SlideShare a Scribd company logo
การเขี ย นอ้ า งอิ ง เอกสารในรายงาน
                   วิ จ ั ย
             Reference

       เรียบเรียง และจัดทำำโดย
    ศูนย์บริกำรกำรวิจัย สถำบันวิจัย
         มหำวิทยำลัยกรุงเทพ
กำรอ้ำงอิง (Reference)

       การอ้างอิงในการเขียนรายงานการวิจัยที่นยมใช้กันทัวไปมัก
                                             ิ         ่
จะอ้างอิงใน 2 ส่วน ด้วยกันคือ

       1. การอ้างอิงแทรกในเนือหา (การอ้างอิงแบบนาม-ปี)
                               ้
       2. การอ้างอิงอยู่ท้ายบท หรือบรรณานุกรม (Bibliography)
เรียงตามลำาดับการอ้างอิงหรือเรียงตามลำาดับอักษร

      เมือได้อางอิงแทรกในเนือหาแล้วก็ควรอ้างอิงท้ายบทด้วย
         ่    ้             ้
ทุกรายการตลอดทั้งเล่มรายงานการวิจัย
กำรอ้ำงอิงแทรกในเนือหำ (กำร
                   ้
      อ้ำงอิงแบบนำม-ปี)
        โดยทัวไปจะประกอบด้วยชื่อผู้
              ่
   แต่งและปีพิมพ์ ในกรณีที่เป็นกำร
อ้ำงอิงเนือหำโดยตรงหรือแนวคิดบำง
          ้
ส่วน หรือเป็นกำรคัดลอกข้อควำมบำง
ส่วนมำโดยตรงสมควรระบุเลขหน้ำไว้
                ด้วย
       อย่ำงไรก็ตำม กำรไม่ระบุเลข
หน้ำอำจทำำได้ในกรณีทเป็นกำรอ้ำงอิง
                      ี่
 งำนของผูอื่นโดยกำรสรุปเนื้อหำหรือ
            ้
หลักและตัวอย่ำงกำรเขียนนำมผู้แต่ง
       1. ถ้าเป็นชาวต่างประเทศใช้นามสกุลเท่านั้น ถ้าเป็น
ชาวไทยให้ใส่ชอก่อน
                 ื่
แล้วตามด้วยนามสกุล ถึงแม้เขียนเอกสารเป็นภาษาต่าง
ประเทศก็ตาม เพราะถือเป็นแบบที่สากลยอมรับแล้วว่า
ประเทศไทยใช้เช่นนี้
 ( เปลื้อง ณ นคร, 2511: 160)
 ( Fontana, 1985: 61)
 ( Thanat Khoman, 1976: 16-25)
 ( Kasem Suwanagul, 1962: 35)
       2. กรณีผู้แต่งมีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ สมณศักดิ์
 ( กรมหมื่นนรธิปพงศ์ประพันธ์, 2516: 40)
 ( พระยาอนุมารราชธน, 2510: 20)
3. กรณีผู้แต่งมียศทางทหาร ตำารวจ หรือมี
ตำาแหน่งทางวิชาการ เช่น ศาสตราจารย์ หรือมีคำาเรียก
ทางวิชาชีพ เช่น นายแพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร ไม่
ต้องใส่ยศ หรือ ตำาแหน่งทางวิชาการ หรือคำาเรียกทาง
วิชาชีพนั้น ๆ
  ( จรัส สุวรรณเวลา, 2538: 29 )
  (วสิษฐ์ เดชกุญชร, 2522: 82 – 83 )
        4. ผู้แต่งใช้นามแฝง
  ( Dr.Seuss, 1968: 33 – 38 )
  ( Twain, 1962: 15 – 22)
  ( หยก บูรพา, 2520: 47 – 53 )
• กำรอ้ำงเอกสำรหนึ่งเรื่องที่มผู้แต่ง
                                 ี
คนเดียว
       การอ้างถึงเอกสารหรืองานนั้นทั้งงานโดย
รวม ให้ระบุนามผู้แต่งและปีพิมพ์แทรกในข้อความ
  ในตำาแหน่งที่เหมาะสม กล่าวคือ ถ้าระบุนามผู้
    แต่งในเนื้อความ ให้อ้างปีพมพ์ไว้ในวงเล็บ
                               ิ
 (ตัวอย่าง 1) หรือให้ระบุทั้งนามผู้แต่งและปีพิมพ์
      ของเอกสารนั้นในวงเล็บ (ตัวอย่าง 2)
       ตัวอย่ำง 1
       สุจิตรา บูรมินเหนทร์ (2509) ศึกษาว่า ในภาษาไทยมี
  คำาในหมวดใดบ้าง และคำาอะไรบ้างที่นำามาใช้เป็นคำาซำ้าได้
ผลการศึกษาพบว่าคำาทุกหมวดในจำานวนหมวด สามารถนำามา
                      ใช้เป็นคำาซำ้าได้...
       Landsteiner (1936) described the hapten
concept whereby conjugation of small molecules with
ตัวอย่ำง 2
        ...ในขณะทีการใช้ผลการวิจัยทางสังคมศาสตร์ส่วนใหญ่อยู่ใน
                      ่
วงแคบ จำากัดเฉพาะในกลุ่มสาขาวิชาของตนเท่านัน (จรรยา สุวรรณ
                                                 ้
ทัต, 2520)
        ...Previous work on the group living
talapoins(Keverne, 1979),demonstrated ้นซำ้าอีกครังหนึ่ง ไม่
         ในย่อหน้าหนึ่ง ๆ เมื่ออ้างถึงงานนั that… ้
 ต้องระบุปีพิมพ์ในการอ้างครังต่อมาได้ ถ้างานนั้นเพิ่งถูกอ้าง
                               ้
 และไม่สวอย่ำงบงานอื่น (ตัวอย่าง 3)
        ตั ับสนกั 3
             ธีรพันธ์ เหลืองทองคำา (1979) ศึกษาคำาซำ้าทีใช้เป็นคำา
                                                        ่
 วิเศษณ์ และคำาคุณศัพท์ ในภาษาไทยถิ่นอีสาน พบว่าสระหลัง (ทั้ง
สระปากห่อและปากไม่ห่อ) แสดงให้เห็นขนาดใหญ่กว่าหรือค่าสูงกว่า
   ประคอง นิมมารเหมินทร์ (2519) อธิบายความสัมพันธ์ของความ
หมาย และเสียงสระในคำาขยายในภาษาอีสานว่า ภาษาอีสานใช้เสียง
สระ อิ อี แอะ แอ เอาะ ออ บรรยายลักษณะที่ปรากฏของสิ่งที่มีขนาด
 เล็ก.....ธีรพันธ์ เหลืองทองคำา และ ประคอง นิมมารเหมินทร์ พบว่า
   เสียงสระในภาษาไทยถิ่นอีสานมีความสัมพันธ์โดยตรงกับการให้
                     ความหมายในเชิงขนาดของวัตถุ
        In a recent study of group living talapoins,Keverne
วิธี
       1) ให้ระบุชื่อภาษาต่างประเทศในเนือความและระบุปีพิมพ์ใน
                                        ้
วงเล็บ (ตัวอย่าง 4)
       2) ให้ระบุชื่อเป็นภาษาไทยในเนือความก่อนและวงเล็บชื่อภาษา
                                     ้
ต่างประเทศและปีพิมพ์(ตัวอย่าง 5)

