SlideShare a Scribd company logo
ทดสอบ ตรวจ... 
สังเกต 
แบบทดสอบ แบบตรวจ... 
แบบสังเกต 
P4
ทดสอบ สังเกต... 
ตรวจ... Rubrics 
แบบทดสอบ 
P4
ลักษณะเครื่องมือวัดที่ดี 
๑. สอดคล้องและครอบคลุมตัวชี้วัด 
๒. ครอบคลุม KPA 
๓. มีความตรง ความเชื่อมั่น และเป็นธรรม 
๔. ใช้วิธีวัด เครื่องมือวัดที่หลากหลาย 
๕. ประเมินตามสภาพจริง 
P4
การสร้างข้อสอบแนวของ Bloom๑๙๕๙ 
๑. ความรู้ ความจา-จาข้อมูลมานาเสนอ 
๒. ความเข้าใจ-สร้างความหมายของข้อมูลด้วยตนเอง 
๓. นาไปใช้-นาความรู้ใหม่ที่ได้รับไปใช้ในสถานการณ์อนื่ได้ 
๔.วิเคราะห์-จาแนกและจัดความสัมพันธ์ของส่วนประกอบ 
๕. สังเคราะห์-นาส่วนย่อย ๆ มาสร้างสิ่งใหม่ 
๖. ประเมินค่า-ตัดสินใจโดยมีเกณฑ์/มาตรฐานประกอบการ 
พิจารณา P4-5
การสร้างข้อสอบแนวของ Bloom ๑๙๙๙ 
๑. ความรู้ ความจา-จาข้อมูลมานาเสนอ 
๒. ความเข้าใจ-สร้างความหมายของข้อมูลด้วยตนเอง 
๓. นาไปใช้-นาความรู้ใหม่ที่ได้รับไปใช้ในสถานการณ์อนื่ได้ 
๔.วิเคราะห์-จาแนกและจัดความสัมพันธ์ของส่วนประกอบ 
๕. ประเมินค่า-ตัดสินใจโดยมีเกณฑ์/มาตรฐานประกอบ 
การตัดสินใจ 
๖. สร้างสรรค์-สร้างสิ่งใหม่แนวคิดใหม่ ทางเลือกใหม่ จาก 
ส่วนประกอบย่อย ๆ P4-5
การอ่าน 
๓ ด้านนี้ เป็นสิ่งจาเป็นพื้นฐานของการดารงชีวิตใน 
โลกปัจจุบันและอนาคต และเป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ปรนัย เขียนตอบ 
MC- ถูกข้อเดียว แบบปิด 
MS- ถูกหลายข้อ แบบเปิด 
CM- สถานการณ์เดียวถามหลายข้อ 
RR- คาถาม/คาตอบสัมพันธ์กัน P8-10
MC-Multiple choice -ถูกข้อเดียว 
๓๔. นักเรียนกาลังไปเข้าห้องน้าของโรงเรียน บังเอิญพบ 
เพื่อน ๆ กาลังสูบบุหรี่ เพื่อนชักชวนให้นักเรียนสูบบุหรี่ 
ด้วย นักเรียนจะพูดว่าอย่างไร 
๑. “เอาไว้ค่อยสูบวันหลัง” 
๒. “ถ้ามีหมากฝรั่งระงับกลิ่น เราถึงจะสูบ” 
๓. “เราให้สัญญากับแม่ไว้ว่าจะไม่สูบบุหรี่” 
๔. “ดีเหมือนกัน วันนี้ยังไม่มีโอกาสไปซื้อเลย” 
P8
MS-Multiple selection -ถูกหลายข้อ 
ข้อใดเป็นกีฬาบุคคลประเภทคู่(ตอบได้ ๒ คา ตอบ) 
๑. เปตองประเภทชายคู่และหญิงคู่ 
๒. แบดมินตันประเภทชายคู่และหญิงคู่ 
๓. เซปักตะกร้อประเภทชายคู่และหญิงคู่ 
๔. วอลเลย์บอลชายหาดประเภทชายคู่และหญิงคู่ 
P8
CM-Complex multiple choice –สถานการณ์เดียว มีหลายคาถาม 
ครูสมชายวัดส่วนสูงนักเรียนชาย หญิง ได้ค่าเฉลี่ยส่วนสูงของนักเรียน 
เรียนชาย ๑๖๕ ซม. ค่าเฉลี่ยส่วนสูงนักเรียนหญิง ๑๕๕ ซม. ต่อมา มี 
นักเรียนมาเข้าใหม่ ๒ คน เมื่อวัดส่วนสูงแล้ว พบว่า ค่าเฉลี่ยส่วนสูง 
