SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
ดนตรีพื้นบ้านภาคใต้
ความเป็นมาของดนตรีพื้นบ้านภาคใต้
• ชนในกลุ่มของภาคใต้ของไทย มีหลายเผ่าพันธุ์และมีหลายกลุ่ม ในอดีตมีการ
ติดต่อค้าขาย มีความสัมพันธ์กับอินเดีย จีน ชวา - มลายูตลอดจนติดต่อกับคน
ไทยในภาคกลาง ที่เดินทางไปค้าขายติดต่อกันด้วย ในชนบทความเจริญยังเข้า
ไปไม่ถึง ลักษณะของ ดนตรีพื้นบ้าน จึงเป็นลักษณะเรียบง่าย ประดิษฐ์อย่าง
ง่าย ๆ จากวัสดุใกล้ตัวมีการรักษาเอกลักษณ์ และยอมให้มีการพัฒนาได้น้อย
มาก ดนตรีพื้นบ้านดั้งเดิม น่าจะมาจากเผ่าพันธุ์ เงาะซาไก ประเภทเครื่องตี
โดยใช้ไม้ไผ่ลาขนาดต่าง ๆ กัน ตัดออกเป็นท่อน สั้นบ้างยาวบ้าง ตัดปากขอ
งกระบอกไม้ไผ่ ตรงหรือเฉียง บ้างก็หุ้มด้วยใบไม้กาบของต้นพืช ใช้บรรเลง
(ตี) ประกอบการขับร้องและเต้นรา เครื่องดนตรี ค่อย ๆ พัฒนามาเป็นแตร
กรับ ซึ่งล้วนแล้วแต่มีมาแต่เดิมทั้งสิ้น
ความสาคัญของดนตรีพื้นบ้านภาคใต้
• ดนตรีพื้นบ้านภาคใต้ไดัรับใช้สังคม
ของชาวใต้พอสรุปได้ดังนี้
• 1. บรรเลงเพื่อความรื่นเริง คลายความ
เหน็ดเหนื่อย จากการทางาน ซึ่งจะ
บรรเลงควบคู่กันไป กับการละเล่นและ
การแสดงเสมอ เพราะดนตรีพื้นบ้าน
ภาคใต้นั้น จะไม่นิยมบรรเลงล้วน ๆ
เพื่อฟังโดยตรง แต่จะนิยมบรรเลง
ประกอบการแสดง
• 2. บรรเลงประกอบพิธีกรรม เพื่อบวงสรวง หรือติดต่อกับสิ่งลี้ลับ เพราะ
ในอดีตสังคมส่วนใหญ่ ติดอยู่กับความเชื่อเรื่องผี วิญญาณ เช่น มะตือรี
ของชาวไทยมุสสลิม โต๊ะครึม ของชาวไทยพุทธ ที่ใช้เพื่อบรรเลงในงาน
ศพ โดยมีความเชื่อว่าเป็นการนาวิญญาณสู่สุคติ การบรรเลงกาหลอ ใน
งานศพบทเพลงส่วนหนึ่ง เป็นการบรรเลงเพื่ออ้อนวอนเทพเจ้า ดนตรี
ชนิดนี้จึงมุ่งให้เห็นความศักดิ์สิทธิ์ มีอานุภาพให้เกิดความขลัง ยาเกรง
• 3. ใช้บรรเลงเพื่อการสื่อสาร บอกข่าว เช่น การประโคมปืด และประโคม
โพน เป็นสัญญาณบอกข่าวว่าที่วัดมีการทาเรือพระ (ในเทศกาลชักพระ)
จะได้เตรียมข้าวของไว้ทาบุญ และไปช่วยตกแต่งเรือพระ หรือการได้ยิน
เสียงบรรเลงกาหลอ ก้องไปตามสายลมก็บอกให้รู้ว่ามีงานศพ ชาวบ้านก็
จะไปช่วยทาบุญงานศพกันที่วัดนั้น ๆ โดยจะสืบถามว่าเป็นใคร ก็จะไป
เคารพศพ โดยไม่ต้องพิมพ์บัตรเชิญ เหมือนปัจจุบันนี้
• 4. ใช้บรรเลงเพื่อเสริมสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ เช่น การ
บรรเลงกรือโต๊ะ หรือบานอโดยชาวบ้าน จะช่วยกันสร้างดนตรีชนิดนี้
ขึ้นมา ประจาหมู่บ้านของตน และจะใช้ตีแข่งขันกับหมู่บ้านอื่น ๆ เพื่อ
เป็นการสนุกสนาน และแสดงพลังความสามัคคี เพราะขณะที่จะมีการ
ประกวดจะต้องช่วยกันทา ถ้าแพ้ก็ถือว่าเป็นการปราชัยของคนทั้ง
หมู่บ้าน ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องธรรมดาของการแข่งขัน ในโอกาสต่อไปก็
จะต้องช่วยกันทาใหม่ ให้ดีกว่าเก่า