      ตัวอย่าง 4
      Read ( 1972 a: 15-17) ได้อธิบายถึงลำาดับขั้นในการเตรียมทำา
รายงานดังนี..
           ้

      ตัวอย่าง 5
      แมคโดนัฟ ให้ความเห็นว่า “หลักสูตรการเรียนการสอนภาษาทีมี ่
ลักษณะเจาะจงเป็นวิธีทดีทสุดทีจะบรรลุวัตถุประสงค์หลักการของการ
                     ี่ ี่   ่
ศึกษาทีใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อ”
       ่

     ถ้ำอ้ำงเอกสำรเรื่องเดียว เขียนโดยผู้แต่งคนเดียว แต่มี
หลำยเล่มจบให้ระบุหมำยเลขของเล่มที่อ้ำงถึงด้วย เช่น
     (พระบริหารเทพธานี, 2546, เล่ม 3)
กำรอ้ำงเอกสำรหนึ่งเรื่องที่มผู้แต่ง 2
                                  ี
คน
     เมื่อเอกสารที่อ้างถึงมีผู้แต่ง 2 คน ให้ระบุนามผู้
แต่งทัตัวอย่คน6ทุกครั้งที่มีการอ้างโดยใช้คำา และหรือ
      ้ง 2 าง
and เชือม นามผู้แต่ง (ตัวอย่าง 6)
        ่
       Schlachter และ Thompson (1974) ศึกษาวิธีวิจัยที่ใช้
ในวิทยานิพนธ์บรรณารักษศาสตร์และพบว่า... จากการวิเคราะห์
 วิธีวิจัยที่ใช้ในวิทยานิพนธ์บรณารักษ์ศาสตร์พบว่า วิธีวิจัยเชิง
  สำารวจมีผู้นิยมใช้กันแพร่หลายและคงจะเป็นที่นิยมใช้ต่อไป
               (Shalachter and Thompson, 1974)
           In some studies the theoretical constructs are
       based on assumptions and premises about the
information transfer process, Which derives from the the
   oretical formulation of Shannon and Weaver (1949)
กำรอ้ำงเอกสำรหนึ่งเรื่องที่มผู้แต่ง 3
                                  ี
คน
        เวลาอ้างถึงเอกสารที่มีผู้แต่ง 3 คนครั้งแรก ให้ระบุ
นามผูแต่งทุกคน (ตัวอย่าง 7) เมื่ออ้างถึงครั้งต่อไป ให้ระบุ
      ้
 เฉพาะนามผูแต่งคนแรก ตามด้วย et al. หรือ and others
             ้
สำาหรับเอกสารภาษาอังกฤษ และคำา และคณะ หรือ และคน
        อืนๆ สำาหรับเอกสารภาษาไทย (ตัวอย่าง 8)
          ่


        ตัวอย่าง 7
        คณิต มีสมมนต์,แสวง โพธิ์เงิน และสนอง ค้านสิทธิ(2502:25)
                                                      ์
                ได้กล่าวถึงคุณสมบัตของแม่เหล็กว่า....
                                   ิ
        Sorensen, Compbell และ Poss(1975 : 8-10) ค้นพบ
ว่า...Case,Borgman,and Meadow(1986”31) Stated:…
ตัวอย่าง 8
       คณิต มีสมมนต์ และคณะ(2502:27) กล่าวสรุปไว้ดังนี...้
       Sorensen และคนอื่นๆ (1975:35) ได้สรุปเพิ่มเติมว่า...
       Writing is one way of making meaning from experience
for ourselves and for others (Case et al.,1986:31)


        ข้อยกเว้น
        ถ้าเอกสารสองเรื่องที่อ้างครั้งต่อมา เมื่อเขียนย่อโดยใช้ et al.
และทำาให้รายการที่อางปรากฏคล้ายกันเช่น
                       ้
        Bradley,Ramirez, and Soo (1973)…
        Bradley,Soo and Brown(1983)…
        ถ้าเขียนย่อจะเป็น Bradley et al.(1983) เหมือนกัน ในกรณี
เช่นนีเพื่อไม่ให้ผู้อานสับสนให้
      ้              ่
เขียนชื่อผู้แต่งทุกคน
กำรอ้ำงเอกสำรหนึงเรื่องทีมีผู้แต่ง
                   ่       ่
           มำกกว่ำ 3 คน
       ในการอ้างถึงทุกครั้ง ให้ระบุเฉพาะนามผูแต่งคนแรก
                                                  ้
  พร้อมคำา et al. หรือ and others สำาหรับเอกสารภาษา
อังกฤษ และคำา และคณะ หรือคนอื่นๆ สำาหรับเอกสารภาษา
                             ไทย
                              ข้อยกเว้น
          ถ้าเอกสารสองเรื่องที่อ้างเมื่อเขียนย่อแล้วทำาให้
 รายการที่อ้างปรากฏคล้ายกัน ในกรณีนี้เมื่ออ้างถึงเอกสาร
 เหล่านั้นในเนื้อความ ให้พยายามระบุผู้แต่งคนต่อมาเรือยๆ่
                จนถึงชือผู้แต่งที่ไม่ซำ้ากัน เช่น
                       ่
           Takac,Schaefer,Malonet,Bryant,Cron,and
                     Wang(1982) และ
      Takac,Schaefer,Bryant,Wood,Maloney,and Cron
กำรอ้ำงเอกสำรทีผู้แต่งเป็นสถำบัน
                 ่

            เมื่ออ้างเอกสารที่มีสถาบันเป็นผูแต่งแทรกในเนื้อ
                                            ้
  ความในระบบนาม-ปี ให้ระบุนามผูแต่งที่เป็นสถาบัน โดย
                                      ้
เขียนชือเต็มในการอ้างครั้งแรก และถ้ามีชอย่อที่เป็นทางการ
        ่                                     ื่
 ก็ให้ระบุชอย่อนั้นในวงเล็บใหญ่ [ ] ไว้ด้วย กรณีนี้ในการ
                ื่
 อ้างครังต่อมาใช้ชื่อย่อนั้นได้ ในกรณีที่ไม่มีชื่อย่อ การอ้าง
          ้
    ครั้งต่อๆมาให้ระบุชอสถาบันเต็มทุกครั้ง (ตัวอย่าง9)
                          ื่
กำรอ้ำงเอกสำรทีผู้แต่งเป็นสถำบัน
               ่
                   ตัวอย่าง 9
                  การอ้างครั้งแรก คือ
      (องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ [ร.ส.พ],
                    2519:25)
   (Asian Institute of Technology [AIT],1981:19)