ของนักเรียนหญิง และนักเรียนชายไม่เปลี่ยนแปลง 
ข้อสรุป ความเป็นไปได้ 
๑.นักเรียนที่เข้ามาใหม่เป็นนักเรียนชายท้งั ๒ คน □ได้ □ไม่ได้ 
๒.นักเรียนชายที่เข้ามาใหม่ ๒ คน มีส่วนสูง ๑๖๐ ซม.และ 
๑๗๐ ซม. 
□ได้ □ไม่ได้ 
๓.นักเรียนหญิงที่เข้าใหม่ ๒ คน มีส่วนสูง ๑๕๕ ซม.ทั้งสองคน □ได้ □ไม่ได้ 
๔.นักเรียนที่เข้ามาใหม่ เป็นชาย ๑ คน สูง ๑๖๕ ซม. และ 
□ได้ □ไม่ได้ 
หญิง ๑ คน สูง ๑๖๐ ซม. 
P8
RR-Response related-คาตอบสัมพันธ์กัน 
ให้เลือกเทคนิคการโฆษณาให้สัมพันธ์กับตัวอย่างการโฆษณา 
เทคนิคการโฆษณา ตัวอย่างการโฆษณา 
........๑.รับประกัน 
........๒.เปรียบเทียบกากวม 
........๓.คนเด่นคนดังเป็นคน 
แนะนา 
........๔.ตัวเลขสถิติสร้างความ 
น่าเชื่อถือ 
........๕.ใช้หลักวิทยาศาสตร์มา 
กล่าวอ้าง 
A.ภราดร ศรีชาพันธ์ ใช้แต่ผลิตภัณฑ์ของ Ecco 
B.ทันตแพทย์๔ ใน ๕ คน แนะนายาสีฟัน “ขาวสะอาด” 
C. ผงซักฟอก “ขาวบริสุทธ์” ซักคราบไขมัน และสิ่งสกปรกได้ดีกว่า 
D.แบตเตอรี่ยี่ห้อ “ทนทาน” รับประกันตลอดอายุการใช้งาน หากไม่ 
พอใจคุณภาพยินดีคืนเงิน 
E.จากผลการวิจัยทางการแพทย์มากว่า ๑๕ ปี เพียงรับประทาน 
ผลิตภัณฑ์มะรุมก่อนอาหารครึ่งชวั่โมง อาหารที่คุณรับประทานเข้าไป 
จะไม่ทาให้นา้หนักตัวคุณเพิ่มขึน้ 
(ตอบถูก ๒ ข้อ ได้ ๑ คะแนน ตอบถูก ๓ ข้อ ได้ ๒ คะแนน ตอบถูก ๔ ข้อขึ้นไป ได้ ๔ คะแนน) 
P9
เขียนตอบแบบปิด/เติมคา/ข้อความ) 
คอมพิวเตอร์มีประโยชน์อย่างไร และมีอะไรบ้างเป็น 
ส่วนประกอบหลัก 
........................................................................................... 
........................................................................................... 
...........................................................................................
เขียนตอบแบบเปิด 
นักเรียนมีการเตรียมตัวด้านการประกอบอาชีพอย่างไร 
หลังจากมีการเปิดประเทศอาเชียน เพื่อให้นักเรียนมีชีวิตที่ 
ดี/มีสัมมาชีพในอนาคต 
........................................................................................... 
........................................................................................... 
........................................................................................... 
...........................................................................................
ข้อสอบ ปรนัย ที่ดี ต้องมี ๓ ส่วน 
๑. สถานการณ์ 
๒. คาถาม 
๓. ตัวเลือก 
P5-6