เครื่องดนตรีพื้นบ้านของภาคใต้
• 1. ประเภทดีด ในภาคใต้ไม่มีเครื่อง
ดนตรีประเภทนี้ จะมีแต่ของพวก
เงาะซาไก ที่ใช้ไม้ไผ่ 1 ปล้องมากรีด
เอาผิวของไม้ไผ่ให้ เป็นริ้ว ๆ ทา
หมอนรองริ้วผิวไม้ไผ่หลาย ๆ ริ้ว
แล้วใช้นิ้วดีดหากพบการบรรเลง
ด้วยจะเข้หรือพิณ เป็นเครื่องดนตรี
ของภาคอื่น ที่เข้าไปในระยะหลัง
ซึ่งไม่นับเป็นดนตรีพื้นบ้าน ของ
ภาคใต้
2. ประเภทตี ของภาคใต้มีหลายชนิด ได้แก่
• 2.1 ทับ เป็นกลองทาด้วยไม้เนื้อแข็งเอวคอดปากบาน ท้ายเรียวบานออก
เล็กน้อย ขึงด้วยหนังสัตว์หน้าเดียว ขึงหนังด้วยหวายรัดดึงให้ตึง มีหลาย
ขนาดตั้งแต่เส้นผ่าศูนย์กลาง ด้านหน้า 5 นิ้ว ใช้บรรเลงประกอบ การ
แสดงหนังตะลุง เรียกว่า ทับหนัง ขนาด 8 นิ้ว ใช้บรรเลงประกอบ การ
เล่นโนราเรียกว่า ทับโนรา ขนาดใหญ่ 12 นิ้ว ใช้บรรเลงในการเล่นโต๊ะ
ครึม เรียกว่า ทับโต๊ะครึม
• 2.2 โหม่ง คือ ฆ้องคู่ทาด้วยโลหะ
ใบเล็ก 1 ใบ ใบใหญ่ 1 ใบ ประกอบ
อยู่ในกล่องไม้ให้เกิดเสียงก้อง เวลา
บรรเลงมีไม้ตีหุ้มยางหรือผ้า ไม่ให้
เสียงแตกและมีไม้เนื้อแข็ง 4 เหลี่ยม
1 อัน เอาไว้สัมผัสกับหน้าโหม่งให้
หยุดเสียง ใช้บรรเลงประกอบการ
เล่นหนังตะลุง โนรา และลิเกป่า แต่
เดิมใช้ไม้ทาโหม่ง เรียกว่า โหม่ง
ฟาก ต่อมาได้วิวัฒนาการมาเป็น
หล่อด้วยเหล็ก และทองเหลือง มา
โดยลาดับ เรียกว่า โหม่งเหล็กและ
โหม่งหล่อ
• 2.3 กลอง มี 2 ลักษณะคือ หุ้มหรือขึงด้วยหนังสัตว์หน้าเดียว และสอง
หน้า ได้แก่
• 2.3.1โทน หรือกลองทัด (คล้ายกลองเพลของภาคกลาง) ปกติจะใช้ตี
บอกเวลา และใช้ตีในเทศกาลออกพรรษา ใช้ประโคมเรือพระ (ชักพระ
และใช้ตีแข่งขันกันด้วยที่เรียกว่า แข่งโพน หรือ ชันโพน (ประชัน)
• 2.3.2 กลองตุ๊ก ลักษณะเหมือน
กลองโนรา แต่มีขนาดเล็กกว่า
มาก ขึงด้วยหนัง 2 หน้า ใช้
บรรเลงประกอบ การแสดง
หนังตะลุง
•
2.3.3 กลองโนรา จัดว่าเหมือน
กลองตุ๊ก แต่ใหญ่กว่ามาก ขึงด้วย
หนัง 2 หน้า ใช้บรรเลง
ประกอบการแสดงโนรา
• 2.3.4 กลองโทน หรือกลองแขก เป็นกลองที่ขึงด้วยหนังสัตว์2 หน้า หัว
ท้ายไม่เท่ากัน ขนาดยาว 60 - 70 เซนติเมตร ตีด้วยแขนงไผ่หรือหวาย ตี
ได้ทั้ง 2 หน้า ใช้บรรเลงประกอบการเล่นกาหลอ ประกอบการแสดง ซี
ละ และมะโย่ง
• 2.3.5 ปืด เป็นกลอง 2 หน้า
ลักษณะคล้ายตะโพนของภาค
กลาง และมีขาตั้งเป็นไม้แบบ
ตะโพนไทย ใช้ตีเวลาประโคม
เรือพระเทศการลพรรษา และใช้
ตีแข่งขันที่เรียกว่า แข่งปืด หรือ
ชันปืด (ประชัน)
• 2.3.6 รามะนา ขึงหน้ากลอง
ด้วยหนังหน้าเดียว ตัวกลอง
สั้น หน้ากลองกว้างมากขนาด
45 - 50 เซนติเมตร ตัวกลอง
หนาราว 14 - 70 เซนติเมตร
ใช้ประกอบการเล่น ลิเกป่า
ลิเกฮูลู มะโย่ง และรองเง็ง
• 2.3.7 บานอ ลักษณะคล้ายรามะนา แต่มีขนาดหน้าตัดใหญ่กว่ามาก ขึง
ด้วยหนังสัตว์หน้าเดียว หน้ากลองนิยมเขียนลวดลาย ด้วยสีสันสวยงาม