                  การอ้างครั้งต่อมา
                 (ร.ส.พ.,2519:25)
                   (AIT,1981:19)
กำรอ้ำงเอกสำรทีผู้แต่งเป็นสถำบัน
                ่
      การอ้างถึงผู้แต่งที่เป็นสถาบัน ควรคำานึงถึงแนวทาง
ดังต่อไปนี้ด้วย คือ ต้องพยายามให้ผู้อานไม่สับสนระหว่าง
                                       ่
สถาบันที่อ้างถึงนั้น กับสถาบันอื่นๆทั้งนี้ ถ้าสถาบันนั้นเป็น
หน่วยงานรัฐบาล อย่างน้อยต้องอ้างถึงระดับกรมหรือเทียบ
        เท่าและเขียนอ้างระดับสูงลงมาก่อน เช่น
                 (กรมประชาสัมพันธ์,2534 :33)
                                    ,2534
                           (จุฬาลงกรณ์
     มหาวิทยาลัย,คณะวิศวกรรมศาสตร์,2539 : 21)
                                           ,2539
                            (กระทรวง
      มหาดไทย,สำานักนโยบายและแผน,2538:13)
      (สำานักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ,2539:109)
                                                ,2539:109)
กำรอ้ำงเอกสำรหลำยเรื่องโดยผู้แต่ง
            คนเดียวกัน
          ในการอ้างเอกสารหลายเรื่องที่เขียนโดยผู้แต่งคน
 เดียวกัน แต่ปีพิมพ์ต่างกันให้ระบุนามผูแต่งครั้งเดียว แล้ว
                                        ้
ระบุปีพิมพ์ตามลำาดับ ใช้เครื่องหมายจุลภาค( , ) คันระหว่าง
                                                   ่
         ปีพิมพ์ โดยไม่ตองระบุนามผู้แต่งซำ้าอีก เช่น
                         ้
    (บุญยงค์ เกศเทศ,2516:74,2520:18-20,2523:14-15)
       (Hassam and Grammick,1981:56,1982:154)
        แต่ถาวิทยานิพนธ์อ้างเอกสารหลายเรื่อง ที่เขียนโดย
             ้
ผูแต่งคนเดียวกัน แต่ปีพิมพ์ซำ้ากัน ให้ใช้ a b c d ตามหลังปี
  ้
พิมพ์สำาหรับเอกสารภาษาต่างประเทศ และใช้ ก ข ค ง ตาม
          หลังปีพิมพ์ สำาหรับเอกสารภาษาไทย เช่น
                    (เจือ สตะเวทิน, 2516ก: 3)
         (กระทรวงศึกษาธิการ กรมวิชาการ, 2520ก: 3-34,
                         2520ข: 64)
กำรอ้ำงเอกสำรหลำยเรื่องโดยผู้แต่ง
           หลำยคน
     การอ้างเอกสารหลายเรื่องทีเขียนโดยผู้แต่งต่างกัน พร้อมกัน มี
                                     ่
      วิธีเขียน 2 วิธี ให้เลือกใช้วิธีใดวิธีหนึงตลอดทังเล่ม คือ
                                               ่      ้
     ให้ระบุนามผู้แต่งโดยเรียงตามลำาดับอักษร ตามด้วยปีพิมพ์ และ
    ใส่เครื่องหมายอัฒภาค ( ; ) เอกสารที่อางแต่ละเรื่อง เช่น
                                                   ้
          (เจือ สตะเวทิน, 2516ข: 143; ฐะปะนีย์ นาครทรรพ และ
ประภาศรี สีหอำาไพ, 2519: 98-100; ทองสุข นาคโรจน์, 2519:83
                   เปลื้อง ณ นคร, 2512: 10-15)
       (Fiedler,1967: 15; Kast and Rosenzweig,1973: 46-49;
       Thompson,1967:125; Woodward, 1965: 77-78)
         ให้เรียงตามปีพิมพ์จากน้อยไปหามาก และใช้เครื่องหมาย
  อัฒภาค (;) คั่นระหว่างเอกสารที่อ้างแต่ละเรื่องทั้งนีเพื่อแสดง
                                                        ้
                  วิวัฒนาการของเรื่องที่ศกษา เช่น
                                             ึ
     (Woodward, 1965: 77-78; Fiedler, 1967: 15; Thompson,
        1967:125; Kast and Rosenzweig, 1973: 46-49)
     ในกรณีที่อ้างเอกสารหลายชื่อเรื่อง ทีมีทั้งผู้แต่งเป็นภาษาไทย
                                                 ่
กำรอ้ำงเอกสำรทีไม่ปรำกฏนำมผู้
                  ่
               แต่ง
เอกสารที่ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง มีวิธีการอ้างดังนี้
   เอกสารที่ไม่ปรากฏนามผูแต่งให้ลงชือเรื่องได้เลย
                         ้          ่
   (ภูมิศาสตร์แห่งทวีปเอเชีย, 2482: 15-16)
   (“Study Finds,” 1982:27)
   the book College Bound Seniors (1979:30)…
   เอกสารที่ไม่ปรากฏนามผูแต่ง มีแต่ผู้ทำาหน้าที่เป็น
                          ้
   บรรณาธิการหรือผู้รวบรวม ให้ลงชื่อบรรณาธิการหรือผู้
   รวบรวม
   (Anderson, ed., 1950: 143)
   (Livingstone, comp., 1985: 29)
   (ทวน วิริยาภรณ์, บรรณาธิการ, 2505:60)
กำรอ้ำงหนังสือแปล
ระบุชอผู้เขียนที่เป็นเจ้าของเรื่อง ถ้าไม่ทราบชือผู้เขียน
     ื่                                        ่
จึงระบุชอผู้แปล เช่น
        ื่
(ครอว์ฟอร์ด, 2515: 111)
(สมุท ศิริไข, ผูแปล, 2507: 14-18)
                ้
กำรอ้ำงเอกสำรที่เป็นบทวิจำรณ์
      ให้ใส่ชื่อผู้วิจำรณ์
(Dokecki, 1973: 18)
(เกศินี หงสนันท์, 2517: 379)
กำรอ้ำงเอกสำรทีอ้ำงถึงในเอกสำร
                  ่
               อื่น
         ถ้าต้องการอ้างเอกสารที่ผู้แต่งได้อ้างถึงในงานของ
    ตน การอ้างเช่นนี้ถอว่า มิได้เป็นการอ้างถึงเอกสารนั้น
                       ื
 โดยตรง ให้ระบุนามผูแต่งของเอกสารทั้งสองรายการ โดย
                         ้
ระบุนามผู้แต่งและปีพิมพ์ของเอกสารอันดับแรก ตามด้วยคำา
 ว่า อ้างถึงใน หรือ cited in แล้วระบุนามผู้แต่งของเอกสาร
              อันดับรองและปีพิมพ์ (ตัวอย่าง 10)
กำรอ้ำงเอกสำรทีอ้ำงถึงในเอกสำร
                      ่
                  อื่น
               ตัวอย่าง 10
         ...แท้จริงประโยชน์ที่หอพระสมุดสำาหรับพระนครจะทำาให้แก่บานเมือง
                                                                    ้
   ได้ ไม่ใช่แต่รวมหนังสือเก็บไว้เป็นสมบัติของบ้านเมืองอย่างเดียว ถ้าหาก
สามารถตรวจสอบหนังสืออันเป็นเหตุให้เกิดวิชาความรู้ พิมพ์ให้แพร่หลายได้
ยังเป็นประโยชน์ยิ่งขึนเหมือนกับแจกจ่ายสมบัตินั้นไปให้ถงมหาชนอีกชันหนึ่ง
                     ้                                  ึ             ้
กรรมการจึงเห็นเป็นข้อสำาคัญมาแต่แรกตั้งหอพระสมุดสำาหรับพระนคร ซึ่งหอ
 พระสมุดควรเอาเป็นธุระในเรื่องพิมพ์หนังสือด้วย (สมเด็จกรมพระยาดำารงรา
           ถ้าเอกสารอันดับรองไม่ได้ระบุปพิมพ์ของเอกสารอันดับแรก ให้ลง
                                            ี
          ชานาพ, 2495: 110 อ้างถึงใน แม้นมาส ชวลิต, 2509: 38)
                                     ดังนี้
          (พระยาอนุมานราชธน อ้างถึงใน สายจิตต์ เหมินทร์, 2507: 25-26)
                       (Bradford, cited in Deutsh, 1943: 43)
           ถ้ากล่าวถึงนามเจ้าของเอกสารอันดับแรกในเนือหาอยู่แล้วก็ลงแต่
                                                      ้
เพียงปีพิมพ์และเลขหน้า (ถ้ามี) ของเอกสารอันดับแรกและชื่อเอกสารอันดับ
                          รองไว้ได้ในวงเล็บ ( ) เช่น
          สมเด็จกรมพระยาดำารงราชานุภาพได้ทรงรายงานถึงจำานวนหนังสือ
 ไทยที่มอยู่ในหอพระสมุดสำาหรับพระนครในปี พ.ศ. 2459 ดังนี้คือ...(2459:
        ี
                  60 อ้างถึงใน แม้นมาส ชวลิต, 2509: 24)
          พระยาอนุมานราชธนในเรื่อง แหลมอินโดจีนสมัยโบราณ (สายจิตต์
                          เหมินทร์, 2507: 25-26)…
กำรอ้ำงถึงส่วนหนึ่งของหนังสือรวม
             บทควำม
      การอ้างถึงส่วนหนึ่งของหนังสือซึงเป็นสิ่งพิมพ์รวม
                                     ่
บทความ หรือผลงานของผูเขียนหลายคนและมีผรับผิด
                          ้                     ู้
 ชอบในการรวบรวม หรือทำาหน้าที่บรรณาธิการ ให้ระบุ
 เฉพาะนามผูเขียนบทความ ในกรณีที่ไม่ปรากฏนามผู้
             ้
เขียนบทความ ให้ใช้วธีการอ้างอิงตามแบบเดียวกับการ
                     ิ
อ้างเอกสารที่ไม่ปรากฏนามผูแต่งที่กล่าวมาแล้วข้างต้น
                            ้
กำรอ้ำงเอกสำรพิเศษหรือสื่อ
                       ลัเกษณะอื่นตัวเขียว รายการวิทยุ
       การอ้างถึงเอกสารพิ ศษ เช่น ต้นฉบับ
โทรทัศน์ สไลด์ ฟิลม์สตริปส์ เทป แผนที่ เป็นต้น ให้ระบุลักษณะของ
เอกสารพิเบตัวเขียน ่อนันร์โบราณ
เ  ต้นฉบั ศษหรือสื คัม้ภีๆ
        (London, British Library, Arundel MSS; 285, fol. 165b)
        (“การเกต”. สมุดไทยขาว อักษรไทยเส้นดินสอดำา, 1:55)
        (“ทีฆนิกายมหาวคคปาลี.” ฉบับล่องชาด, ผูก 11)
                               .”
        (“เรื่องงบประมาณการจ่ายเงินแผ่นดิน ร.ศ. 111-112.” หอ
จดหมายเหตุแห่งโทรทัศน์ 1-3. เลขที่ 3, 10, 11.)
3 รายการวิทยุ ชาติ. น.
        (กรมพระยาดำารงราชานุภาพ, รายการโทรทัศน์ ชุด “มรดกไทย”)
        สไลด์ ฟิล์มสตริปส์
        (กรมส่งเสริมการเกษตร, สไลด์)
)    เทป
        (ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช, เทปตลับ)
      เอกสารพิเศษเหล่านี้ ถ้าในการอ้างถึงหัวข้อใดก็ตามที่มีนามซำ้ากัน ให้
ใช้อักษร ก ข ค ง หรือ a b c d กำากับไว้หลังชื่อเช่นกัน เช่น
        (พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ก. สมุดไทยดำาอักษรไทย
เส้นรง: 42-43)
กำรอ้ำงกำรสื่อสำรระหว่ำงบุคคล
       การสื่อสารระหว่างบุคคล อาจเป็นจดหมาย บันทึก
   การสนทนา การสัมภาษณ์ ฯลฯ ให้ระบุชอที่ผเขียนสื่อสาร
                                       ื่ ู้
   ด้วย พร้อมวันที่ถาทำาได้ เช่น
                    ้

