโตตอบ
กับหุนยนต การแสดงผลในรูปแบบตางๆ เชน ภาพ เสียง และแรงที่สงกลับมาของหุนยนตนั้น ทําใหการ
ควบคุมหุนยนตมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ในอนาคตหุนยนตจะกาวเขามามีบทบาทในชีวิตประจําวันของมนุษย
มากขึ้น การควบคุมหุนยนตใหทําตามคําสั่งดวยอุปกรณควบคุมตางๆ อาจไมเพียงพอ หุนยนตจึงตองมีความ
ฉลาด สามารถตัดสินใจจากฐานความรู ความสัมพันธของขอมูลตางๆที่มีอยู รวมถึงการเรียนรูขอมูลใหมๆ แลว
นํามาตัดสินใจไดเอง จนเรียกวาหุนยนตมีปญญาประดิษฐ (artificial intelligence) ซึ่งตองใชความรูทางดาน
คอมพิวเตอรขั้นสูงอยางมากในการพัฒนา




แหลงที่มา

สมาคมวิชาการหุนยนตแหงประเทศไทย

บทความเกี่ยวกับหุนยนต : http://www.trs.or.th/index.php/article

More Related Content

Similar to การติดต่อสื่อสารระหว่างมนุษย์กับหุ่นยนต์

Com sys 5
Com sys 5Com sys 5
Com sys 5paween
 
คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงNattapon
 
ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2
ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2
ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2Kriangx Ch
 
Ict300_5_edit
Ict300_5_editIct300_5_edit
Ict300_5_editNicemooon
 

Similar to การติดต่อสื่อสารระหว่างมนุษย์กับหุ่นยนต์ (8)

Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
Computer1
Computer1Computer1
Computer1
 
546656
546656546656
546656
 
Com sys 5
Com sys 5Com sys 5
Com sys 5
 
คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
 
ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2
ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2
ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2
 
13510194
1351019413510194
13510194
 
Ict300_5_edit
Ict300_5_editIct300_5_edit
Ict300_5_edit
 

More from สุรินทร์ ดีแก้วเกษ

การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้นหลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้นสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 

More from สุรินทร์ ดีแก้วเกษ (20)

คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคนเซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาทศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
ง 30245 การสร้างงานมัลติมีเดีย
ง 30245 การสร้างงานมัลติมีเดีย ง 30245 การสร้างงานมัลติมีเดีย
ง 30245 การสร้างงานมัลติมีเดีย
 
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้นหลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
 
ระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยีระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยี
 