ใช้ตีพร้อม ๆ กันหลาย ๆ ลูก และ ใช้แข่งขันกัน
2.4 เครื่องตีที่ทาด้วยไม้ล้วน ๆ และเครื่องประกอบจังหวะ
• 2.4.1 กรือโต๊ะ ทาด้วยไม้เนื้อแข็งขุด เป็นทรงคล้ายกระโถน ขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 20-25 เซนติเมตร เรียกว่า ตัวกรือโต๊ะ และบน
ปากของตัวกรือโต๊ะ จะใช้ไม้เนื้อแข็งหนายาวกว่าตัวกรือโต๊ะพาดอยู่
เจาะรูตรงกลางให้ตรงกับปากของตัวกรือโต๊ะ และมีสลักไม้4 ด้าน
กั้นอยุ่มีแผ่นไม้วาง ขนาดยาว 40 - 70 เซนติเมตร วางอยู่เรียกว่า เด๊าว์
หรือใบ เวลาตีใช้ไม้พันยางเพื่อให้มีแรงสั่นสะเทือน ตีลงบนใบ เสียงก็
จะก้องลงไปยังตัวกรือโต๊ะ นิยมใช้แข่งขันกันเท่านั้น เรียกว่าแข่งกรือ
โต๊ะ
• 2.4.2 ฆ้อง ทาด้วยโลหะหล่อ ใช้
บรรเลงประกอบการเล่นกาหลอ
มะโย่ง ซีละ โนราแขก และลิเกป่า
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ
25 - 30 เซนติเมตร
2.4.3 แตระ แกระ หรือซีแระ ทาด้วย
ไม้ไผ่เกิดเสียงด้วยการกระทบกัน ใช้
ตีประกอบการเล่นโนรา โนราแขก
และมะโย่ง
2.4.4 หรับ และฉิ่ง ใช้ตีประกอบ
ดนตรี หนังตะลุงและโนรา
3. ประเภทเป่ า ดนตรีพื้นบ้านภาคใต้ ประเภทเครื่องเป่ ามีดังนี้
• 3.1 ปี่ต้น นิยมใช้บรรเลง
ประกอบ การแสดงในโนราสมัย
โบราณ (ปัจจุบันไม่นิยม)
• 3.3 ปี่ห้อ หรือปี่ฮ้อ ใช้
บรรเลงในวงดนตรีกาหลอ
หรือเรียกว่า ปี่กาหลอ
• 3.2 ปี่กลาง หรือเรียกว่า ปี่หนัง
ตะลุงปี่โนรา ใช้ประกอบการ
แสดงหนังตะลุงและโนราใน
ปัจจุบันลักษณะตัวปี่ทาด้วยไม้
เนื้อแข็ง เจาะรูยาวตลอด ตัวปี่มีรู
สาหรับปิดเปิดเสียง ประกอบด้วย
ลิ้นปี่ (เหมือนปี่ใน)
4. ประเภทสี ได้แก่
• 4.1 ซอด้วง ชาวภาคใต้บางกลุ่ม
เรียกซออี้ ใช้บรรเลงประกอบ การ
แสดงโนราและหนังตะลุง ลักษณะ
เหมือนซอด้วง ของภาคกลาง แต่
กะโหลกซอ จะใหญ่กว่าของภาค
กลาง มี 2 สายเช่นเดียวกัน
• 4.2 ซออู้ใช้ประกอบการแสดง
โนราและหนังตะลุง ลักษณะ
เหมือนซออู้ภาคกลาง มี 2 สาย
เวลาบรรเลงจะเป็นตัว ช่วยทาให้
เสียงอื่นที่แหลมลดลง เป็นการ
ประสานเสียงที่ดี
• 4.3 ซอฆือปะ เหมือนซอสามสาย ของภาคกลางใช้บรรเลง ประกอบการ
เล่นมะโย่ง มะตือรีและโนราแขก
ลักษณะเด่นของดนตรีพื้นบ้านภาคใต้
• 1. เครื่องดนตรีพื้นบ้านของภาคใต้ส่วนใหญ่ และดั้งเดิม จะเป็นเครื่องตี
และที่จัดได้ว่าเป็นเครื่องสาคัญ คือทับ รามะนา กลอง และโหม่ง
รองลงมาคือ เครื่องเป่า เครื่องสี เครื่องดีด เกือบจะไม่มีบทบาทเลย
• 2. ผู้บรรเลงผู้เล่น จะเป็นแต่ชายล้วน เพราะถือว่าการเล่นดนตรีเพื่อ
พิธีกรรม ถ้าหญิงเล่นจะคลายความศักดิ์สิทธิ์ไป และเครื่องดนตรี
บางอย่างต้องใช้แรงมาก
• 3. วัตถุประสงค์ในการเล่นที่สาคัญ คือ เพื่อประกอบพิธีกรรม รองลงมา
คือเพื่อความรื่นเริง
อ้างอิง
• http://kanchanapisek.or.th/kp8/thai/link2_2so
uth.htm