ข้อสอบ เขียนตอบ ที่ดี ต้องมี ๓ ส่วน 
๑. สถานการณ์ 
๒. คาถาม 
๓. แนวการตอบและเกณฑ์การให้คะแนน 
P6-7
สถานการณ์ 
การบรรยาย ข้อมูล รูปภาพ แผนภาพ และ 
อื่น ๆ เพื่อผู้ตอบใช้เป็นข้อมูลในการตอบคา ถาม 
๑. เหตุการณ์จริง/สถานการณ์จาลองที่ใกล้เคียง 
กับความจาเป็น/ความรู้ต่างๆ ที่มีผู้รวบรวมไว้ 
๒. ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน/ประเด็น 
(Issue)ที่สังคมให้ความสนใจ 
๓. เป็นสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับตัวชี้วัดที่ 
เรียน 
P5
ลักษณะของสถานการณ์(PISA) 
ส่วนตัว-ตอบสนองรายบุคคล 
สาธารณะ-เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางสังคม 
การศึกษา-สาระ/ข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ 
การงานอาชีพ-เกี่ยวกับการหางาน การทางาน 
การทาอาชีพ 
P10
คาถาม 
คา สั่งหรือข้อกา หนดให้ผู้ตอบได้ทราบว่า 
ต้องการให้ทา อะไร อย่างไร โดยให้ผู้ตอบใช้ 
ข้อมูลจากสถานการณ์ที่กาหนดให้ เป็นแนวทาง 
ในการตอบคาถาม 
ตัวเลือก 
คาตอบให้เลือกตอบเชื่อมโยงกับข้อมูลจาก 
สถานการณ์ที่กา หนดให้มีทั้งถูกและผิด P6
ข้อสอบ เขียนตอบ ที่ดี ต้องมี ๓ ส่วน 
๑. สถานการณ์ 
๒. คาถาม 
๓. แนวการตอบและเกณฑ์การให้คะแนน 
P6-7
แนวการตอบ และเกณฑ์การให้คะแนน 
เป็นการคาดเดาว่าผู้ตอบ(ทหี่ลากหลาย)จะ 
ตอบคา ถามทใี่ห้อย่างไร ซึ่งมีทั้งตอบถูกต้อง 
ทั้งหมด ต้องตอบอย่างไร และถูกต้องบางส่วน 
อาจจะตอบอย่างไร ฯลฯ เพื่อให้ความสะดวกใน 
การให้คะแนนของผู้ตรวจ และจะช่วยให้ผู้ตรวจ 
ให้คะแนนได้ตรงกัน (แนวการตอบ + เกณฑ์ 
การให้คะแนน) P7
การสร้างข้อสอบเขียนตอบ 
๑. ควรเขียนคาถามอย่างระมัดระวัง ใช้ภาษา 
ชัดเจน สื่อความเข้าใจง่าย 
๒. เขียนข้อสอบให้ตรงกับตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ 
และเนื้อหาสาระที่สาคัญ 
๓. ใช้คาสั่งที่ชัดเจน และควรบอกด้วยว่าแต่ละ 
ข้อ จะให้ข้อละกี่คะแนน หรือจะแบ่งส่วน 
การให้คะแนนอย่างไร 
P7
การสร้างข้อสอบเขียนตอบ(ต่อ) 
๔. ไม่ควรให้มีการเลือกตอบแต่เพียงบางข้อ 
เพราะอาจจะทาให้มีความได้เปรียบเสียเปรียบ 
กัน เนื่องจากความยากง่ายของข้อสอบแต่ละข้อ 
ไม่เท่ากัน 
๕. ไม่ควรให้มีการสอบแบบเปิดตาราตอบ 
ยกเว้นบางวิชาที่มีสูตรยาว ๆ หรือกรณีที่ต้องใช้ 
ตารางประกอบ 
๖. ควรจะบอกให้ผู้เรียนทราบล่วงหน้าว่าจะมี 
การสอบ เพื่อให้ผู้เรียนมีเวลาเตรียมตัวได้เต็มที่ 
P7
การสร้างข้อสอบเขียนตอบ(ต่อ) 
๗. ควรฝึกให้ผู้เรียนตอบข้อสอบแบบเขียนตอบ 
บ่อย ๆ เพื่อให้ผู้เรียนคุ้นเคยกับคา ตอบ และควร 
