SlideShare a Scribd company logo
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง
ฉบับประสบการณ์
ภาคที่ 2
ภาคปฏิบัติ
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
Engineering, Procurement and Construction Contract (EPC) for Beginner 2. ภาคปฎิบัติ
ภาคที่ 2: ภาคปฎิบัติ
ในส่วนนี้จะอธิบายถึงวิธีการจัดทาเอกสารประกวดราคาสัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง
2-1 การประกวดราคา
เอกสารชุดนี้ จัดทาขึ้นเพื่อประกอบการบรรยายเรื่องการประกวดราคา สาหรับการอบรม นักกฎหมาย
ก่อสร้าง รุ่นที่ 2 จัดโดยชมรมนักกฎหมายก่อสร้างเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2563
2-2 คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
เอกสารชุดนี้ จัดทาขึ้นเพื่อประกอบการบรรยายเรื่อง การจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา แก่บริษัท บริษัท
โปรเจค แพลนนิ่ง เซอร์วิส จากัด (มหาชน) เมื่อปี พ.ศ. 2561 และเอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง “การ
จัดทารายการประกอบแบบก่อสร้าง (Specifications)” ISA โครงการพัฒนาวิชาชีพ ครั้งที่ 3 จัดโดย
สมาคมสถาปนิกสยามแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2551
2-1 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-2 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-3 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-4 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-5 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-6 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-7 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-8 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-9 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-10 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-11 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-12 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-13 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-14 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-15 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-16 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-17 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-18 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-19 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-20 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-21 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-22 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-23 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-24 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-25 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-26 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-27 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-28 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-29 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-30 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-31 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-32 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-33 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