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงkasetpcc
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายenksodsoon
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...kruood
 
การย่อยอาหารของมนุษย์ Human digestive system
การย่อยอาหารของมนุษย์ Human digestive systemการย่อยอาหารของมนุษย์ Human digestive system
การย่อยอาหารของมนุษย์ Human digestive systemPat Pataranutaporn
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาMontree Dangreung
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีariga sara
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 

What's hot (20)

ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
 
การย่อยอาหารของมนุษย์ Human digestive system
การย่อยอาหารของมนุษย์ Human digestive systemการย่อยอาหารของมนุษย์ Human digestive system
การย่อยอาหารของมนุษย์ Human digestive system
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 

Similar to เครื่องดนตรีพื้นบ้านในภาคใต้

เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยlove5710
 
ตุงล้านนา
ตุงล้านนาตุงล้านนา
ตุงล้านนาAlyssa Ny
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคguest98f4132
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคguest03bcafe
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคguestec5984
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคguestec5984
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคguestec5984
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคguestec5984
 
ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีleemeanxun
 
พิณ
พิณพิณ
พิณbawtho
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักPN17
 
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงบ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงPN17
 
ทักษ์ดนัย
ทักษ์ดนัยทักษ์ดนัย
ทักษ์ดนัยgemini_17
 
จางหนัก
จางหนักจางหนัก
จางหนักleam2531
 
ภาคใต้
ภาคใต้ภาคใต้
ภาคใต้tonsocial
 
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329Siwa Muanfu
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคguestec5984
 

Similar to เครื่องดนตรีพื้นบ้านในภาคใต้ (20)

ใบความรู้ ที่ 1
ใบความรู้ ที่ 1ใบความรู้ ที่ 1
ใบความรู้ ที่ 1
 
ดนตรีอีสานเหนือ
ดนตรีอีสานเหนือดนตรีอีสานเหนือ
ดนตรีอีสานเหนือ
 
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทย
 
ตุงล้านนา
ตุงล้านนาตุงล้านนา
ตุงล้านนา
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
 
ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรี
 
พิณ
พิณพิณ
พิณ
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงบ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
 
