SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 4 เรื่อง Method
จัดทาโดย
นายณัชนน หมอกลาง
เลขที่ 2
นายพงศธร อยู่คง
เลขที่ 3
น.ส.ปรียาภรณ์ แสงทวี
เลขที่ 14
น.ส.ทิพย์อักษร โตแก้ว
เลขที่ 18
น.ส.ประภัสสร บุญเงิน
เลขที่ 21
น.ส.จุฑารัตน์ ลิ้มทอง
เลขที่ 34
กลุ่มที่ 3
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2
เสนอ
คุณครูทรงศักดิ์ เอี่ยมโพธิ์
Method คืออะไร
เมธอด (Method) คือ ความสามารถในการทางานของออบเจ็กต์ มันถูกสร้างขึ้นมา
พร้อมกับการสร้างออบเจ็กต์ ซึ่งออบเจ็กต์ที่สร้างจากคลาสเดียวกันก็จะมีรายการของเมธอดต่างๆ
เหมือนกัน
การที่ออบเจ็กต์มีเมธอดจะช่วยให้ผู้ใช้งาน ไม่ต้องกังวล หรือไม่ต้องสนใจว่า จะมี
วิธีการทางานภายในเมธอดเป็นอย่างไร สนใจเพียงแค่ใช้งานอย่างไร ช่วยให้เมธอดที่มีไม่ถูกยุ่ง
ย่ามก้าวก่ายโดยไม่จาเป็น
อาร์กิวเมนต์และพารามิเตอร์
เมธอดหลักและเมธอดย่อย

เมธอดหลัก
- สร้างขึ้นเพื่อเรียกเมธอดอื่นๆ ขึ้นมาทางาน
- มีการเข้าถึงเมธอดหลักแบบสาธารณะ(public) สามารถนาเมธอดหลักไปใช้ได้กับทุกๆ คลาส
- สามารถเรียกใช้งานได้ทันทีไม่ต้องผ่านออบเจ็กต์
- ไม่มีการคืนค่ากลับไปที่เมธอดอื่น
รูปแบบการสร้างเมธอดหลัก
public static void main(String[ ] args)
{
รายละเอียดการทางานในเมธอด
}