แนะนาข้อผิดพลาด หรือข้อบกพร่องในการ 
เขียนตอบของแต่ละคน เพื่อจะได้แก้ไขในการ 
สอบครั้งต่อไป 
๘. สร้างข้อสอบให้มีความตรง และมีความ 
เชื่อมั่น ก่อนนาไปใช้ P7
การตรวจให้คะแนน 
๑. ควรจัดทาเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละข้อ 
ให้ชัดเจน เช่น คาตอบมีกี่ประเด็น ได้ 
คะแนนเท่าไร 
๒. ควรตรวจให้คะแนนทีละข้อ จนหมดทุก 
คน แล้วจึงตรวจข้อใหม่ แม้จะมีผู้เข้าสอบ 
หลายห้องเพื่อจะได้เปรียบเทียบคาตอบ 
ของแต่ละคนได้ 
P17
การตรวจให้คะแนน(ต่อ) 
๓. การตรวจข้อสอบแต่ละข้อ ผู้ตรวจควรอ่านคา ตอบ 
ของผู้เข้าสอบทุกคนผ่านไป ๑ เที่ยวโดยยังไม่ให้ 
คะแนน แล้วจัดคา ตอบเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ประมาณ ๕ 
กลุ่ม คือ ดีมาก ดี ปานกลาง อ่อน และอ่อนมาก และ 
กา หนดช่วงคะแนนให้สาหรับแต่ละกลุ่ม 
๔. อาจจะแบ่งผลการตอบข้อสอบของผู้เข้าสอบแต่ละ 
กลุ่มเป็นกลุ่มย่อย ๆ ลงไปอีกก็ได้ เพอื่จะได้ให้คะแนน 
แตกต่างกัน ตามคุณภาพของการตอบ 
๕. ให้คะแนนการตอบในข้อนั้น แล้วจึงตรวจข้อต่อไป 
P7-8
การประเมินการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ 
ความสามารถในการระบุ บอก เข้าใจ 
บทบาทคณิตศาสตร์ที่มีในโลก การใช้ 
คณิตศาสตร์ในการตอบสนองสถานการณ์ 
ต่าง ๆ ในโลก 
P12
การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ 
P12 
คือ ต้องสามารถนาปัญหาจริง ๆ ที่พบ 
ในโลกมาคิดในเชิงของคณิตศาสตร์ 
สามารถแก้ปัญหาในเชิงของคณิตศาสตร์ 
โดยใช้ความรู้คณิตศาสตร์ และแปลงการ 
แก้ปัญหาคณิตศาสตร์ไปตอบปัญหาโลก 
ของความเป็นจริงอีกต่อหนึ่ง
กระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ 
ของ PISA P12-13 
ปัญหาจริง 
ปัญหาคณิตฯ 
แปลผลสู่ 
สถานการณ์จริง 
แก้โจทย์ปัญหา 
ทาความเข้าใจ เขียนเป็นโจทย์คณิตฯ
สมรรถนะทางคณิตศาสตร์ P13-14 
๑.การคิดและใช้เหตุผล 
๒.การสร้างข้อโต้แย้ง 
๓.การสื่อสาร 
๔.การสร้างตัวแบบ 
๕.การตั้งปัญหาและการแก้ปัญหา 
๖.การแสดงเครื่องหมายแทน 
๗.การใช้สัญลักษณ์ ภาษา และการ 
ดาเนินการ 
๘.การใช้ตัวช่วยและเครื่องมือ
กลุ่มสมรรถนะทางคณิตศาสตร์P14-15 
๑.กลุ่มทา ใหม่/สร้างใหม่-การแก้ปัญหา 
คณิตศาสตร์ทั่ว ๆ ไป 
๒.กลุ่มการเชื่อมโยง-ประยุกต์แก้ปัญหาที่ 
แตกต่างจากเดิม(ต่อยอดจากกลุ่ม ๑) 
๓.กลุ่มการสะท้อนและสื่อสาร-มีการ 
วางแผนกลยุทธ์ในการแก้ปัญหา มี 
องค์ประกอบมากข้นึ (ต่อยอดจากกลุ่ม ๒)
กลุ่มทาใหม่ 
การใช้สัญลักษณ์ นิยาม มาตรฐาน 
การคา นวณตามแบบที่คุ้นเคย 
วิธีทา ตามแบบที่คุ้นเคย 