ทักษ์ดนัย
ทักษ์ดนัยทักษ์ดนัย
ทักษ์ดนัย
 
จางหนัก
จางหนักจางหนัก
จางหนัก
 
ภาคใต้
ภาคใต้ภาคใต้
ภาคใต้
 
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
 
งานบ้านถวาย
งานบ้านถวายงานบ้านถวาย
งานบ้านถวาย
 

เครื่องดนตรีพื้นบ้านในภาคใต้

  • 2. ความเป็นมาของดนตรีพื้นบ้านภาคใต้ • ชนในกลุ่มของภาคใต้ของไทย มีหลายเผ่าพันธุ์และมีหลายกลุ่ม ในอดีตมีการ ติดต่อค้าขาย มีความสัมพันธ์กับอินเดีย จีน ชวา - มลายูตลอดจนติดต่อกับคน ไทยในภาคกลาง ที่เดินทางไปค้าขายติดต่อกันด้วย ในชนบทความเจริญยังเข้า ไปไม่ถึง ลักษณะของ ดนตรีพื้นบ้าน จึงเป็นลักษณะเรียบง่าย ประดิษฐ์อย่าง ง่าย ๆ จากวัสดุใกล้ตัวมีการรักษาเอกลักษณ์ และยอมให้มีการพัฒนาได้น้อย มาก ดนตรีพื้นบ้านดั้งเดิม น่าจะมาจากเผ่าพันธุ์ เงาะซาไก ประเภทเครื่องตี โดยใช้ไม้ไผ่ลาขนาดต่าง ๆ กัน ตัดออกเป็นท่อน สั้นบ้างยาวบ้าง ตัดปากขอ งกระบอกไม้ไผ่ ตรงหรือเฉียง บ้างก็หุ้มด้วยใบไม้กาบของต้นพืช ใช้บรรเลง (ตี) ประกอบการขับร้องและเต้นรา เครื่องดนตรี ค่อย ๆ พัฒนามาเป็นแตร กรับ ซึ่งล้วนแล้วแต่มีมาแต่เดิมทั้งสิ้น
  • 3. ความสาคัญของดนตรีพื้นบ้านภาคใต้ • ดนตรีพื้นบ้านภาคใต้ไดัรับใช้สังคม ของชาวใต้พอสรุปได้ดังนี้ • 1. บรรเลงเพื่อความรื่นเริง คลายความ เหน็ดเหนื่อย จากการทางาน ซึ่งจะ บรรเลงควบคู่กันไป กับการละเล่นและ การแสดงเสมอ เพราะดนตรีพื้นบ้าน ภาคใต้นั้น จะไม่นิยมบรรเลงล้วน ๆ เพื่อฟังโดยตรง แต่จะนิยมบรรเลง ประกอบการแสดง
  • 4. • 2. บรรเลงประกอบพิธีกรรม เพื่อบวงสรวง หรือติดต่อกับสิ่งลี้ลับ เพราะ ในอดีตสังคมส่วนใหญ่ ติดอยู่กับความเชื่อเรื่องผี วิญญาณ เช่น มะตือรี ของชาวไทยมุสสลิม โต๊ะครึม ของชาวไทยพุทธ ที่ใช้เพื่อบรรเลงในงาน ศพ โดยมีความเชื่อว่าเป็นการนาวิญญาณสู่สุคติ การบรรเลงกาหลอ ใน งานศพบทเพลงส่วนหนึ่ง เป็นการบรรเลงเพื่ออ้อนวอนเทพเจ้า ดนตรี ชนิดนี้จึงมุ่งให้เห็นความศักดิ์สิทธิ์ มีอานุภาพให้เกิดความขลัง ยาเกรง