2-34 | การประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์

2-35 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
คู่มือการจัดเตรียม
เอกสารประกวด
ราคา
TENDER DOCUMENTS
PREPARATION MANUAL
2-36 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
1. บทนา
เมื่อเริ่มโครงการ เจ้าของโครงการจะทาการออกแบบรายละเอียดโครงการ โดยมีแบบ ข้อกาหนด และ
รายละเอียด ในกรณีสัญญา อีพีซี เจ้าของโครงการจะกาหนดรายละเอียด เพื่อให้ผู้รับจ้างออกแบบ จากนั้น
จะทาการประกวดราคาเพื่อหาผู้รับจ้างทาการก่อสร้าง ในการประกวดราคาจาเป็นต้องมีเอกสารเพื่อเป็นข้อมูล
ให้ผู้รับจ้างทราบว่ารายละเอียดโครงการเป็นอย่างไร คุณสมบัติของ ผู้เข้าประกวดราคาเป็นอย่างไร มีเงื่อนไข
ในการจ้าง การจ่ายเงินเป็นอย่างไร กาหนดการณ์ต่าง ๆ ในการประกวดราคา ระยะเวลาการก่อสร้าง ฉะนั้น
เอกสารประกวดราคาจึงมีความสาคัญ โดยต้องระบุรายละเอียดต่าง ๆ ให้ชัดเจน เพื่อให้ผู้ประกวดราคาเสนอ
ราคาได้ถูกต้อง เหมาะสม สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการตามเวลาที่กาหนด
เอกสารฉบับแรกคือ จดหมายเชิญ ประกาศ และคาแนะนาผู้เข้าประกวดราคา (Instruction to Bidders) เป็น
เอกสารแนะนาโครงการ ระบุวัตถุปรสงค์ ความเป็นมาของโครงการ ขอบเขตงาน กาหนดคุณสมบัติของผู้เข้า
ประกวดราคา การยื่นเอกสารประกวดราคา ขั้นตอน วิธีการ รวมถึงอธิบายรายละเอียดในเอกสารประกวด
ราคา
เงื่อนไขของสัญญา (Conditions of Contract) เป็นเอกสารที่ระบุเงื่อนไขต่าง ๆ ในสัญญา อาทิเช่น คาจากัด
ความที่ใช้ หน้าที่และความรับผิดชอบของฝ่ายต่าง ๆ ในโครงการ เงื่อนไขการจ่ายเงิน และอื่น ๆ เงื่อนไขของ
สัญญาจะแบ่งออกเป็นเงื่อนไขทั่วไป และเงื่อนไขพิเศษ
ข้อกาหนด (Specifications) เป็นเอกสารซึ่งกล่าวถึงความประสงค์ ความต้องการของผู้ออกแบบ เจ้าของงาน
หรือเจ้าของโครงการ เพื่อสื่อสารไปยังบุคลากรผู้ที่เกี่ยว ข้องในงานต่าง ๆ เช่น งานก่อสร้าง งานผลิต งาน
พัฒนาซอฟต์แวร์ ฯลฯ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ กาหนด ขอบเขตงาน อธิบายคาจากัดความ นิยามที่ใช้ในงานนั้น
มาตรฐานที่ต้องการให้ใช้ ชนิด ขนาด และรายละเอียดของวัสดุ เครื่องจักร เครื่องมือ ตลอดจนถึงวิธีการ
ก่อสร้างหรือวิธีการดาเนิน งาน รวมถึงคุณภาพของช่างฝีมือ แรงงาน ความละเอียดและถูกต้องในงานนั้น
บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา (Bill of Quantities) เป็นเอกสารซึ่งแสดงรายการงาน และปริมาณวัสดุ
เพื่อให้ผู้เข้าประกวดราคากรอกราคา เพื่อประกวดราคางานโครงการนี้
เอกสารประกวดราคาเป็นเอกสารแสดงข้อมูลให้ผู้รับจ้างทราบว่ารายละเอียดโครงการเป็นอย่างไร คุณสมบัติ
ของผู้เข้าประกวดราคาเป็นอย่างไร มีเงื่อนไขในการจ้าง การจ่ายเงินเป็นอย่างไร กาหนดการณ์ต่าง ๆ ในการ
ประกวดราคา ระยะเวลาการก่อสร้าง ฉะนั้นเอกสารประกวดราคาจึงมีความสาคัญ โดยต้องระบุรายละเอียด
2-37 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
ต่าง ๆ ให้ชัดเจน เพื่อให้ผู้ประกวดราคาเสนอราคาได้ถูกต้อง เหมาะสม สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ
โครงการตามเวลาที่กาหนด
2. องค์ประกอบของเอกสารประกวดราคา
เอกสารประกวดราคาประกอบด้วยเอกสารต่าง ๆ ดังนี้คือ
1. จดหมายเชิญ
2. ประกาศ
3. ข้อกาหนดขอบเขตของงาน (Terms of Reference: TOR)
4. คาแนะนาผู้เข้าประกวดราคา (Instruction to Bidders)
5. เงื่อนไขของสัญญา (Conditions of Contract)
6. ข้อกาหนด (Specifications)
7. บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา (Bill of Quantities)