- สาหรับเมธอดย่อยทั่วๆ ไปที่ไม่ใช่เมธอดหลัก อาจเป็น static method ,instant
method, contructor method, Overloading method หรือ Overriding method ก็ได้ แต่ละ
ชนิดมีโครงสร้างไม่เหมือนกับเมธอดหลัก ส่วนประกอบบางอย่างอาจมีหรือไม่มีก็ได้
ตามแต่ลักษณะการทางาน
รูปแบบการสร้างเมธอดย่อย
การเข้าถึงเมธอด ชนิดของข้อมูลที่จะส่งกลับออกไป ชื่อเมธอด
(ลักษณะของตัวแปรส่ง ชื่อตัวแปรส่ง)
{
รายละเอียดการทางานในเมธอด
}
Method รูปแบบต่างๆ
เมธอดมีอยู่ด้วยกัน 5 ประเภทแบ่งตามลักษณะการทางานดังนี้
ประเภทที่ 1 : static method เป็นเมธอดที่เรียกใช้ตัวแปรได้ทันที ไม่ต้องมีการสร้าง
ออบเจ็กต์ขึ้นมาเพื่อเรียกใช้ตัวแปร เช่น การคานวณทางคณิตศาสตร์ ซึ่ง static method
จะรับค่าที่ผู้ใช้ต้องการคานวณ และทาการคานวณ แล้วส่งผลลัพธ์กลับไปยังผู้ใช้
Method รูปแบบต่างๆ
ประเภทที่ 2 :instance method เป็นเมธอดทั่วๆ ไปที่สร้างขึ้นมาใช้กันบ่อยๆ เมธอด
แบบนี้จะไม่มีคาว่า static อยู่ข้างหน้าตัวแปร เมื่อจะเรียกใช้ method ประเภทนี้ จะต้องมี
การสร้างออบเจ็กต์ขึ้นมา
ประเภทที่ 3 : constructor method / constructor คือเมธอดที่มีชื่อเดียวกับคลาส ซึ่งเมื่อ
ออบเจ็กต์ใดๆ ถูกสร้างขึ้นมาจากคลาสแล้ว เมธอดนี้จะเริ่มทางานทันทีเป็นเมธอดแรก
(ปกติมักจะใช้กาหนดค่าเริ่มต้นของการทางาน)
ประเภทที่ 4 : Overloading method คือ เมธอดหลายเมธอดที่มีชื่อเดียวกัน แต่มีชนิดของ
ตัวแปรต่างชนิดกัน หรือจานวนอาร์กิวเมนต์ไม่เท่ากัน เพราะงานบางงานอาจใช้ชื่องาน
เดียวกัน แต่ต้องมีการแยกแยะว่า มีการส่งค่าตัวแปรชนิดใดมา เช่น ถ้าส่งค่าตัวแปรมาเป็น
Integer ก็ให้ทางานในเมธอดหนึ่ง ถ้าส่งมาเป็น String ก็ให้ทางานในอีกเมธอดหนึ่ง
ประเภทที่ 5 : Overriding method คือ เมธอดหลายเมธอดที่มีชื่อเดียวกัน ชนิดของตัว
แปรเหมือนกัน แต่เขียนโปรแกรมในลักษณะที่เมธอดหนึ่งอยู่ในคลาสแม่ อีกเมธอดหนึ่ง
อยู่ในคลาสลูก ซึ่งเมื่อมีเมธอดชื่อซ้ากัน รับค่าของตัวแปรเหมือนกันปรากฏในคลาสลูก
โปรแกรมจะทางานตามคาสั่งในคลาสลูกโดยอัตโนมัติ ซึ่งส่วนนี้เราจะอธิบายอย่างละเอียด
ในบท Inheritance
การใช้งานเมธอดสาเร็จรูป
- เมธอดสาเร็จรูปเกี่ยวกับสตริง
รูปแบบการใช้งาน
System.out.print ( “ข้อความ”);
System.out.println ( “ข้อความ”);
System.out.print ( “ข้อความ”+ ตัวแปร);
System.out.print (ตัวแปร +“ข้อความ”);
System.out.print ( “ข้อความ” + ตัวแปร + “ข้อความ”);
System.out.print (ตัวแปร );

-การจัดรูปแบบการแสดงผลตัวเลข
รูปแบบการใช้งาน
DecimalFormat ชื่อออบเจ็กต์ = new DecimalFormat(
pattern);
เมธอด toUpperCase : เปลี่ยนข้อความเป็นตัวพิมพ์ใหญ่
รูปแบบการใช้งาน

ข้อความ.toUpperCase( )
เมธอด toLowerCase : เปลี่ยนข้อความเป็นตัวพิมพ์เล็ก
รูปแบบการใช้งาน
ข้อความ. toLowerCase( )

การตัดคาด้วยเมธอด substring
รูปแบบการใช้งาน
ข้อความ. Substring( ตาแหน่งเริ่มต้นของคาที่การเหลือไว้ ,
จานวนตัวอักษรที่ต้องการเหลือไว้);
การแทนที่คาด้วยเมธอด replace
รูปแบบการใช้งาน
ข้อความเดิม.replace( คาที่จะถูกแทนที,่ คาใหม่ที่แทนที่);

เมธอดที่ใช้ตัดช่องว่างด้วย trim
รูปแบบการใช้งาน
ข้อความ.trim( );

เมธอด split: แยกข้อความออกเป็นส่วนๆ
รูปแบบการใช้งาน
ข้อความ.Split(“อักษรที่ใช้ในการแบ่งข้อความ”);
เมธอด length : หาความยาวของข้อความ
รูปแบบการใช้งาน

ข้อความ.length( )
เมธอด floor : ปัดเศษทศนิยมลง
รูปแบบการใช้งาน
Math.floor(ตัวแปร หรือเลขทศนิยม);