การแก้ปัญหาเลียนแบบเดิมๆ 
P15
กลุ่มการเชื่อมโยง 
เชื่อมโยงโลกจริงกับสัญลักษณ์ 
และโครงสร้างคณิตศาสตร์ 
การแก้ปัญหาแบบมาตรฐาน 
การแปลความ/ตีความ 
วิธีทา ที่รู้แล้ว แต่เพิ่มความ 
ซับซ้อนขึ้น 
P15
P15 
กลุ่มการสะท้อนและสื่อสาร 
การต้งัและแก้ปัญหาที่ซับซ้อน 
การสะท้อนและมองเห็น 
ความสัมพันธ์ 
การใช้วิธีการที่เป็นความคิดริเริ่ม 
การใช้วิธีการที่ซับซ้อน 
การลงข้อสรุป
การประเมินการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ 
ความรู้ความสามารถด้านวิทยาศาสตร์ ไป 
ใช้ในชีวิตจริง และในอนาคตอย่างไร 
P15 
ประเมินว่า นักเรียนสามารถนา 
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ 
ความรู้วิทยาศาสตร์ 
ความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
P15 
ความรู้วิทยาศาสตร์ 
ความรู้เรื่องของโลกธรรมชาติใน 
สาขาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา โลกและ 
อวกาศ รวมท้งัวิทยาศาสตร์ที่เป็น 
พื้นฐานของเทคโนโลยี
P15 
ความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ 
ความรู้ด้านกระบวนการ 
ค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ และ 
การอธิบายทางวิทยาศาสตร์
สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ P15-16 
การระบุประเด็นทางวิทยาศาสตร์ 
การอธิบายปรากฏการณ์ในเชิง 
วิทยาศาสตร์ 
การใช้ประจักษ์พยานทางวิทยาศาสตร์
คนที่รู้เรื่องวิทยาศาสตร์P16 
๑. ใช้ความรู้วิทยาศาสตร์ระบุปัญหา หาความรู้ใหม่อธิบาย 
ปรากฏการณ์ และลงข้อสรุปจากหลักฐาน หรือประจักษ์ 
พยาน 
๒. เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เป็นความรู้ และการค้นหาความรู้ 
รูปแบบหนึ่ง 
๓. ตระหนักรู้ว่า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สามารถ 
สร้างสรรค์วัสดุ สติปัญญา และสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม 
๔. เต็มใจที่จะผูกพันกับวิทยาศาสตร์ แนวคิดทาง 
วิทยาศาสตร์ และเป็นพลเมืองที่มีความคิด และรับผิดชอบ
บริบทของการประเมินการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ 
๑.เนื้อหาสาระ-สุขภาพ -ทรัพยกรธรรม 
ชาติ –คุณภาพสิ่งแวดล้อม –อันตราย 
พิษภัย –ขอบเขตของวิทยาศาสตร์ และ 
เทคโนโลยี 
๒.ระดับ-ส่วนตัว(ตัวเอง ครอบครัว เพื่อน) 
–ชุมชน(สังคม) -โลก 
P17
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้P17-18 
วิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้น ม.๒ ภาคเรียนที่๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 