   P.K. Nought (personal communication, April 10,
   1983) mentioned…
   (Wichai Sangsakda, interview, January 8, 1992)
   (เสนอ อินทรสุขศรี, จดหมาย, 10 มกราคม 2530)
   (กระมล ทองธรรมชาติ, สัมภาษณ์, 5 กันยายน 2529)
* ลีลาเป็นคำามาจากภาษบาลี แปลว่า การเยื้องกราย ลีลาแห่งกระบวน
 ความร้อยแก้วนัน ได้แก่ การเลือกเฟ้นถ้อยคำามาใช้แสดงความหมาย
                 ้
การนำาคำาที่เลือกเฟ้นนันมารวมเข้าเป็นประโยคและการจัดประโยคในรูป
                       ้
แบบต่างๆ ให้ต่อเนืองกันเป็นข้อความ ส่วนการเลือกเฟ้นถ้อยคำา การจัด
                   ่
ประโดยซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคลนั้นเรียกว่า “ท่วงทำานอง

More Related Content

What's hot

การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdateการเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdatenonny_taneo
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)Srion Janeprapapong
 
Dictionary
DictionaryDictionary
Dictionary
krunatppk
 
4.3 การเขียนลงรายการผู้แต่ง
4.3 การเขียนลงรายการผู้แต่ง4.3 การเขียนลงรายการผู้แต่ง
4.3 การเขียนลงรายการผู้แต่ง
Ploykarn Lamdual
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
4.4 การเขียนลงรายการบรรณานุกรม
4.4 การเขียนลงรายการบรรณานุกรม4.4 การเขียนลงรายการบรรณานุกรม
4.4 การเขียนลงรายการบรรณานุกรม
Ploykarn Lamdual
 
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรมการเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรมthanapat yeekhaday
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
Ku'kab Ratthakiat
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
kruthai40
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2Sitthisak Thapsri
 

What's hot (18)

การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdateการเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
 
การเขียนบทความทางวิชาการ
การเขียนบทความทางวิชาการการเขียนบทความทางวิชาการ
การเขียนบทความทางวิชาการ
 