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
 
Googlesites v.2
Googlesites v.2Googlesites v.2
Googlesites v.2
 

การติดต่อสื่อสารระหว่างมนุษย์กับหุ่นยนต์

  • 1. การติดตอสื่อสารระหวางมนุษยกับหุนยนต การติดตอสื่อสารระหวางมนุษยกับหุนยนต (human-robot interaction) เปนศาสตรที่เกี่ยวของกับ การทําใหมนุษยสามารถใชงานควบคุม ติดตอสื่อสารกับหุนยนตที่สรางขึ้นมาไดอยางสะดวกและเปนธรรมชาติ ซึ่งมีความเกี่ยวของกับความรูทางดานวิทยาการหุนยนต (robotics) ปจจัยมนุษย (human factor) การ ติดตอสื่อสารระหวางมนุษยกับคอมพิวเตอร (human-computer interaction) ปญญาประดิษฐ (artificial intelligence) การทําความเขาใจภาษาธรรมชาติ (natural language understanding) เปนตน ซึ่งการ ผสมผสานความรูดังกลาวทําใหเราสามารถออกแบบระบบการติดตอสื่อสาร เพื่อควบคุมการใชงานหุนยนต อยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การติดตอสื่อสารระหวางมนุษยกับหุนยนตนั้นไดมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง นับตั้งแตระยะแรกที่ หุนยนตเริ่มมีบทบาทในโรงงานอุตสาหกรรม เชน โรงงานผลิตรถยนต โดยงานของหุนยนตจะเนนการหยิบจับ วางหรือประกอบชิ้นงานเปนหลัก ดังนั้นเพื่อความสะดวกในการควบคุมหุนยนต จึงมีการคิดคนอุปกรณสอน และบันทึกคาตําแหนงของปลายแขนหุนยนตซึ่งเรียกวาแปนการสอนตําแหนง (teach pendant) โดยผูใช สามารถปอนเปนคาตัวเลขของตําแหนงหรือควบคุมการเคลื่อนที่ของแตละขอตอผานปุมบนแปนควบคุม จน ปลายแขนถึงตําแหนงที่ตองการแลวสั่งบันทึกคามุมของแตละขอตอนั้นไว หลังจากนั้นเราสามารถสั่งการให หุนยนตเคลื่อนที่ไปยังตําแหนงที่เคยสอนและบันทึกไวได การควบคุมประเภทนี้เหมาะกับการใชงานประเภท หยิบแลววาง (pick-and-place task)
  • 2. นอกจากหุนยนตที่ใชในโรงงานอุตสาหกรรม ที่ทําหนาที่ทุนแรงในการหยิบจับ เชื่อม ตัด พนสีและ ประกอบชิ้นสวนแลว ยังมีการพัฒนาหุนยนตใหสามารถทํางานในหลากหลายดานมากยิ่งขึ้นเชน หุนยนต สํารวจและกูภัย หุนยนตใชในทางทหาร หุนยนตเพื่อการศึกษา หุนยนตใชในการแพทย รวมทั้งหุนยนตบริการ ทั้งในสํานักงานและบาน หุนยนตไดเขามามีบทบาทในชีวิตมนุษยมากขึ้น จึงมีการวิจัย พัฒนาและสราง เครื่องมือและวิธีการในการควบคุม ติดตอสื่อสารกับหุนยนตใหไดมีความสะดวกและเปนธรรมชาติมากขึ้น ตอมาไดมีการพัฒนากานควบคุม (joystick) ซึ่งทําใหผูใชงานสามารถควบคุมหุนยนตโดยเฉพาะหุนยนตแบบ เคลื่อนที่ไดสะดวกขึ้นโดยสามารถใชรวมกับปุม เพื่อสงคําสั่งการเคลื่อนที่ไปยังหุนยนต ทาทางตางๆ เชน ภาษามือ (sign language) ก็สามารถ นํามาใชสั่งการณหุนยนตไดเชนกัน โดยผูใชจะสวมถุงมือปอนขอมูล (data gloves) โดยระบบจะตรวจสอบรูปแบบการยืด งอของขอมือ และนิ้วมือ แลวนําไปเปรียบเทียบกับรูปแบบที่เคยบันทึกหรือจดจํา ไว การควบคุมหุนยนตระยะไกล (teleoperation) ผูควบคุม นอกจากจะดูผลการควบคุมผานจอแสดงผลแลว ผูควบคุมยัง สามารถสวมอุปกรณแสดงผลแบบสวมศรีษะ (head-mounted display) ได โดยภาพจะแสดงบนจอภาพขนาดเล็กจํานวน 2 จอ สําหรับตาทั้งสองขาง ซึ่งบางรุนสามารถแสดงภาพแบบ 3 มิติเพื่อให ไดขอมูลระยะลึกใกล/ไกลของวัตถุตางๆภายในภาพ และบางรุนสามารถสงเสียงแบบ 3 มิติผานทางหูฟงดวย