8. แบบสัญญาจ้าง (Contracts)
2.1 ประกาศ
ประกาศเป็นเอกสารซึ่งเจ้าของงานประกาศแจ้งการประกวดราคาโครงการ แสดงรายะเอียด ขอบเขตของ
โครงการโดยสังเขป ระบุคุณสมบัติของผู้ที่สามารถเข้าประกวดราคาได้ กาหนดการประกวดราคาต่าง ๆ
สถานที่ติดต่อ
2.2 ข้อกาหนดขอบเขตของงาน (Terms of Reference: TOR)
ข้อกาหนดขอบเขตของงานจะกล่าวถึงความเป็นมาของโครงการ วัตถุประสงค์ คุณสมบัติของผู้ประสงค์จะ
เสนอราคา เอกสารหลักฐานต่างๆ ประกอบการคัดเลือกผู้เสนอราคา แบบฟอร์มการเสนอราคา ข้อมูลจาเพาะ
ทางเทคนิค รายละเอียดการยื่นข้อเสนอ รูปแบบรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะ หลักเกณฑ์การพิจารณา
ข้อเสนอ ระยะเวลาการดาเนินงานและส่งมอบงาน สถานที่ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
2.3 คาแนะนาผู้เข้าประกวดราคา (Instructions to Bidders)
คาแนะนาผู้เข้าประกวดราคาประกอบด้วยรายละเอียดของเอกสารโครงการว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง
คุณสมบัติของผู้ยื่นข้อเสนอ เอกสารหลักฐานต่าง ๆ ข้อมูลจาเพาะทางเทคนิค หลักฐานการยื่นข้อเสนอ
รายละเอียดการเสนอราคา หลักประกันการเสนอราคา หลักเกณฑ์และสิทธิในการพิจารณา การทาสัญญาจ้าง
ก่อสร้าง ค่าจ้างและการจ่ายเงิน อัตราค่าปรับ กรณีทางานไม่แล้วเสร็จตามสัญญา การรับประกันความชารุด
บกพร่อง การจ่ายเงินล่วงหน้า การหักเงินประกันผลงาน ข้อสงวนสิทธิ์ในการยื่นข้อเสนอและอื่นๆ การปรับ
2-38 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
ราคาค่างานก่อสร้าง มาตรฐานฝีมือช่าง การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ของผู้ประกอบการ
2.4 เงื่อนไขของสัญญา (Conditions of Contract)
เงื่อนไขของสัญญาประกอบด้วย เงื่อนไขทั่วไปของสัญญา และเงื่อนไขเฉพาะ
เงื่อนไขของสัญญาทั่วไปประกอบด้วย รายละเอียดต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
1. คาจากัดความและการตีความ (Definitions and Interpretations)
2. หลักประกันสัญญา (Performance Guarantee)
3. การโอนสิทธิหน้าที่และการทาสัญญาจ้างช่วง (Assignment and Subcontracting)
4. แบบรูป (Drawings)
5. ภาระหน้าที่โดยทั่วไป (General Obligations)
6. การดูแลบารุงรักษางาน (Care of Works)
7. การประกันภัยในงาน (Insurance of Works)
8. ความเสียหายต่อบุคคลและทรัพย์สิน (Damage to Persons and Property)
9. การแก้ไขกรณีผู้รับจ้างไม่ทาประกันภัย (Remedy on Contractor’s Failure to Insure)
10. การปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบต่าง ๆ (Compliance with Laws and Regulations,
etc.)
11. การเข้าพื้นที่ของผู้รับจ้างรายอื่น (Access to other Contractors)
12. การดูแลรักษาหน้างานให้สะอาดและปลอดภัย (Maintaining the Site Clean and Safe)
13. แรงงาน (Labour)
14. วัสดุและฝีมือการทางาน (Materials and Workmanship)
15. การตรวจสอบการปฏิบัติงาน และงานที่มองไม่เห็นจากภายนอก (Inspection of Operations and
Examination of Hidden Work)
16. งานและวัสดุที่ไม่ถูกต้อง (Improper Work and Materials)
17. การหยุดงาน (Suspension of Works)
18. หนังสือแจ้งให้เริ่มงานและการครอบครองพื้นที่หน้างาน (Notice to Proceed, and Possession of
Site)
19. กาหนดเวลาแล้วเสร็จของงาน (Time for Completion)
20. การขยายกาหนดเวลาแล้วเสร็จของงาน (Extension of Time of Completion)
21. อัตราความก้าวหน้า การทางานกลางคืนหรือวันอาทิตย์ (Rate of Progress, Night or Sunday