อ้างอิง
อ้างอิงอ้างอิง
อ้างอิง
 
อ้างอิง
อ้างอิงอ้างอิง
อ้างอิง
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
 
พจนานุกรม
พจนานุกรมพจนานุกรม
พจนานุกรม
 
Dictionary
DictionaryDictionary
Dictionary
 
Zotero manual
Zotero manualZotero manual
Zotero manual
 
4.3 การเขียนลงรายการผู้แต่ง
4.3 การเขียนลงรายการผู้แต่ง4.3 การเขียนลงรายการผู้แต่ง
4.3 การเขียนลงรายการผู้แต่ง
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
4.4 การเขียนลงรายการบรรณานุกรม
4.4 การเขียนลงรายการบรรณานุกรม4.4 การเขียนลงรายการบรรณานุกรม
4.4 การเขียนลงรายการบรรณานุกรม
 
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรมการเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
Kitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotestKitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotest
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
 

Similar to Reference

หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์ หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
Maejo University
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
Supaporn Khiewwan
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
Lib Rru
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
Librru Phrisit
 
คู่มือการเขียนบทความ วารสารการวัดผลการศึกษา
คู่มือการเขียนบทความ วารสารการวัดผลการศึกษา คู่มือการเขียนบทความ วารสารการวัดผลการศึกษา
คู่มือการเขียนบทความ วารสารการวัดผลการศึกษา
Chitpon Chuapaiboon
 
การนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัยการนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัย
DuangdenSandee
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์พัน พัน
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
Bliography
BliographyBliography

Similar to Reference (20)

อ้างอิง
อ้างอิงอ้างอิง
อ้างอิง
 
อ้างอิง
อ้างอิงอ้างอิง
อ้างอิง
 
Bibliography language
Bibliography languageBibliography language
Bibliography language
 
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์ หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
 
Reference format
Reference formatReference format
Reference format
 
อ้างอิง
อ้างอิงอ้างอิง
อ้างอิง
 
คู่มือการเขียนบทความ วารสารการวัดผลการศึกษา
คู่มือการเขียนบทความ วารสารการวัดผลการศึกษา คู่มือการเขียนบทความ วารสารการวัดผลการศึกษา
คู่มือการเขียนบทความ วารสารการวัดผลการศึกษา
 
การนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัยการนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัย
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
Reference
ReferenceReference
Reference
 
Reference
ReferenceReference
Reference
 
Reference resources
Reference resources Reference resources
Reference resources
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
Bliography
BliographyBliography
Bliography
 