  • 3. นอกจากนี้ยังมีอุปกรณตรวจจับการหมุนศีรษะ (head tracker) ของผูควบคุม ภาพจะถูกแสดงให สอดคลองกับการหมุนศีรษะของผูควบคุม ทําใหผูควบคุมสามารถติดตอและควบคุมหุนยนตไดอยางสะดวก และเปนธรรมชาติ หุนยนตบางตัวไดรับการพัฒนาใหจดจําหนาตา (face recognition) และทาทาง (gesture recognition) ของผูใชได โดยอาศัยเทคโนโลยีการมองเห็นของหุนยนต (robot vision) ซึ่งใชกลองเปนตัวรับภาพ เพื่อ แยกแยะรูปแบบใบหนาและทาทางของผูใช โดยการอาศัยความรูเรื่องระบบภาพ (vision system) และการ ประมวลผลภาพในคอมพิวเตอร(image processing) บางระบบผูใชสามารถใชเสียงในการสั่งงานหุนยนตผานการรูจําเสียง (speech recognition) โดย หุนยนตจะโตตอบกับผูใชผานทางทาทาง หนาจอ และ/หรือ เสียงสังเคราะห (synthesized sound) ผานทาง ลําโพง
  • 4. สําหรับคนชราหรือผูพิการที่ไมสามารถพึ่งตัวเองไดนั้นสามารถใชสัญญาณทางชีวภาพ (biological signal) ของรางกาย เชน การกรอกตาไป-มา กลามเนื้อ หรือสมองมาใชควบคุมหุนยนตไดเชนกัน นอกจากการปอนขอมูลคําสั่งผานอุปกรณแลว การรับผลการทํางานของหุนยนตก็เปนสิ่งจําเปน เชนกันที่จะทําใหการติดตอสื่อสารระหวางมนุษยและหุนยนตเปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ตัวอยางเชนการมองทาทางของหุนยนตโดยตรงหรือผานจอแสดงผล การรับเสียงการทํางานหรือเสียงพูดที่เกิด จากการใชคอมพิวเตอรสังเคราะหขึ้น รวมทั้งการรับแรงปอนกลับ (force feedback) ซึ่งจะเปนประโยชน อยางมากตอการควบคุมหุนยนตระยะไกล เนื่องจากผูใชสามารถรับรูแรงที่วัดไดจากตัวตรวจจับแรงที่ติดตั้งไวที่ ตัวหุนยนตหรือปลายแขนหุนยนต ซึ่งจะถูกนํามาประมวลผลและสงตอมายังอุปกรณแสดงผลแรงเชนกาน ควบคุมที่มีแรงปอนกลับ หรือชุดแสดงผลแรงปอนกลับแบบสวม (exoskeleton devices)
  • 5. จะเห็นไดวาการติดตอสื่อสารกับหุนยนต เปนศาสตรที่มีความจําเปนอยางมากในการสั่งงานและ ควบคุมหุนยนต ซึ่งมีตั้งแตการติดตอสื่อสารระดับพื้นฐาน เชน การบังคับผานคันบังคับ หรือการพูดคุยโตตอบ กับหุนยนต การแสดงผลในรูปแบบตางๆ เชน ภาพ เสียง และแรงที่สงกลับมาของหุนยนตนั้น ทําใหการ ควบคุมหุนยนตมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ในอนาคตหุนยนตจะกาวเขามามีบทบาทในชีวิตประจําวันของมนุษย มากขึ้น การควบคุมหุนยนตใหทําตามคําสั่งดวยอุปกรณควบคุมตางๆ อาจไมเพียงพอ หุนยนตจึงตองมีความ ฉลาด สามารถตัดสินใจจากฐานความรู ความสัมพันธของขอมูลตางๆที่มีอยู รวมถึงการเรียนรูขอมูลใหมๆ แลว นํามาตัดสินใจไดเอง จนเรียกวาหุนยนตมีปญญาประดิษฐ (artificial intelligence) ซึ่งตองใชความรูทางดาน คอมพิวเตอรขั้นสูงอยางมากในการพัฒนา แหลงที่มา สมาคมวิชาการหุนยนตแหงประเทศไทย บทความเกี่ยวกับหุนยนต : http://www.trs.or.th/index.php/article