Work)
22. ความล่าช้าของงาน (Works Delay)
2-39 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
23. หนังสือรับรองการแล้วเสร็จของงาน (Certificate of Completion)
24. งานชารุดบกพร่อง (Defective Works)
25. การแก้ไขเปลี่ยนแปลงงาน การเพิ่มเติมงาน และการยกเลิกงาน (Alterations, Additions and
Omissions)
26. เครื่องจักรก่อสร้าง อุปกรณ์ของผู้รับจ้าง งานชั่วคราวและวัสดุ (Constructional Plant,
Contractor’s Equipment, Temporary Works and Materials)
27. การวัดปริมาณงาน (Measurement of Quantities)
28. การปรับมูลค่าสัญญาเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณงาน (Adjustment of Contract Sum Due
to Variations in Quantities)
29. เงินสารองเผื่อการใช้จ่าย (Provisional Sums)
30. การจ่ายเงิน และการหักเงินประกันผลงาน (Payment and Retention)
31. การเลิกสัญญาโดยผู้ว่าจ้าง (Termination of Contract by the Employer)
32. เหตุสุดวิสัย (Force Majeure)
33. การระงับข้อพิพาท (Settlement of Disputes)
34. การเลิกสัญญาโดยผู้รับจ้าง (Termination of Contract by the Contractor)
35. ความรับผิดของคู่สัญญา (Liabilities of the Parties)
36. ความช่วยเหลือจากผู้ว่าจ้าง (Assistance by the Employer)
37. การบอกกล่าว (Notices)
38. ภาษา (Language)
39. กฎหมายที่ใช้บังคับ (Law of Contract)
40. กฎหมายที่ต้องปฏิบัติตาม (Law to be Observed)
41. กฎหมายที่ออกมาภายหลัง
42. การเปลี่ยนแปลงราคา (Changes in Costs)
43. อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา (Rate of Exchange)
44. ภาษีและพิกัดศุลกากร (Taxation and Customs Duties)
45. อากรแสตมป์ (Stamp Duties)
46. การอนุมัติไม่มีผลต่อความรับผิดของผู้รับจ้าง (Liabilities not Affected by Approval)
47. การใช้วัตถุระเบิด (Use of Explosives)
48. การซ่อมแซมเร่งด่วน (Urgent Repairs)
49. เอกสารที่อธิบายความหมายร่วมกัน (Documents Mutually Explanatory)
50. พื้นที่ทางานอยู่นอกบริเวณหน้างาน (Work Areas outside the Site)
51 เงื่อนไขในการปฏิบัติงาน
2-40 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
52. ข้อบังคับพิเศษของเจ้าของงาน
53. การจอดเรือชั่วคราว การทาเครื่องหมาย ทุ่นและแสงสว่าง
54. การสงวนสิทธิ
55. ค่าใช้จ่ายพิเศษ
56. ค่าสิทธิบัตร
57. ผู้รับจ้างช่วง
58. การดูแลรักษาการจราจร คนดูแลและเฝ้าระวังความปลอดภัย (Maintenance of Traffic, Safety
and Lookout Men)
59. การให้สินบน (Bribery)
60. การกระทาการอันรบกวนต่อสาธารณะ (Interference with the Public)
61. สาธารณูปการ (Utilities)
62. ที่พักบริเวณหน้างาน (Site Accommodation)
63. ที่พักอาศัย (Living Accommodations)
64. การบันทึกวีดีทัศน์ (Contract Record)
65. ความสัมพันธ์กันระหว่างเอกสารสัญญา
66. การประสานงานกับส่วนราชการและ/หรือผู้รับจ้างรายอื่น
เงื่อนไขเฉพาะ จะเป็นรายละเอียดที่เพิ่มเติมจากเงื่อนไขทั่วไป อาทิเช่น แผนดาเนินงานก่อสร้างและผังของ
การเชื่อมประสานงานก่อสร้าง (Key Date : KD) และอาจมีการแก้ไขปรับปรุงข้อความในเงื่อนไขทั่วไป
2.5 ข้อกาหนด (Specifications)
ข้อกาหนด (Specifications) เป็นเอกสารซึ่งกล่าวถึงความประสงค์ ความต้องการของผู้ออกแบบ เจ้าของงาน
หรือเจ้าของโครงการ เพื่อสื่อสารไปยังบุคลากรผู้ที่เกี่ยว ข้องในงานต่าง ๆ เช่น งานก่อสร้าง งานผลิต งาน
พัฒนาซอฟต์แวร์ ฯลฯ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ กาหนด ขอบเขตงาน อธิบายคาจากัดความ นิยามที่ใช้ในงานนั้น