Reference

  • 1. การเขี ย นอ้ า งอิ ง เอกสารในรายงาน วิ จ ั ย Reference เรียบเรียง และจัดทำำโดย ศูนย์บริกำรกำรวิจัย สถำบันวิจัย มหำวิทยำลัยกรุงเทพ
  • 2. กำรอ้ำงอิง (Reference) การอ้างอิงในการเขียนรายงานการวิจัยที่นยมใช้กันทัวไปมัก ิ ่ จะอ้างอิงใน 2 ส่วน ด้วยกันคือ 1. การอ้างอิงแทรกในเนือหา (การอ้างอิงแบบนาม-ปี) ้ 2. การอ้างอิงอยู่ท้ายบท หรือบรรณานุกรม (Bibliography) เรียงตามลำาดับการอ้างอิงหรือเรียงตามลำาดับอักษร เมือได้อางอิงแทรกในเนือหาแล้วก็ควรอ้างอิงท้ายบทด้วย ่ ้ ้ ทุกรายการตลอดทั้งเล่มรายงานการวิจัย
  • 3. กำรอ้ำงอิงแทรกในเนือหำ (กำร ้ อ้ำงอิงแบบนำม-ปี) โดยทัวไปจะประกอบด้วยชื่อผู้ ่ แต่งและปีพิมพ์ ในกรณีที่เป็นกำร อ้ำงอิงเนือหำโดยตรงหรือแนวคิดบำง ้ ส่วน หรือเป็นกำรคัดลอกข้อควำมบำง ส่วนมำโดยตรงสมควรระบุเลขหน้ำไว้ ด้วย อย่ำงไรก็ตำม กำรไม่ระบุเลข หน้ำอำจทำำได้ในกรณีทเป็นกำรอ้ำงอิง ี่ งำนของผูอื่นโดยกำรสรุปเนื้อหำหรือ ้
  • 4. หลักและตัวอย่ำงกำรเขียนนำมผู้แต่ง 1. ถ้าเป็นชาวต่างประเทศใช้นามสกุลเท่านั้น ถ้าเป็น ชาวไทยให้ใส่ชอก่อน ื่ แล้วตามด้วยนามสกุล ถึงแม้เขียนเอกสารเป็นภาษาต่าง ประเทศก็ตาม เพราะถือเป็นแบบที่สากลยอมรับแล้วว่า ประเทศไทยใช้เช่นนี้ ( เปลื้อง ณ นคร, 2511: 160) ( Fontana, 1985: 61) ( Thanat Khoman, 1976: 16-25) ( Kasem Suwanagul, 1962: 35) 2. กรณีผู้แต่งมีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ สมณศักดิ์ ( กรมหมื่นนรธิปพงศ์ประพันธ์, 2516: 40) ( พระยาอนุมารราชธน, 2510: 20)
  • 5. 3. กรณีผู้แต่งมียศทางทหาร ตำารวจ หรือมี ตำาแหน่งทางวิชาการ เช่น ศาสตราจารย์ หรือมีคำาเรียก ทางวิชาชีพ เช่น นายแพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร ไม่ ต้องใส่ยศ หรือ ตำาแหน่งทางวิชาการ หรือคำาเรียกทาง วิชาชีพนั้น ๆ ( จรัส สุวรรณเวลา, 2538: 29 ) (วสิษฐ์ เดชกุญชร, 2522: 82 – 83 ) 4. ผู้แต่งใช้นามแฝง ( Dr.Seuss, 1968: 33 – 38 ) ( Twain, 1962: 15 – 22) ( หยก บูรพา, 2520: 47 – 53 )
  • 6. • กำรอ้ำงเอกสำรหนึ่งเรื่องที่มผู้แต่ง ี คนเดียว การอ้างถึงเอกสารหรืองานนั้นทั้งงานโดย รวม ให้ระบุนามผู้แต่งและปีพิมพ์แทรกในข้อความ ในตำาแหน่งที่เหมาะสม กล่าวคือ ถ้าระบุนามผู้ แต่งในเนื้อความ ให้อ้างปีพมพ์ไว้ในวงเล็บ ิ (ตัวอย่าง 1) หรือให้ระบุทั้งนามผู้แต่งและปีพิมพ์ ของเอกสารนั้นในวงเล็บ (ตัวอย่าง 2) ตัวอย่ำง 1 สุจิตรา บูรมินเหนทร์ (2509) ศึกษาว่า ในภาษาไทยมี คำาในหมวดใดบ้าง และคำาอะไรบ้างที่นำามาใช้เป็นคำาซำ้าได้ ผลการศึกษาพบว่าคำาทุกหมวดในจำานวนหมวด สามารถนำามา ใช้เป็นคำาซำ้าได้... Landsteiner (1936) described the hapten concept whereby conjugation of small molecules with
  • 7. ตัวอย่ำง 2 ...ในขณะทีการใช้ผลการวิจัยทางสังคมศาสตร์ส่วนใหญ่อยู่ใน ่ วงแคบ จำากัดเฉพาะในกลุ่มสาขาวิชาของตนเท่านัน (จรรยา สุวรรณ ้ ทัต, 2520) ...Previous work on the group living talapoins(Keverne, 1979),demonstrated ้นซำ้าอีกครังหนึ่ง ไม่ ในย่อหน้าหนึ่ง ๆ เมื่ออ้างถึงงานนั that… ้ ต้องระบุปีพิมพ์ในการอ้างครังต่อมาได้ ถ้างานนั้นเพิ่งถูกอ้าง ้ และไม่สวอย่ำงบงานอื่น (ตัวอย่าง 3) ตั ับสนกั 3 ธีรพันธ์ เหลืองทองคำา (1979) ศึกษาคำาซำ้าทีใช้เป็นคำา ่ วิเศษณ์ และคำาคุณศัพท์ ในภาษาไทยถิ่นอีสาน พบว่าสระหลัง (ทั้ง สระปากห่อและปากไม่ห่อ) แสดงให้เห็นขนาดใหญ่กว่าหรือค่าสูงกว่า ประคอง นิมมารเหมินทร์ (2519) อธิบายความสัมพันธ์ของความ หมาย และเสียงสระในคำาขยายในภาษาอีสานว่า ภาษาอีสานใช้เสียง สระ อิ อี แอะ แอ เอาะ ออ บรรยายลักษณะที่ปรากฏของสิ่งที่มีขนาด เล็ก.....ธีรพันธ์ เหลืองทองคำา และ ประคอง นิมมารเหมินทร์ พบว่า เสียงสระในภาษาไทยถิ่นอีสานมีความสัมพันธ์โดยตรงกับการให้ ความหมายในเชิงขนาดของวัตถุ In a recent study of group living talapoins,Keverne
  • 8. วิธี 1) ให้ระบุชื่อภาษาต่างประเทศในเนือความและระบุปีพิมพ์ใน ้ วงเล็บ (ตัวอย่าง 4) 2) ให้ระบุชื่อเป็นภาษาไทยในเนือความก่อนและวงเล็บชื่อภาษา ้ ต่างประเทศและปีพิมพ์(ตัวอย่าง 5) ตัวอย่าง 4 Read ( 1972 a: 15-17) ได้อธิบายถึงลำาดับขั้นในการเตรียมทำา รายงานดังนี.. ้ ตัวอย่าง 5 แมคโดนัฟ ให้ความเห็นว่า “หลักสูตรการเรียนการสอนภาษาทีมี ่ ลักษณะเจาะจงเป็นวิธีทดีทสุดทีจะบรรลุวัตถุประสงค์หลักการของการ ี่ ี่ ่ ศึกษาทีใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อ” ่ ถ้ำอ้ำงเอกสำรเรื่องเดียว เขียนโดยผู้แต่งคนเดียว แต่มี หลำยเล่มจบให้ระบุหมำยเลขของเล่มที่อ้ำงถึงด้วย เช่น (พระบริหารเทพธานี, 2546, เล่ม 3)
  • 9. กำรอ้ำงเอกสำรหนึ่งเรื่องที่มผู้แต่ง 2 ี คน เมื่อเอกสารที่อ้างถึงมีผู้แต่ง 2 คน ให้ระบุนามผู้ แต่งทัตัวอย่คน6ทุกครั้งที่มีการอ้างโดยใช้คำา และหรือ ้ง 2 าง and เชือม นามผู้แต่ง (ตัวอย่าง 6) ่ Schlachter และ Thompson (1974) ศึกษาวิธีวิจัยที่ใช้ ในวิทยานิพนธ์บรรณารักษศาสตร์และพบว่า... จากการวิเคราะห์ วิธีวิจัยที่ใช้ในวิทยานิพนธ์บรณารักษ์ศาสตร์พบว่า วิธีวิจัยเชิง สำารวจมีผู้นิยมใช้กันแพร่หลายและคงจะเป็นที่นิยมใช้ต่อไป (Shalachter and Thompson, 1974) In some studies the theoretical constructs are based on assumptions and premises about the information transfer process, Which derives from the the oretical formulation of Shannon and Weaver (1949)