ตัวชีวั้ด/ผลการ 
เรียนรู้ 
ภาระงาน/ 
ชิน้งาน 
วิธีวัด เครื่องมือวัด 
เกณฑ์การให้ 
คะแนน 
ค ๑.๑ ม.๒/๑ 
เขียนเศษส่วน 
ในรูปทศนิยม 
และเขียน 
ทศนิยมซา้ ใน 
รูปของ 
เศษส่วน 
-ทดสอบปรนัย -ทดสอบปรนัย -แบบทดสอบ 
ปรนัย 
-ตอบถูกได้ 
คะแนน 
-ตอบผิดไม่ได้ 
คะแนน 
เขียนเศษส่วน 
ในรูปทศนิยม 
ตรวจการเขียน 
เศษส่วนในรูป 
ทศนิยม 
-แบบตรวจการ 
เขียนเศษส่วน 
ในรูปทศนิยม 
-ความถูกต้อง 
เขียนทศนิยม 
ในรูปเศษส่วน 
ตรวจการเขียน 
ทศนิยมในรูป 
เศษส่วน 
แบบตรวจการ 
เขียนทศนิยม 
ในรูปเศษส่วน 
-ความถูกต้อง
การวางแผนสร้างเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้P19 
ชื่อหน่วยเศษส่วนและทศนิยม ชั้น ม. ๒ ภาคเรียนที่๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 
ตัวชีวั้ด/ 
ผลการเรียนรู้ 
ระดับ 
การวัด 
ความรู้/เนื้อหา 
ท่จีะวัด 
รูปแบบของข้อสอบและจานวนข้อ 
รวม(ข้อ 
) 
เลือกตอบ เขียนตอบ 
MC MS CM RR 
แบบ 
ปิด 
แบบ 
เปิด 
ค ๑.๑ ม.๒/๑ เขียนเศษส่วนในรูป 
ทศนิยม และเขียนทศนิยมซา้ ในรูป 
ของเศษส่วน 
สัง- 
เคราะห์ 
-การเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยม ๑๐ ๒ ๒ ๔ ๒ - ๒๐ 
-การเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน ๕ ๑ ๒ - ๒ - ๑๐ 
รวม ๑๕ ๓ ๔ ๔ ๔ ๓๐ 
บริบท/สถานการณ์ 
ส่วนตัว ๕ - - - ๑ ๖ 
สาธารณะ ๓ - ๒ ๔ ๑ ๑๐ 
การงานอาชีพ ๒ ๑ - - ๑ ๔ 
การศึกษา ๓ ๒ ๒ - ๑ ๘ 
ในเนื้อหาวิชา ๒ - - - ๒ 
รวม ๑๕ ๓ ๔ ๔ ๔ ๓๐ 
สมรรถนะทางคณิตศาสตร์ 
การทาใหม่ ๒ - 
การเชื่อมโยงความรู้๑๓ ๓ ๔ ๔ ๒ ๒๘ 
การสะท้อนและการสื่อสาร - - - - ๒ ๒ 
รวม ๑๕ ๓ ๔ ๔ ๔ ๓๐
P 21-36
กิจกรรม 
๑.แต่ละคนเลือก ๑ หน่วยการเรียนรู้ 
๒.วางแผนสร้างข้อสอบในแบบฟอร์ม 
วิชาคณิตฯ/วิทย์ฯ ใช้แบบฟอร์มของ 
ตน วิชาอื่น ๆ ใช้แบบฟอร์มทั่วไป โดย 
ให้มีรูปแบบข้อสอบ บริบท รูปแบบ 
ของข้อความ กระจายหลากหลาย 
๓.ลงมือสร้างข้อสอบทีละตัวชี้วัดตาม 
แผนฯ 
๔.ตรวจสอบความตรง กับครบถ้วน
เกณฑ์ระดับคุณภาพ(Rubrics) 
เป็นชุดของการให้คะแนนผลงานของ 
ผู้เรียน ที่มีคุณภาพระดับแตกต่างกัน เพอื่ 
สะท้อนให้ผู้เรียนได้ทราบว่าผลงานของ 
ตนเองเป็นอย่างไร จะได้แก้ไข ปรับปรุง 
การเรียนรู้ของตนเองได้อย่างชัดเจน 
P36
48 
ประเภทของ Rubrics แยกส่วน 
Analytic Rubrics 
ภาพรวม 
Holistic Rubrics 
Rubrics 
• Formative evaluation 
• Summative evaluation 
P36-37
49 
ประเด็นการประเมิน/ 
มิติการประเมิน 
ส่วนประกอบของ 
Rubrics 
ระดับคุณภาพ 
คาอธิบาย 
ระดับคุณภาพ 
❶ 