เมธอด ceil : ปัดเศษทศนิยมขึ้น
รูปแบบการใช้งาน
Math.ceil(ตัวแปร หรือเลขทศนิยม);
เมธอด round : ปัดทศนิยมตามหลักคณิตศาสตร์
รูปแบบการใช้งาน
round (เลขทศนิยม, ตาแหน่งที่ต้องการปัดเศษทศนิยม);

เมธอด random : สุ่มตัวเลขทศนิยม
รูปแบบการใช้งาน
Math.random( );
เมธอดเพื่อการคานวณทางคณิตศาสตร์
นอกจากเมธอดทางคณิตศาสตร์ที่ได้กล่าวก่อนหน้านี้แล้ว ยังมีเมธอด
คณิตศาสตร์อื่นๆ ที่ช่วยในการคานวณทางคณิตศาสตร์ และการแปลงตัวเลขรูปแบบ
ต่างๆ มาให้ใช้งานกันมากมาย ดังตารางต่อไปนี้
คลาส Date: แสดงวันเดือนปี และเวลา
หรือ รูปแบบการใช้งาน
Date ชื่อออบเจ็กต์ = new Date( );
SimpleDateFormat ชื่อออบเจ็กต์ = new SimpleDateFormat(รูปแบบที่
ต้องการแสดง);

More Related Content

What's hot

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ไอไอซ์ อ้อยหวาน
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Preawpraow Klinhomm
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)
MSWORD2010 COMPUTER
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)sutham lrp
 
เค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมเค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมMark Siwadol
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน(คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน(คู่)แบบเสนอโครงร่างโครงงาน(คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน(คู่)
Nuttanicha Ardharn
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง sutham lrp
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง
MSWORD2010 COMPUTER
 
โรค
โรคโรค
โรค
Oatty_CMU
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Daranpop Doungdetch
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วน
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วนงานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วน
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วนsutham lrp
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วน
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วนงานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วน
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วน
MSWORD2010 COMPUTER
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Supharat Rungsri
 
บท5 นวัต
บท5 นวัตบท5 นวัต
บท5 นวัตO-mu Aomaam
 
2559 project -final
2559 project -final2559 project -final
2559 project -final
tata natt
 

What's hot (15)

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)
 
เค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมเค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน(คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน(คู่)แบบเสนอโครงร่างโครงงาน(คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน(คู่)
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง
 
โรค
โรคโรค
โรค
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วน
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วนงานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วน
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วน
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วน
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วนงานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วน
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บท5 นวัต
บท5 นวัตบท5 นวัต
บท5 นวัต
 
2559 project -final
2559 project -final2559 project -final
2559 project -final
 

Similar to เมธอด กลุ่ม3

เมธอด
เมธอดเมธอด
เมธอด
Sutthathip Jane
 
Com final
Com finalCom final
Com final
RungtiwaWongchai
 
Woonkrathi
WoonkrathiWoonkrathi
Woonkrathi
Nch Nicha
 
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานaungdora57
 
รายชื่อท่องเที่ยว
รายชื่อท่องเที่ยวรายชื่อท่องเที่ยว
รายชื่อท่องเที่ยวamixdouble
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thanyaret Kongraj
 
Computer
ComputerComputer
Computer
poompeemm
 
เรื่อง การดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
เรื่อง  การดำรงชีวิตอย่างมีความสุขเรื่อง  การดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
เรื่อง การดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
wann555
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์citylong117
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยNetchanOk Maneechai
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
amixdouble
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมScott Tape
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 2 การแทรกกล่องข้อความ
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 2 การแทรกกล่องข้อความงานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 2 การแทรกกล่องข้อความ
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 2 การแทรกกล่องข้อความ
MSWORD2010 COMPUTER
 

Similar to เมธอด กลุ่ม3 (20)

เมธอด
เมธอดเมธอด
เมธอด
 
Com final
Com finalCom final
Com final
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
Woonkrathi
WoonkrathiWoonkrathi
Woonkrathi
 
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
รายชื่อท่องเที่ยว
รายชื่อท่องเที่ยวรายชื่อท่องเที่ยว
รายชื่อท่องเที่ยว
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
3
33
3
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Cover (1)
Cover (1)Cover (1)
Cover (1)
 