มาตรฐานที่ต้องการให้ใช้ ชนิด ขนาด และรายละเอียดของวัสดุ เครื่องจักร เครื่องมือ ตลอดจนถึงวิธีการ
ก่อสร้างหรือวิธีการดาเนินงาน รวมถึงคุณภาพของช่างฝีมือแรงงาน ความละเอียดและถูกต้องในงานนั้น
2.6 บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา (Bill of Quantities)
บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา (Bill of Quantities) เป็นเอกสารซึ่งแสดงรายการงาน และปริมาณวัสดุ
เพื่อให้ผู้เข้าประกวดราคากรอกราคา เพื่อประกวดราคางานโครงการนี้
องค์ประกอบของบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา
บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ คือ
2-41 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
- ลาดับที่ของรายการ
- รายละเอียดของงานแต่ละประเภท
- ปริมาณงาน (จานวน)
- หน่วยในการวัดเพื่อการจ่ายเงิน
- อัตราราคาต่อหน่วย (อาจแยกเป็นราคาค่าวัสดุ และค่าแรงงาน) ของแต่ละรายการ
- ราคารวม
- หมายเหตุ (หากจาเป็น หรือต้องการ)
หน้าที่และความสาคัญของบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา ที่ใช้ในงานก่อสร้าง
- แสดงองค์ประกอบรายละเอียดของงานต่าง ๆ
- แสดงปริมาณงานและหน่วยที่ใช้ในการวัดและจ่ายเงิน
- แสดงราคาของงานแต่ละประเภท
- ใช้เพื่อเปรียบเทียบราคาของผู้เข้าประกวดราคา (Tenderer /Bidder) เพื่อเป็นผู้รับจ้างก่อสร้าง
(ผู้รับเหมา/ Contractor) ในโครงการนั้น ๆ
- ใช้เพื่อเป็นราคาฐาน สาหรับงานเพิ่มเติมในโครงการนั้น ๆ
- ใช้เพื่อการเบิกจ่ายเงิน (Payment) หรือการเบิกจ่ายเงินบางส่วนในระหว่างการก่อสร้าง (Interim
Payment)
2.7 แบบสัญญาจ้าง (Contract)
แบบสัญญาจ้างจะเป็นตัวอย่างของสัญญาจ้าง ที่จะใช้ในโครงการ ดังตัวอย่างที่แสดงต่อไปนี้
2-42 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
สัญญาว่าจ้างก่อสร้างอาคาร
ทาที่..................................
.......................................
วันที่...........................................
สัญญานี้ทาขึ้นระหว่าง.............................................อยู่บ้านเลขที่................หมู่ที่..........ถนน
...........................ตาบล/แขวง.......................อาเภอ/เขต........................จังหวัด...........................ซึ่งต่อไปนี้ใน
สัญญาจะเรียกว่า “ผู้ว่าจ้าง” ฝ่ายหนึ่ง กับ บริษัท(จากัด)/ห้างหุ้นส่วนจากัด…………………………
โดย……………………………………..กรรมการผู้มีอานาจ/หุ้นส่วนผู้จัดการ สานักงานตั้งอยู่เลขที่................หมู่ที่
........ถนน...........................ตาบล/แขวง..........................................อาเภอ/เขต........................... ..จังหวัด
............................ซึ่งต่อไปนี้ในสัญญาจะเรียกว่า “ผู้รับจ้าง” อีกฝ่ายหนึ่ง
ทั้งสองฝ่ายได้ตกลงทาสัญญาว่าจ้างก่อสร้างอาคาร ดังมีข้อความต่อไปนี้
ข้อ ๑ ผู้ว่าจ้างตกลงว่าจ้าง และผู้รับจ้างตกลงรับจ้างก่อสร้างอาคาร...............บนที่ดินแปลง
เลขที่......................ซึ่งเป็นส่วนของที่ดินโฉนดเลขที่....................................ตาบล/แขวง.......................อาเภอ/
เขต................................จังหวัด............................เนื้อที่ประมาณ...............ตารางวา ตามแบบแปลนและ
รายละเอียดของงานที่แนบท้ายสัญญานี้และให้ถือเป็นส่วนหนึ่งของสัญญานี้
ข้อ ๒ ผู้รับจ้างตกลงจะทาการก่อสร้างตามสัญญาข้อ ๑ ให้เสร็จสิ้นภายในกาหนด...........