  • 5. • 3. ใช้บรรเลงเพื่อการสื่อสาร บอกข่าว เช่น การประโคมปืด และประโคม โพน เป็นสัญญาณบอกข่าวว่าที่วัดมีการทาเรือพระ (ในเทศกาลชักพระ) จะได้เตรียมข้าวของไว้ทาบุญ และไปช่วยตกแต่งเรือพระ หรือการได้ยิน เสียงบรรเลงกาหลอ ก้องไปตามสายลมก็บอกให้รู้ว่ามีงานศพ ชาวบ้านก็ จะไปช่วยทาบุญงานศพกันที่วัดนั้น ๆ โดยจะสืบถามว่าเป็นใคร ก็จะไป เคารพศพ โดยไม่ต้องพิมพ์บัตรเชิญ เหมือนปัจจุบันนี้
  • 6. • 4. ใช้บรรเลงเพื่อเสริมสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ เช่น การ บรรเลงกรือโต๊ะ หรือบานอโดยชาวบ้าน จะช่วยกันสร้างดนตรีชนิดนี้ ขึ้นมา ประจาหมู่บ้านของตน และจะใช้ตีแข่งขันกับหมู่บ้านอื่น ๆ เพื่อ เป็นการสนุกสนาน และแสดงพลังความสามัคคี เพราะขณะที่จะมีการ ประกวดจะต้องช่วยกันทา ถ้าแพ้ก็ถือว่าเป็นการปราชัยของคนทั้ง หมู่บ้าน ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องธรรมดาของการแข่งขัน ในโอกาสต่อไปก็ จะต้องช่วยกันทาใหม่ ให้ดีกว่าเก่า
  • 7. เครื่องดนตรีพื้นบ้านของภาคใต้ • 1. ประเภทดีด ในภาคใต้ไม่มีเครื่อง ดนตรีประเภทนี้ จะมีแต่ของพวก เงาะซาไก ที่ใช้ไม้ไผ่ 1 ปล้องมากรีด เอาผิวของไม้ไผ่ให้ เป็นริ้ว ๆ ทา หมอนรองริ้วผิวไม้ไผ่หลาย ๆ ริ้ว แล้วใช้นิ้วดีดหากพบการบรรเลง ด้วยจะเข้หรือพิณ เป็นเครื่องดนตรี ของภาคอื่น ที่เข้าไปในระยะหลัง ซึ่งไม่นับเป็นดนตรีพื้นบ้าน ของ ภาคใต้
  • 8. 2. ประเภทตี ของภาคใต้มีหลายชนิด ได้แก่ • 2.1 ทับ เป็นกลองทาด้วยไม้เนื้อแข็งเอวคอดปากบาน ท้ายเรียวบานออก เล็กน้อย ขึงด้วยหนังสัตว์หน้าเดียว ขึงหนังด้วยหวายรัดดึงให้ตึง มีหลาย ขนาดตั้งแต่เส้นผ่าศูนย์กลาง ด้านหน้า 5 นิ้ว ใช้บรรเลงประกอบ การ แสดงหนังตะลุง เรียกว่า ทับหนัง ขนาด 8 นิ้ว ใช้บรรเลงประกอบ การ เล่นโนราเรียกว่า ทับโนรา ขนาดใหญ่ 12 นิ้ว ใช้บรรเลงในการเล่นโต๊ะ ครึม เรียกว่า ทับโต๊ะครึม
  • 9. • 2.2 โหม่ง คือ ฆ้องคู่ทาด้วยโลหะ ใบเล็ก 1 ใบ ใบใหญ่ 1 ใบ ประกอบ อยู่ในกล่องไม้ให้เกิดเสียงก้อง เวลา บรรเลงมีไม้ตีหุ้มยางหรือผ้า ไม่ให้ เสียงแตกและมีไม้เนื้อแข็ง 4 เหลี่ยม 1 อัน เอาไว้สัมผัสกับหน้าโหม่งให้ หยุดเสียง ใช้บรรเลงประกอบการ เล่นหนังตะลุง โนรา และลิเกป่า แต่ เดิมใช้ไม้ทาโหม่ง เรียกว่า โหม่ง ฟาก ต่อมาได้วิวัฒนาการมาเป็น หล่อด้วยเหล็ก และทองเหลือง มา โดยลาดับ เรียกว่า โหม่งเหล็กและ โหม่งหล่อ