Cover (1)
Cover (1)Cover (1)
Cover (1)
 
Cover
CoverCover
Cover
 
ใบงานที่ 2 16
ใบงานที่ 2 16ใบงานที่ 2 16
ใบงานที่ 2 16
 
เรื่อง การดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
เรื่อง  การดำรงชีวิตอย่างมีความสุขเรื่อง  การดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
เรื่อง การดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 2 การแทรกกล่องข้อความ
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 2 การแทรกกล่องข้อความงานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 2 การแทรกกล่องข้อความ
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 2 การแทรกกล่องข้อความ
 

More from Mook Prapasson

การแข่งขัน
การแข่งขันการแข่งขัน
การแข่งขันMook Prapasson
 
การแข่งขัน
การแข่งขันการแข่งขัน
การแข่งขัน
Mook Prapasson
 
My map เมธอด
My map เมธอดMy map เมธอด
My map เมธอดMook Prapasson
 
My map เมธอด
My map เมธอดMy map เมธอด
My map เมธอดMook Prapasson
 
เมธอด กลุ่ม3
เมธอด กลุ่ม3เมธอด กลุ่ม3
เมธอด กลุ่ม3Mook Prapasson
 
เมธอด กลุ่ม3
เมธอด กลุ่ม3เมธอด กลุ่ม3
เมธอด กลุ่ม3
Mook Prapasson
 
งานชิ้นที่ 1
งานชิ้นที่ 1งานชิ้นที่ 1
งานชิ้นที่ 1Mook Prapasson
 
งานชิ้นที่ 1
งานชิ้นที่ 1งานชิ้นที่ 1
งานชิ้นที่ 1Mook Prapasson
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Mook Prapasson
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Mook Prapasson
 
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
Mook Prapasson
 
เทคโนโลยี เครื่องฉาย Projector ขนาดเล็ก พกง่ายใช้คล่อง
เทคโนโลยี เครื่องฉาย Projector ขนาดเล็ก พกง่ายใช้คล่องเทคโนโลยี เครื่องฉาย Projector ขนาดเล็ก พกง่ายใช้คล่อง
เทคโนโลยี เครื่องฉาย Projector ขนาดเล็ก พกง่ายใช้คล่องMook Prapasson
 

More from Mook Prapasson (16)

การแข่งขัน
การแข่งขันการแข่งขัน
การแข่งขัน
 
การแข่งขัน
การแข่งขันการแข่งขัน
การแข่งขัน
 
My map เมธอด
My map เมธอดMy map เมธอด
My map เมธอด
 
My map เมธอด
My map เมธอดMy map เมธอด
My map เมธอด
 
เมธอด กลุ่ม3
เมธอด กลุ่ม3เมธอด กลุ่ม3
เมธอด กลุ่ม3
 
เมธอด กลุ่ม3
เมธอด กลุ่ม3เมธอด กลุ่ม3
เมธอด กลุ่ม3
 
ศิวกร
ศิวกร ศิวกร
ศิวกร
 
It new hoom
It new hoomIt new hoom
It new hoom
 
It news
It newsIt news
It news
 
งานชิ้นที่ 1
งานชิ้นที่ 1งานชิ้นที่ 1
งานชิ้นที่ 1
 
งานชิ้นที่ 1
งานชิ้นที่ 1งานชิ้นที่ 1
งานชิ้นที่ 1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
 
เทคโนโลยี เครื่องฉาย Projector ขนาดเล็ก พกง่ายใช้คล่อง
เทคโนโลยี เครื่องฉาย Projector ขนาดเล็ก พกง่ายใช้คล่องเทคโนโลยี เครื่องฉาย Projector ขนาดเล็ก พกง่ายใช้คล่อง
เทคโนโลยี เครื่องฉาย Projector ขนาดเล็ก พกง่ายใช้คล่อง
 