เดือน นับแต่วันทาสัญญานี้
ในกรณีที่เกิดเหตุสุดวิสัยใดๆ ที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้และเป็นเหตุให้การก่อสร้างดังกล่าวต้อง
หยุดชะงักลงโดยมิใช่ความผิดของฝ่ายผู้รับจ้างก็ให้ยืดกาหนดเวลาดังกล่าวในวรรคก่อนออกไปเท่ากับเวลาที่
สูญเสียไปเพราะเหตุดังกล่าว
ข้อ ๓ ก่อนลงมือก่อสร้าง ผู้รับจ้างต้องทาการตรวจสอบสถานที่และสภาพที่เป็นอยู่ รังวัด
ตรวจสอบหมุดหลักเขต จัดทาระดับแนวและระยะต่างๆ ในแบบก่อสร้างและเสนอผลการตรวจสอบให้แก่ผู้ว่า
จ้างพร้อมทั้งแสดงสภาวะของสภาพดังกล่าวอันจะทาให้เกิดการกระทบกระเทือนยุ่งยากแก่งานที่ระบุในสัญญา
และรายงานความเคลื่อนไหวอันเกิดขึ้นระหว่างแผนก่อสร้างกับสถานที่จริงเป็นลายลักษณ์อักษรก่อน
ดาเนินงานต่อไป
2-43 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
ข้อ ๔ ผู้รับจ้างต้องตรวจสอบและศึกษารายละเอียดโดยผู้รับจ้างต้องเสนอแบบขยาย
รายละเอียดจะต้องแสดงถึงวิธีการ ตาแหน่งและระยะต่างๆ ในการปฏิบัติงานโดยละเอียด
ข้อ ๕ ผู้ว่าจ้างตกลงชาระค่าจ้างให้แก่ผู้รับจ้างเป็นเงินทั้งสิ้น.......................บาท
(.................................................) โดยจะชาระค่าจ้างให้เป็นงวดๆ รวม .................งวด ตามรายละเอียดการ
ชาระค่าจ้าง ดังนี้
งวดที่ ๑ ชาระจานวน..........................บาท (.. ........................................................) ภายในวันที่หรือก่อนวันที่
.................................................
งวดที่ ๒ ชาระจานวน..........................บาท (.........................................................) ภายในวันที่หรือก่อนวันที่
.................................................
งวดที่ ๓ ชาระจานวน...........................บาท (........................................................) ภายในวันที่หรือก่อนวันที่
................................................
งวดที่ ๔ ชาระจานวน............................บาท (.........................................................) ภายในวันที่หรือก่อนวันที่
................................................
งวดที่ ๕ ชาระจานวน............................บาท (......................................................) ภายในวันที่หรือก่อนวันที่
................................................
ข้อ ๖ เงินค่าจ้างส่วนที่เหลืออีก.....................บาท (..................................)ผู้ว่าจ้างตกลงชาระ
ให้แล้วเสร็จ หรือผู้ซื้อจัดหาสถาบันการเงินมาชาระให้แล้วเสร็จภายในวันที่ส่งมอบงาน
ข้อ ๗ วัสดุเครื่องมืออุปกรณ์ที่ใช้ในการก่อสร้างรวมทั้งสัมภาระต่างๆ ที่จาเป็นให้ผู้รับจ้างเป็น
ผู้จัดหา ซึ่งจะต้องใช้วัสดุอุปกรณ์ตามขนาดและคุณภาพดังที่แจ้งไว้ในรายละเอียดแนบท้ายสัญญานี้