❷ 
❸ 
P36
ข้นัตอนการสร้าง Rubrics 
๑.วิเคราะห์ภาระงาน/ชิ้นงานที่จะประเมิน 
๒.กาหนดประเด็นการประเมินให้ 
ครอบคลุมสิ่งที่ประเมิน 
๓.กาหนดจานวนระดับคุณภาพ 
๔.อธิบายระดับคุณภาพของแต่ละประเด็น 
การประเมิน 
P36
๕.ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความตรง 
(Validity) ของประเด็นการประเมิน และ 
ระดับคุณภาพของแต่ละประเด็น 
๖.กาหนดค่าน้าหนักของแต่ละประเด็น 
การประเมิน 
๗.วิพากษ์ร่วมกันกับเพื่อนครู / ผู้เรียน 
๘.ทดลองใช้หาค่าความเชื่อมั่น(Reliability)โดย 
หาค่า Spearman Rank Correlation 
๙.ปรับปรุงถ้าค่าความเชื่อมั่นยังไม่เข้าเกณฑ์ 
P36-37
ตัวอย่าง Rubrics วัด การเขียตอนกิ่ง 
เกณฑ์การให้คะแนน 
๑. การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ 
๒. การเลือกกิ่ง 
๓. การควั่นกิ่ง 
๔. การหุ้มกิ่ง 
๕. การมัดวัสดุกิ่งตอน 
P37
ตัวอย่าง Rubrics วัด การเขียน 
เกณฑ์ ๑ ๒ ๓ 
๑.การเตรียม 
เตรียมวัสดุ 
เตรียมวัสดุ 
วัสดุอุปกรณ์ 
อุปกรณ์ขาดไป 
อุปกรณ์ขาดไป ๑ 
(๒) 
มากกว่า ๑ อย่าง 
อย่าง 
เตรียมวัสดุ 
อุปกรณ์ครบถ้วน 
๒.การเลือก 
กิ่ง(๒.๕) 
เลือกกิ่งแก่ หรือ 
อ่อนเกินไป 
เลือกกิ่งค่อนข้าง 
แก่ หรือค่อนข้าง 
อ่อน 
เลือกกิ่งไม่แก่ ไม่ 
อ่อนเกินไป 
P37
เกณฑ์ ๑ ๒ ๓ 
๓.การควั่นกิ่ง 
(๒.๕) 
รอยควั่นกิ่งส่วน 
ปลายยอดไม่ 
เรียบร้อย มีรอยช้า 
ระยะห่างระหว่าง 
รอยควั่นประมาณ ๑ 
นิ้ว ขูดเปลือกที่รอย 
ขวั้นหมดจด 
รอยควั่นกิ่งส่วนปลาย 
ยอดไม่ค่อยเรียบร้อย 
ระยะห่างระหว่างรอย 
ควั่นประมาณ ๑ นิ้ว 
ขูดเปลือกที่รอยขวั้น 
หมดจด 
รอยควั่นกิ่งส่วน 
ปลายยอดไม่ช้า 
ระยะห่างระหว่าง 
รอยควั่นประ มาณ ๑ 
นิ้ว ขูดเปลือกที่รอย 
ขวั้นหมดจด 
๔.การหุ้มกิ่ง 
ด้วยวัสดุ(๒) 
หุ้มกิ่งส่วนที่ตอน 
ด้วยวัสดุ และ 
พลาสติกหุ้มไม่ค่อย 
เรียบร้อย 
หุ้มกิ่งส่วนที่ตอนด้วย 
วัสดุปริมาณที่มาก 
หรือน้อยเกินไป และ 
มีพลาสติกหุ้มมิดชิด 
หุ้มกิ่งส่วนที่ตอน 
ด้วยวัสดุปริมาณที่ไม่ 
มากหรือน้อยเกินไป 
และมีพลาสติกหุ้ม 
มิดชิด P37
เกณฑ์ ๑ ๒ ๓ 
๕.การมัดวัสดุ 
ตอนกิ่ง(๑) 
มัดวัสดุหุ้มกงิ่ 
ตอนไม่แน่น ทา 
ให้บิดวัสดุหุ้มกงิ่ 
ตอนไปมาได้ 
มัดวัสดุหุ้มกิ่งตอน 
เกือบแน่น และ 
สามารถบิดวัสดุ 
หุ้มกิ่งตอนไปมาได้ 
เล็กน้อย 
มัดวัสดุหุ้มกิ่ง 
ตอนแน่น ไม่ 
สามารถบิดวัสดุ 
หุ้มกิ่งตอนไปมา 
ได้ 
P37
การหาค่าความเชื่อมั่น(ความเที่ยง)ของแบบสังเกต 
การหาค่าความเชื่อมั่นของผู้ประเมิน-สังเกต 
การปฏิบัติงานของนักเรียนทีละคนโดย 
ใช้ผู้ประเมิน ๒ คน 
   