เมธอด กลุ่ม3

  • 1. บทที่ 4 เรื่อง Method จัดทาโดย นายณัชนน หมอกลาง เลขที่ 2 นายพงศธร อยู่คง เลขที่ 3 น.ส.ปรียาภรณ์ แสงทวี เลขที่ 14 น.ส.ทิพย์อักษร โตแก้ว เลขที่ 18 น.ส.ประภัสสร บุญเงิน เลขที่ 21 น.ส.จุฑารัตน์ ลิ้มทอง เลขที่ 34 กลุ่มที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 เสนอ คุณครูทรงศักดิ์ เอี่ยมโพธิ์
  • 2. Method คืออะไร เมธอด (Method) คือ ความสามารถในการทางานของออบเจ็กต์ มันถูกสร้างขึ้นมา พร้อมกับการสร้างออบเจ็กต์ ซึ่งออบเจ็กต์ที่สร้างจากคลาสเดียวกันก็จะมีรายการของเมธอดต่างๆ เหมือนกัน การที่ออบเจ็กต์มีเมธอดจะช่วยให้ผู้ใช้งาน ไม่ต้องกังวล หรือไม่ต้องสนใจว่า จะมี วิธีการทางานภายในเมธอดเป็นอย่างไร สนใจเพียงแค่ใช้งานอย่างไร ช่วยให้เมธอดที่มีไม่ถูกยุ่ง ย่ามก้าวก่ายโดยไม่จาเป็น
  • 4. เมธอดหลักและเมธอดย่อย เมธอดหลัก - สร้างขึ้นเพื่อเรียกเมธอดอื่นๆ ขึ้นมาทางาน - มีการเข้าถึงเมธอดหลักแบบสาธารณะ(public) สามารถนาเมธอดหลักไปใช้ได้กับทุกๆ คลาส - สามารถเรียกใช้งานได้ทันทีไม่ต้องผ่านออบเจ็กต์ - ไม่มีการคืนค่ากลับไปที่เมธอดอื่น
  • 5. รูปแบบการสร้างเมธอดหลัก public static void main(String[ ] args) { รายละเอียดการทางานในเมธอด } - สาหรับเมธอดย่อยทั่วๆ ไปที่ไม่ใช่เมธอดหลัก อาจเป็น static method ,instant method, contructor method, Overloading method หรือ Overriding method ก็ได้ แต่ละ ชนิดมีโครงสร้างไม่เหมือนกับเมธอดหลัก ส่วนประกอบบางอย่างอาจมีหรือไม่มีก็ได้ ตามแต่ลักษณะการทางาน
  • 7. Method รูปแบบต่างๆ เมธอดมีอยู่ด้วยกัน 5 ประเภทแบ่งตามลักษณะการทางานดังนี้ ประเภทที่ 1 : static method เป็นเมธอดที่เรียกใช้ตัวแปรได้ทันที ไม่ต้องมีการสร้าง ออบเจ็กต์ขึ้นมาเพื่อเรียกใช้ตัวแปร เช่น การคานวณทางคณิตศาสตร์ ซึ่ง static method จะรับค่าที่ผู้ใช้ต้องการคานวณ และทาการคานวณ แล้วส่งผลลัพธ์กลับไปยังผู้ใช้
  • 8. Method รูปแบบต่างๆ ประเภทที่ 2 :instance method เป็นเมธอดทั่วๆ ไปที่สร้างขึ้นมาใช้กันบ่อยๆ เมธอด แบบนี้จะไม่มีคาว่า static อยู่ข้างหน้าตัวแปร เมื่อจะเรียกใช้ method ประเภทนี้ จะต้องมี การสร้างออบเจ็กต์ขึ้นมา
  • 9. ประเภทที่ 3 : constructor method / constructor คือเมธอดที่มีชื่อเดียวกับคลาส ซึ่งเมื่อ ออบเจ็กต์ใดๆ ถูกสร้างขึ้นมาจากคลาสแล้ว เมธอดนี้จะเริ่มทางานทันทีเป็นเมธอดแรก (ปกติมักจะใช้กาหนดค่าเริ่มต้นของการทางาน)