ข้อ ๘ ถ้าผู้ว่าจ้างผิดนัดชาระค่าจ้างงวดใดงวดหนึ่งตามข้อ ๕ ผู้รับจ้างมีสิทธิยึดหน่วงใน
สิ่งก่อสร้างและสิ่งติดตรึงตราหรือการงานใดๆ ที่ผู้รับจ้างได้ทาไว้ตามสัญญานี้และผู้รับจ้างมีสิทธิปฏิเสธทาการ
งานจนกว่าผู้ว่าจ้างจะได้จัดการชาระค่าจ้างแก่ผู้รับจ้างแล้วเสร็จ
ถ้าผู้ว่าจ้างผิดนัดชาระค่าจ้างแก่ผู้รับจ้าง ๒ งวดติดต่อกัน ให้ถือว่าสัญญานี้เป็นอันยกเลิกกัน
ทันที โดยผู้รับจ้างมิต้องบอกกล่าวเตือนก่อนและให้ถือว่ากรรมสิทธิ์ของอาคารเป็นของผู้รับจ้าง โดยผู้รับจ้างไม่
จาเป็นต้องคืนเงินค่าจ้างที่ได้รับไว้แล้ว
2-44 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
ข้อ ๙ ผู้ว่าจ้างหรือบริวารจะไม่เข้าไปใช้สอยหรือเข้าครอบครองในอาคารที่ว่าจ้างให้ปลูก
สร้างจนกว่าผู้รับจ้างจะส่งมอบงานงวดสุดท้าย และผู้ว่าจ้างได้ชาระราคาตามสัญญาให้แก่ผู้รับจ้างจนครบถ้วน
แล้ว
ให้ถือว่ากรรมสิทธิ์ในสิ่งก่อสร้างและสิ่งติดตรึงตราที่ผู้รับจ้างได้ทาไว้ตามสัญญานี้ยังเป็น
กรรมสิทธิ์ของผู้รับจ้างอยู่และไม่เป็นส่วนควบของที่ดินจนกว่าผู้รับจ้างจะส่งมอบงานงวดสุดท้ายและผู้ว่าจ้างได้
ชาระราคาตามสัญญาให้แก่ผู้รับจ้างจนครบถ้วนแล้ว
ข้อ ๑๐ หากผู้ว่าจ้างประสงค์จะทาการแก้ไขเปลี่ยนแปลงการก่อสร้างผู้ว่าจ้างจะต้องแจ้งให้
ผู้รับจ้างทราบเป็นลายลักษณ์อักษรโดยผู้ว่าจ้างจะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายเองแต่ผู้รับจ้างมีสิทธิที่จะยอมรับหรือไม่
ยอมรับการเปลี่ยนแปลงนั้นๆ โดยคานึงถึงความจาเป็นและผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากการแก้ไข
เปลี่ยนแปลงดังกล่าว
ข้อ ๑๑ ผู้รับจ้างต้องทางานก่อสร้างทั้งหมดให้ถูกต้องตามแบบแผนและรายละเอียดการ
ก่อสร้าง ทั้งนี้ ผู้ว่าจ้างยินยอมให้ผู้รับจ้างนางานส่วนใดส่วนหนึ่งหรืองานทั้งหมดแห่งสัญญานี้ไปให้ผู้อื่นรับจ้าง
ช่วงก่อสร้างให้เป็นไปตามแบบและมาตรฐานของผู้รับจ้างอีกต่อหนึ่งได้
ข้อ ๑๒ ผู้รับจ้างยินยอมให้ผู้ว่าจ้างหรือตัวแทนเข้าตรวจตราอาคารได้เป็นครั้งคราว แต่ผู้ว่า
จ้างต้องไม่ขัดขวางหรือรบกวนการก่อสร้าง
ข้อ ๑๓ ผู้รับจ้างต้องปฏิบัติงานก่อสร้างด้วยความระมัดระวัง ป้องกันความเสียหายและ
อุบัติเหตุอันเกิดจากบุคคลภายนอกด้วย หากเกิดอุบัติเหตุหรือความเสียหายแก่บุคคลภายนอก ผู้รับจ้างต้อง
รับผิดเพียงฝ่ายเดียว
ข้อ ๑๔ ในขณะก่อสร้างผู้รับจ้างต้องรักษาสถานที่ให้สะอาด ปราศจากเศษวัสดุ อันเกิดจาก
การปฏิบัติงาน
ข้อ ๑๕ เมื่อผู้รับจ้างได้ทาการก่อสร้างเสร็จแล้ว ผู้รับจ้างจะมีหนังสือแจ้งให้ผู้ว่าจ้างทราบ
เพื่อให้ผู้ว่าจ้างหรือตัวแทนของของผู้ว่าจ้างมาตรวจรับมอบงานภายในเวลาที่กาหนด..........วัน นับแต่วันที่ผู้
รับจ้างได้มีหนังสือแจ้งไป หากผู้ว่าจ้างไม่ตรวจรับมอบงานภายในกาหนดเวลาดังกล่าวหรือไม่ยอมรับมอบงาน
โดยไม่แจ้งเหตุให้ทราบเกินกว่ากาหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ให้ถือว่าผู้รับจ้างได้ส่งมอบงานก่อสร้างให้แก่ผู้ว่าจ้าง