N xy x y 
r 2 2 2 2 
      
  
 
x x y y 
 
 
 
   
 
 
 
  
tt 
N N
การคิดคะแนนที่นักเรียนได้รับ(การเขียนเรียงความ) 
มิติประเมิน ระดับ ๑ ระดับ ๒ ระดับ ๓ ระดับ ๔ 
๑.รูปแบบ(๑) ✓๓ 
๒.เนื้อหาสาระ(๒) ✓๖ 
๓.การนาเสนอ(๒) ✓๔ 
๔.การใช้ภาษา 
✓๙ 
(๓) 
๕. การสะกด(๒) ✓๘ 
รวมได้=๓+๖+๔+๙+๘=๓๐คะแนน 
จากคะแนนเต็ม=๔+๘+๘+๑๒+๘=๔๐คะแนน
การหาค่าความเชื่อมั่นของแบบสังเกต 
r =๐.๙๙ r =๐.๑๒ 
๑ ๒ 
r =๐.๗๒ 
๓
การตราจสอบคุณภาพเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้ 
เครื่องมือวัด 
ความตรง(Validity) 
ความเที่ยง/เชื่อมั่น(Reliability) 
นาไปใช้ 
ผู้เชี่ยวชาญ 
ทดลองกับนักเรียน 
กลุ่มอื่น 
n 
R 
IOC   
P20
ความตรงเชิงเนื้อหา(Validity)หมายถึง 
เครื่องมือที่สร้างนั้น มีข้อคา ถาม หรือมีเนื้อหา 
การหาข้อมูลตรงตามเรื่องที่ต้องการจะวัด 
และครอบคลุมเรื่องที่ต้องการจะวัด 
ความเชื่อมั่น(Reliability)หมายถึงเมื่อใช้ 
เครื่องมือวัดที่สร้างขึ้นนี้ มาทาการวัด กี่ 
ครั้ง เมื่อไร ที่ไหน ก็จะได้ผลการวัดคงที่
การหาคุณภาพของเครื่องมือวัด 
ข้อสอบ 
แบบ 
ปรนัย 
สังเกต 
ความตรงเชิงเนื้อหา(Validity) 
อานาจจาแนก B/D/R 
ความเชื่อมั่น 
อิงเกณฑ์(rcc) 
สหสัมพันธ์ 
(Correlation) 
แบบ 
สอบถาม 
- 
Coefficient 
n 
R 
IOC   
ข้อสอบ 
อัตนัย 
อานาจจาแนก t 
P20
การวิเคราะห์ข้อสอบปรนัยเลือกตอบ
การวิเคราะห์ข้อสอบอัตนัย
การวิเคราะห์ข้อสอบอัตนัย(p, r)
การวิเคราะห์แบบสอบถาม
การวิเคราะห์แบบสอบถาม(r)
การพัฒนาคลังข้อสอบ 
วางแผนกาหนดจานวนข้อสอบ 
สร้างข้อสอบ 
Validity 
Reliability 
เก็บเข้าคลังข้อสอบ 
นาไปใช้ 
ปรับปรุง

More Related Content

What's hot

03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
JeeraJaree Srithai
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลUltraman Taro
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
Jirathorn Buenglee
 

What's hot (7)

1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
 
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
 

Similar to Pisaราช34

Science
ScienceScience
Mcatesting program
Mcatesting programMcatesting program
Mcatesting program
Krody Solution
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155wongsrida
 
Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552wongsrida
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
คุณครูพี่อั๋น
 
Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
Aon Narinchoti
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
Weerachat Martluplao
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะnwichunee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...Sirirat Faiubon
 
การวัด
การวัดการวัด
การวัดnuaof
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
onnichabee
 
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงการออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
คุณครูพี่อั๋น
 
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหาJoice Naka
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุkruannchem
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1arm_2010
 
เนรัญญา แอโรบิค
เนรัญญา แอโรบิคเนรัญญา แอโรบิค
เนรัญญา แอโรบิคNAY Aupara
 

Similar to Pisaราช34 (20)

Science
ScienceScience
Science
 
Mcatesting program
Mcatesting programMcatesting program
Mcatesting program
 
1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155
 
Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
 
Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
 
การวัด
การวัดการวัด
การวัด
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
 
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงการออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
 
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
เนรัญญา แอโรบิค
เนรัญญา แอโรบิคเนรัญญา แอโรบิค
เนรัญญา แอโรบิค
 

Pisaราช34