  • 10. • 2.3 กลอง มี 2 ลักษณะคือ หุ้มหรือขึงด้วยหนังสัตว์หน้าเดียว และสอง หน้า ได้แก่ • 2.3.1โทน หรือกลองทัด (คล้ายกลองเพลของภาคกลาง) ปกติจะใช้ตี บอกเวลา และใช้ตีในเทศกาลออกพรรษา ใช้ประโคมเรือพระ (ชักพระ และใช้ตีแข่งขันกันด้วยที่เรียกว่า แข่งโพน หรือ ชันโพน (ประชัน)
  • 11. • 2.3.2 กลองตุ๊ก ลักษณะเหมือน กลองโนรา แต่มีขนาดเล็กกว่า มาก ขึงด้วยหนัง 2 หน้า ใช้ บรรเลงประกอบ การแสดง หนังตะลุง • 2.3.3 กลองโนรา จัดว่าเหมือน กลองตุ๊ก แต่ใหญ่กว่ามาก ขึงด้วย หนัง 2 หน้า ใช้บรรเลง ประกอบการแสดงโนรา
  • 12. • 2.3.4 กลองโทน หรือกลองแขก เป็นกลองที่ขึงด้วยหนังสัตว์2 หน้า หัว ท้ายไม่เท่ากัน ขนาดยาว 60 - 70 เซนติเมตร ตีด้วยแขนงไผ่หรือหวาย ตี ได้ทั้ง 2 หน้า ใช้บรรเลงประกอบการเล่นกาหลอ ประกอบการแสดง ซี ละ และมะโย่ง
  • 13. • 2.3.5 ปืด เป็นกลอง 2 หน้า ลักษณะคล้ายตะโพนของภาค กลาง และมีขาตั้งเป็นไม้แบบ ตะโพนไทย ใช้ตีเวลาประโคม เรือพระเทศการลพรรษา และใช้ ตีแข่งขันที่เรียกว่า แข่งปืด หรือ ชันปืด (ประชัน)
  • 14. • 2.3.6 รามะนา ขึงหน้ากลอง ด้วยหนังหน้าเดียว ตัวกลอง สั้น หน้ากลองกว้างมากขนาด 45 - 50 เซนติเมตร ตัวกลอง หนาราว 14 - 70 เซนติเมตร ใช้ประกอบการเล่น ลิเกป่า ลิเกฮูลู มะโย่ง และรองเง็ง
  • 15. • 2.3.7 บานอ ลักษณะคล้ายรามะนา แต่มีขนาดหน้าตัดใหญ่กว่ามาก ขึง ด้วยหนังสัตว์หน้าเดียว หน้ากลองนิยมเขียนลวดลาย ด้วยสีสันสวยงาม ใช้ตีพร้อม ๆ กันหลาย ๆ ลูก และ ใช้แข่งขันกัน
  • 16. 2.4 เครื่องตีที่ทาด้วยไม้ล้วน ๆ และเครื่องประกอบจังหวะ • 2.4.1 กรือโต๊ะ ทาด้วยไม้เนื้อแข็งขุด เป็นทรงคล้ายกระโถน ขนาด เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 20-25 เซนติเมตร เรียกว่า ตัวกรือโต๊ะ และบน ปากของตัวกรือโต๊ะ จะใช้ไม้เนื้อแข็งหนายาวกว่าตัวกรือโต๊ะพาดอยู่ เจาะรูตรงกลางให้ตรงกับปากของตัวกรือโต๊ะ และมีสลักไม้4 ด้าน กั้นอยุ่มีแผ่นไม้วาง ขนาดยาว 40 - 70 เซนติเมตร วางอยู่เรียกว่า เด๊าว์ หรือใบ เวลาตีใช้ไม้พันยางเพื่อให้มีแรงสั่นสะเทือน ตีลงบนใบ เสียงก็ จะก้องลงไปยังตัวกรือโต๊ะ นิยมใช้แข่งขันกันเท่านั้น เรียกว่าแข่งกรือ โต๊ะ