  • 10. กำรอ้ำงเอกสำรหนึ่งเรื่องที่มผู้แต่ง 3 ี คน เวลาอ้างถึงเอกสารที่มีผู้แต่ง 3 คนครั้งแรก ให้ระบุ นามผูแต่งทุกคน (ตัวอย่าง 7) เมื่ออ้างถึงครั้งต่อไป ให้ระบุ ้ เฉพาะนามผูแต่งคนแรก ตามด้วย et al. หรือ and others ้ สำาหรับเอกสารภาษาอังกฤษ และคำา และคณะ หรือ และคน อืนๆ สำาหรับเอกสารภาษาไทย (ตัวอย่าง 8) ่ ตัวอย่าง 7 คณิต มีสมมนต์,แสวง โพธิ์เงิน และสนอง ค้านสิทธิ(2502:25) ์ ได้กล่าวถึงคุณสมบัตของแม่เหล็กว่า.... ิ Sorensen, Compbell และ Poss(1975 : 8-10) ค้นพบ ว่า...Case,Borgman,and Meadow(1986”31) Stated:…
  • 11. ตัวอย่าง 8 คณิต มีสมมนต์ และคณะ(2502:27) กล่าวสรุปไว้ดังนี...้ Sorensen และคนอื่นๆ (1975:35) ได้สรุปเพิ่มเติมว่า... Writing is one way of making meaning from experience for ourselves and for others (Case et al.,1986:31) ข้อยกเว้น ถ้าเอกสารสองเรื่องที่อ้างครั้งต่อมา เมื่อเขียนย่อโดยใช้ et al. และทำาให้รายการที่อางปรากฏคล้ายกันเช่น ้ Bradley,Ramirez, and Soo (1973)… Bradley,Soo and Brown(1983)… ถ้าเขียนย่อจะเป็น Bradley et al.(1983) เหมือนกัน ในกรณี เช่นนีเพื่อไม่ให้ผู้อานสับสนให้ ้ ่ เขียนชื่อผู้แต่งทุกคน
  • 12. กำรอ้ำงเอกสำรหนึงเรื่องทีมีผู้แต่ง ่ ่ มำกกว่ำ 3 คน ในการอ้างถึงทุกครั้ง ให้ระบุเฉพาะนามผูแต่งคนแรก ้ พร้อมคำา et al. หรือ and others สำาหรับเอกสารภาษา อังกฤษ และคำา และคณะ หรือคนอื่นๆ สำาหรับเอกสารภาษา ไทย ข้อยกเว้น ถ้าเอกสารสองเรื่องที่อ้างเมื่อเขียนย่อแล้วทำาให้ รายการที่อ้างปรากฏคล้ายกัน ในกรณีนี้เมื่ออ้างถึงเอกสาร เหล่านั้นในเนื้อความ ให้พยายามระบุผู้แต่งคนต่อมาเรือยๆ่ จนถึงชือผู้แต่งที่ไม่ซำ้ากัน เช่น ่ Takac,Schaefer,Malonet,Bryant,Cron,and Wang(1982) และ Takac,Schaefer,Bryant,Wood,Maloney,and Cron
  • 13. กำรอ้ำงเอกสำรทีผู้แต่งเป็นสถำบัน ่ เมื่ออ้างเอกสารที่มีสถาบันเป็นผูแต่งแทรกในเนื้อ ้ ความในระบบนาม-ปี ให้ระบุนามผูแต่งที่เป็นสถาบัน โดย ้ เขียนชือเต็มในการอ้างครั้งแรก และถ้ามีชอย่อที่เป็นทางการ ่ ื่ ก็ให้ระบุชอย่อนั้นในวงเล็บใหญ่ [ ] ไว้ด้วย กรณีนี้ในการ ื่ อ้างครังต่อมาใช้ชื่อย่อนั้นได้ ในกรณีที่ไม่มีชื่อย่อ การอ้าง ้ ครั้งต่อๆมาให้ระบุชอสถาบันเต็มทุกครั้ง (ตัวอย่าง9) ื่
  • 14. กำรอ้ำงเอกสำรทีผู้แต่งเป็นสถำบัน ่ ตัวอย่าง 9 การอ้างครั้งแรก คือ (องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ [ร.ส.พ], 2519:25) (Asian Institute of Technology [AIT],1981:19) การอ้างครั้งต่อมา (ร.ส.พ.,2519:25) (AIT,1981:19)
  • 15. กำรอ้ำงเอกสำรทีผู้แต่งเป็นสถำบัน ่ การอ้างถึงผู้แต่งที่เป็นสถาบัน ควรคำานึงถึงแนวทาง ดังต่อไปนี้ด้วย คือ ต้องพยายามให้ผู้อานไม่สับสนระหว่าง ่ สถาบันที่อ้างถึงนั้น กับสถาบันอื่นๆทั้งนี้ ถ้าสถาบันนั้นเป็น หน่วยงานรัฐบาล อย่างน้อยต้องอ้างถึงระดับกรมหรือเทียบ เท่าและเขียนอ้างระดับสูงลงมาก่อน เช่น (กรมประชาสัมพันธ์,2534 :33) ,2534 (จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย,คณะวิศวกรรมศาสตร์,2539 : 21) ,2539 (กระทรวง มหาดไทย,สำานักนโยบายและแผน,2538:13) (สำานักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ,2539:109) ,2539:109)
  • 16. กำรอ้ำงเอกสำรหลำยเรื่องโดยผู้แต่ง คนเดียวกัน ในการอ้างเอกสารหลายเรื่องที่เขียนโดยผู้แต่งคน เดียวกัน แต่ปีพิมพ์ต่างกันให้ระบุนามผูแต่งครั้งเดียว แล้ว ้ ระบุปีพิมพ์ตามลำาดับ ใช้เครื่องหมายจุลภาค( , ) คันระหว่าง ่ ปีพิมพ์ โดยไม่ตองระบุนามผู้แต่งซำ้าอีก เช่น ้ (บุญยงค์ เกศเทศ,2516:74,2520:18-20,2523:14-15) (Hassam and Grammick,1981:56,1982:154) แต่ถาวิทยานิพนธ์อ้างเอกสารหลายเรื่อง ที่เขียนโดย ้ ผูแต่งคนเดียวกัน แต่ปีพิมพ์ซำ้ากัน ให้ใช้ a b c d ตามหลังปี ้ พิมพ์สำาหรับเอกสารภาษาต่างประเทศ และใช้ ก ข ค ง ตาม หลังปีพิมพ์ สำาหรับเอกสารภาษาไทย เช่น (เจือ สตะเวทิน, 2516ก: 3) (กระทรวงศึกษาธิการ กรมวิชาการ, 2520ก: 3-34, 2520ข: 64)
  • 17. กำรอ้ำงเอกสำรหลำยเรื่องโดยผู้แต่ง หลำยคน การอ้างเอกสารหลายเรื่องทีเขียนโดยผู้แต่งต่างกัน พร้อมกัน มี ่ วิธีเขียน 2 วิธี ให้เลือกใช้วิธีใดวิธีหนึงตลอดทังเล่ม คือ ่ ้ ให้ระบุนามผู้แต่งโดยเรียงตามลำาดับอักษร ตามด้วยปีพิมพ์ และ ใส่เครื่องหมายอัฒภาค ( ; ) เอกสารที่อางแต่ละเรื่อง เช่น ้ (เจือ สตะเวทิน, 2516ข: 143; ฐะปะนีย์ นาครทรรพ และ ประภาศรี สีหอำาไพ, 2519: 98-100; ทองสุข นาคโรจน์, 2519:83 เปลื้อง ณ นคร, 2512: 10-15) (Fiedler,1967: 15; Kast and Rosenzweig,1973: 46-49; Thompson,1967:125; Woodward, 1965: 77-78) ให้เรียงตามปีพิมพ์จากน้อยไปหามาก และใช้เครื่องหมาย อัฒภาค (;) คั่นระหว่างเอกสารที่อ้างแต่ละเรื่องทั้งนีเพื่อแสดง ้ วิวัฒนาการของเรื่องที่ศกษา เช่น ึ (Woodward, 1965: 77-78; Fiedler, 1967: 15; Thompson, 1967:125; Kast and Rosenzweig, 1973: 46-49) ในกรณีที่อ้างเอกสารหลายชื่อเรื่อง ทีมีทั้งผู้แต่งเป็นภาษาไทย ่