  • 10. ประเภทที่ 4 : Overloading method คือ เมธอดหลายเมธอดที่มีชื่อเดียวกัน แต่มีชนิดของ ตัวแปรต่างชนิดกัน หรือจานวนอาร์กิวเมนต์ไม่เท่ากัน เพราะงานบางงานอาจใช้ชื่องาน เดียวกัน แต่ต้องมีการแยกแยะว่า มีการส่งค่าตัวแปรชนิดใดมา เช่น ถ้าส่งค่าตัวแปรมาเป็น Integer ก็ให้ทางานในเมธอดหนึ่ง ถ้าส่งมาเป็น String ก็ให้ทางานในอีกเมธอดหนึ่ง
  • 11. ประเภทที่ 5 : Overriding method คือ เมธอดหลายเมธอดที่มีชื่อเดียวกัน ชนิดของตัว แปรเหมือนกัน แต่เขียนโปรแกรมในลักษณะที่เมธอดหนึ่งอยู่ในคลาสแม่ อีกเมธอดหนึ่ง อยู่ในคลาสลูก ซึ่งเมื่อมีเมธอดชื่อซ้ากัน รับค่าของตัวแปรเหมือนกันปรากฏในคลาสลูก โปรแกรมจะทางานตามคาสั่งในคลาสลูกโดยอัตโนมัติ ซึ่งส่วนนี้เราจะอธิบายอย่างละเอียด ในบท Inheritance
  • 12. การใช้งานเมธอดสาเร็จรูป - เมธอดสาเร็จรูปเกี่ยวกับสตริง รูปแบบการใช้งาน System.out.print ( “ข้อความ”); System.out.println ( “ข้อความ”); System.out.print ( “ข้อความ”+ ตัวแปร); System.out.print (ตัวแปร +“ข้อความ”); System.out.print ( “ข้อความ” + ตัวแปร + “ข้อความ”); System.out.print (ตัวแปร ); -การจัดรูปแบบการแสดงผลตัวเลข รูปแบบการใช้งาน DecimalFormat ชื่อออบเจ็กต์ = new DecimalFormat( pattern);
  • 13. เมธอด toUpperCase : เปลี่ยนข้อความเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ รูปแบบการใช้งาน ข้อความ.toUpperCase( ) เมธอด toLowerCase : เปลี่ยนข้อความเป็นตัวพิมพ์เล็ก รูปแบบการใช้งาน ข้อความ. toLowerCase( ) การตัดคาด้วยเมธอด substring รูปแบบการใช้งาน ข้อความ. Substring( ตาแหน่งเริ่มต้นของคาที่การเหลือไว้ , จานวนตัวอักษรที่ต้องการเหลือไว้);
  • 14. การแทนที่คาด้วยเมธอด replace รูปแบบการใช้งาน ข้อความเดิม.replace( คาที่จะถูกแทนที,่ คาใหม่ที่แทนที่); เมธอดที่ใช้ตัดช่องว่างด้วย trim รูปแบบการใช้งาน ข้อความ.trim( ); เมธอด split: แยกข้อความออกเป็นส่วนๆ รูปแบบการใช้งาน ข้อความ.Split(“อักษรที่ใช้ในการแบ่งข้อความ”);
  • 15. เมธอด length : หาความยาวของข้อความ รูปแบบการใช้งาน ข้อความ.length( ) เมธอด floor : ปัดเศษทศนิยมลง รูปแบบการใช้งาน Math.floor(ตัวแปร หรือเลขทศนิยม); เมธอด ceil : ปัดเศษทศนิยมขึ้น รูปแบบการใช้งาน Math.ceil(ตัวแปร หรือเลขทศนิยม);
  • 16. เมธอด round : ปัดทศนิยมตามหลักคณิตศาสตร์ รูปแบบการใช้งาน round (เลขทศนิยม, ตาแหน่งที่ต้องการปัดเศษทศนิยม); เมธอด random : สุ่มตัวเลขทศนิยม รูปแบบการใช้งาน Math.random( );
  • 18. คลาส Date: แสดงวันเดือนปี และเวลา หรือ รูปแบบการใช้งาน Date ชื่อออบเจ็กต์ = new Date( ); SimpleDateFormat ชื่อออบเจ็กต์ = new SimpleDateFormat(รูปแบบที่ ต้องการแสดง);