  • 17. • 2.4.2 ฆ้อง ทาด้วยโลหะหล่อ ใช้ บรรเลงประกอบการเล่นกาหลอ มะโย่ง ซีละ โนราแขก และลิเกป่า ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 25 - 30 เซนติเมตร 2.4.3 แตระ แกระ หรือซีแระ ทาด้วย ไม้ไผ่เกิดเสียงด้วยการกระทบกัน ใช้ ตีประกอบการเล่นโนรา โนราแขก และมะโย่ง 2.4.4 หรับ และฉิ่ง ใช้ตีประกอบ ดนตรี หนังตะลุงและโนรา
  • 18. 3. ประเภทเป่ า ดนตรีพื้นบ้านภาคใต้ ประเภทเครื่องเป่ ามีดังนี้ • 3.1 ปี่ต้น นิยมใช้บรรเลง ประกอบ การแสดงในโนราสมัย โบราณ (ปัจจุบันไม่นิยม)
  • 19. • 3.3 ปี่ห้อ หรือปี่ฮ้อ ใช้ บรรเลงในวงดนตรีกาหลอ หรือเรียกว่า ปี่กาหลอ • 3.2 ปี่กลาง หรือเรียกว่า ปี่หนัง ตะลุงปี่โนรา ใช้ประกอบการ แสดงหนังตะลุงและโนราใน ปัจจุบันลักษณะตัวปี่ทาด้วยไม้ เนื้อแข็ง เจาะรูยาวตลอด ตัวปี่มีรู สาหรับปิดเปิดเสียง ประกอบด้วย ลิ้นปี่ (เหมือนปี่ใน)
  • 20. 4. ประเภทสี ได้แก่ • 4.1 ซอด้วง ชาวภาคใต้บางกลุ่ม เรียกซออี้ ใช้บรรเลงประกอบ การ แสดงโนราและหนังตะลุง ลักษณะ เหมือนซอด้วง ของภาคกลาง แต่ กะโหลกซอ จะใหญ่กว่าของภาค กลาง มี 2 สายเช่นเดียวกัน • 4.2 ซออู้ใช้ประกอบการแสดง โนราและหนังตะลุง ลักษณะ เหมือนซออู้ภาคกลาง มี 2 สาย เวลาบรรเลงจะเป็นตัว ช่วยทาให้ เสียงอื่นที่แหลมลดลง เป็นการ ประสานเสียงที่ดี
  • 21. • 4.3 ซอฆือปะ เหมือนซอสามสาย ของภาคกลางใช้บรรเลง ประกอบการ เล่นมะโย่ง มะตือรีและโนราแขก
  • 22. ลักษณะเด่นของดนตรีพื้นบ้านภาคใต้ • 1. เครื่องดนตรีพื้นบ้านของภาคใต้ส่วนใหญ่ และดั้งเดิม จะเป็นเครื่องตี และที่จัดได้ว่าเป็นเครื่องสาคัญ คือทับ รามะนา กลอง และโหม่ง รองลงมาคือ เครื่องเป่า เครื่องสี เครื่องดีด เกือบจะไม่มีบทบาทเลย
  • 23. • 2. ผู้บรรเลงผู้เล่น จะเป็นแต่ชายล้วน เพราะถือว่าการเล่นดนตรีเพื่อ พิธีกรรม ถ้าหญิงเล่นจะคลายความศักดิ์สิทธิ์ไป และเครื่องดนตรี บางอย่างต้องใช้แรงมาก
  • 24. • 3. วัตถุประสงค์ในการเล่นที่สาคัญ คือ เพื่อประกอบพิธีกรรม รองลงมา คือเพื่อความรื่นเริง