  • 18. กำรอ้ำงเอกสำรทีไม่ปรำกฏนำมผู้ ่ แต่ง เอกสารที่ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง มีวิธีการอ้างดังนี้ เอกสารที่ไม่ปรากฏนามผูแต่งให้ลงชือเรื่องได้เลย ้ ่ (ภูมิศาสตร์แห่งทวีปเอเชีย, 2482: 15-16) (“Study Finds,” 1982:27) the book College Bound Seniors (1979:30)… เอกสารที่ไม่ปรากฏนามผูแต่ง มีแต่ผู้ทำาหน้าที่เป็น ้ บรรณาธิการหรือผู้รวบรวม ให้ลงชื่อบรรณาธิการหรือผู้ รวบรวม (Anderson, ed., 1950: 143) (Livingstone, comp., 1985: 29) (ทวน วิริยาภรณ์, บรรณาธิการ, 2505:60)
  • 19. กำรอ้ำงหนังสือแปล ระบุชอผู้เขียนที่เป็นเจ้าของเรื่อง ถ้าไม่ทราบชือผู้เขียน ื่ ่ จึงระบุชอผู้แปล เช่น ื่ (ครอว์ฟอร์ด, 2515: 111) (สมุท ศิริไข, ผูแปล, 2507: 14-18) ้
  • 20. กำรอ้ำงเอกสำรที่เป็นบทวิจำรณ์ ให้ใส่ชื่อผู้วิจำรณ์ (Dokecki, 1973: 18) (เกศินี หงสนันท์, 2517: 379)
  • 21. กำรอ้ำงเอกสำรทีอ้ำงถึงในเอกสำร ่ อื่น ถ้าต้องการอ้างเอกสารที่ผู้แต่งได้อ้างถึงในงานของ ตน การอ้างเช่นนี้ถอว่า มิได้เป็นการอ้างถึงเอกสารนั้น ื โดยตรง ให้ระบุนามผูแต่งของเอกสารทั้งสองรายการ โดย ้ ระบุนามผู้แต่งและปีพิมพ์ของเอกสารอันดับแรก ตามด้วยคำา ว่า อ้างถึงใน หรือ cited in แล้วระบุนามผู้แต่งของเอกสาร อันดับรองและปีพิมพ์ (ตัวอย่าง 10)
  • 22. กำรอ้ำงเอกสำรทีอ้ำงถึงในเอกสำร ่ อื่น ตัวอย่าง 10 ...แท้จริงประโยชน์ที่หอพระสมุดสำาหรับพระนครจะทำาให้แก่บานเมือง ้ ได้ ไม่ใช่แต่รวมหนังสือเก็บไว้เป็นสมบัติของบ้านเมืองอย่างเดียว ถ้าหาก สามารถตรวจสอบหนังสืออันเป็นเหตุให้เกิดวิชาความรู้ พิมพ์ให้แพร่หลายได้ ยังเป็นประโยชน์ยิ่งขึนเหมือนกับแจกจ่ายสมบัตินั้นไปให้ถงมหาชนอีกชันหนึ่ง ้ ึ ้ กรรมการจึงเห็นเป็นข้อสำาคัญมาแต่แรกตั้งหอพระสมุดสำาหรับพระนคร ซึ่งหอ พระสมุดควรเอาเป็นธุระในเรื่องพิมพ์หนังสือด้วย (สมเด็จกรมพระยาดำารงรา ถ้าเอกสารอันดับรองไม่ได้ระบุปพิมพ์ของเอกสารอันดับแรก ให้ลง ี ชานาพ, 2495: 110 อ้างถึงใน แม้นมาส ชวลิต, 2509: 38) ดังนี้ (พระยาอนุมานราชธน อ้างถึงใน สายจิตต์ เหมินทร์, 2507: 25-26) (Bradford, cited in Deutsh, 1943: 43) ถ้ากล่าวถึงนามเจ้าของเอกสารอันดับแรกในเนือหาอยู่แล้วก็ลงแต่ ้ เพียงปีพิมพ์และเลขหน้า (ถ้ามี) ของเอกสารอันดับแรกและชื่อเอกสารอันดับ รองไว้ได้ในวงเล็บ ( ) เช่น สมเด็จกรมพระยาดำารงราชานุภาพได้ทรงรายงานถึงจำานวนหนังสือ ไทยที่มอยู่ในหอพระสมุดสำาหรับพระนครในปี พ.ศ. 2459 ดังนี้คือ...(2459: ี 60 อ้างถึงใน แม้นมาส ชวลิต, 2509: 24) พระยาอนุมานราชธนในเรื่อง แหลมอินโดจีนสมัยโบราณ (สายจิตต์ เหมินทร์, 2507: 25-26)…
  • 23. กำรอ้ำงถึงส่วนหนึ่งของหนังสือรวม บทควำม การอ้างถึงส่วนหนึ่งของหนังสือซึงเป็นสิ่งพิมพ์รวม ่ บทความ หรือผลงานของผูเขียนหลายคนและมีผรับผิด ้ ู้ ชอบในการรวบรวม หรือทำาหน้าที่บรรณาธิการ ให้ระบุ เฉพาะนามผูเขียนบทความ ในกรณีที่ไม่ปรากฏนามผู้ ้ เขียนบทความ ให้ใช้วธีการอ้างอิงตามแบบเดียวกับการ ิ อ้างเอกสารที่ไม่ปรากฏนามผูแต่งที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ้
  • 24. กำรอ้ำงเอกสำรพิเศษหรือสื่อ ลัเกษณะอื่นตัวเขียว รายการวิทยุ การอ้างถึงเอกสารพิ ศษ เช่น ต้นฉบับ โทรทัศน์ สไลด์ ฟิลม์สตริปส์ เทป แผนที่ เป็นต้น ให้ระบุลักษณะของ เอกสารพิเบตัวเขียน ่อนันร์โบราณ เ ต้นฉบั ศษหรือสื คัม้ภีๆ (London, British Library, Arundel MSS; 285, fol. 165b) (“การเกต”. สมุดไทยขาว อักษรไทยเส้นดินสอดำา, 1:55) (“ทีฆนิกายมหาวคคปาลี.” ฉบับล่องชาด, ผูก 11) .” (“เรื่องงบประมาณการจ่ายเงินแผ่นดิน ร.ศ. 111-112.” หอ จดหมายเหตุแห่งโทรทัศน์ 1-3. เลขที่ 3, 10, 11.) 3 รายการวิทยุ ชาติ. น. (กรมพระยาดำารงราชานุภาพ, รายการโทรทัศน์ ชุด “มรดกไทย”) สไลด์ ฟิล์มสตริปส์ (กรมส่งเสริมการเกษตร, สไลด์) ) เทป (ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช, เทปตลับ) เอกสารพิเศษเหล่านี้ ถ้าในการอ้างถึงหัวข้อใดก็ตามที่มีนามซำ้ากัน ให้ ใช้อักษร ก ข ค ง หรือ a b c d กำากับไว้หลังชื่อเช่นกัน เช่น (พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ก. สมุดไทยดำาอักษรไทย เส้นรง: 42-43)
  • 25. กำรอ้ำงกำรสื่อสำรระหว่ำงบุคคล การสื่อสารระหว่างบุคคล อาจเป็นจดหมาย บันทึก การสนทนา การสัมภาษณ์ ฯลฯ ให้ระบุชอที่ผเขียนสื่อสาร ื่ ู้ ด้วย พร้อมวันที่ถาทำาได้ เช่น ้ P.K. Nought (personal communication, April 10, 1983) mentioned… (Wichai Sangsakda, interview, January 8, 1992) (เสนอ อินทรสุขศรี, จดหมาย, 10 มกราคม 2530) (กระมล ทองธรรมชาติ, สัมภาษณ์, 5 กันยายน 2529) * ลีลาเป็นคำามาจากภาษบาลี แปลว่า การเยื้องกราย ลีลาแห่งกระบวน ความร้อยแก้วนัน ได้แก่ การเลือกเฟ้นถ้อยคำามาใช้แสดงความหมาย ้ การนำาคำาที่เลือกเฟ้นนันมารวมเข้าเป็นประโยคและการจัดประโยคในรูป ้ แบบต่างๆ ให้ต่อเนืองกันเป็นข้อความ ส่วนการเลือกเฟ้นถ้อยคำา การจัด ่ ประโดยซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคลนั้นเรียกว่า “ท่วงทำานอง