โดยเสร็จสิ้นสมบูรณ์ตามสัญญานี้แล้วและผู้ว่าจ้างจะนาข้ออ้างใดๆ มาปฏิเสธการชาระเงินค่าว่าจ้างไม่ได้ ส่วน
2-45 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
การซ่อมแซมข้อบกพร่องหรือการชารุดเสียหายของการก่อสร้างที่เกิดขึ้นภายหลัง เป็นความรับผิดชอบของผู้
รับจ้างฝ่ายเดียว
ข้อ ๑๖ ภายในระยะ ๑ ปี นับจากวันที่อาคารที่ว่าจ้างตามสัญญานี้ก่อสร้างเสร็จและมีการส่ง
มอบงานงวดสุดท้ายให้กับผู้ว่าจ้างหรือผู้ว่าจ้างได้รับมอบงานเป็นที่เรียบร้อยแล้วนั้น หากส่วนใดของอาคารเกิด
ชารุดเสียหาย เนื่องจากความชารุดบกพร่องในการก่อสร้างหรือเพราะเหตุวัสดุอุปกรณ์ในการก่อสร้างตาม
สัญญานี้ ผู้รับจ้างจะต้องทาการซ่อมแซมให้เรียบร้อยอยู่ในสภาพเดิมโดยไม่คิดค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น เว้นแต่
ความเสียหายนั้นเกิดจากภัยธรรมชาติ เช่น วาตภัย อุทกภัย อัคคีภัย แผ่นดินไหว ความเสียหายจากสัตว์
แมลง หรือความเสียหายจากการจลาจล โจรกรรม
ข้อ ๑๗ หากผู้รับจ้างไม่ทาการส่งมอบงานทั้งหมด โดยมิใช่ความผิดของผู้ว่าจ้างภายใน
กาหนดเวลาที่ระบุไว้ ผู้รับจ้างยินยอมให้ผู้ว่าจ้างเรียกร้องให้ชาระค่าปรับวันละ...........บาท
(...................................................) จนกว่าจะส่งมอบงานที่เสร็จสิ้นทั้งหมด
ข้อ ๑๘ บรรดาเอกสารหนังสือและหนังสือบอกกล่าวใดๆ ของคู่สัญญาตามภูมิลาเนาที่ปรากฏ
ในสัญญานี้ ให้ถือว่าคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งได้รับทราบข้อความนั้นตลอดแล้ว กรณีที่คู่สัญญาย้ายที่อยู่หรือ
ภูมิลาเนาให้เป็นหน้าที่ของผู้ว่าจ้างนั้นต้องแจ้งคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งทราบเป็นหนังสือ ภายใน..... วัน นับแต่วัน
ย้าย มิฉะนั้นให้ถือว่าบรรดาเอกสารหนังสือ และหนังสือบอกกล่าวที่ส่งไปตามที่อยู่ของคู่สัญญาตามสัญญานี้
เป็นการส่งโดยชอบด้วยกฎหมาย
สัญญานี้ทาขึ้นเป็นสองฉบับ มีข้อความถูกต้องตรงกัน โดยคู่สัญญายึดถือไว้ฝ่ายละหนึ่งฉบับ
คู่สัญญาได้อ่านและเข้าใจข้อความโดยตลอดแล้ว จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นพยานหลักฐาน
ลงชื่อ.............................ผู้ว่าจ้าง
(.....................................)
ลงชื่อ............................ผู้รับจ้าง
(.....................................)
ลงชื่อ...............................พยาน
(.....................................)
ลงชื่อ...............................พยาน
(....................................)
2-46 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
3. ข้อกาหนดคืออะไร
รายการประกอบแบบ ในประเทศไทยมีคาเรียกหลายคา เช่น รายการก่อสร้าง รายการรายละเอียด
ด้านสถาป้ตยกรรม หรือรายการรายละเอียดด้านวิศวกรรม รายละเอียดและข้อกาหนดการก่อสร้าง ข้อกาหนด
ข้อกาหนดทางเทคนิค ข้อกาหนดทางเทคนิคในการก่อสร้าง เป็นต้น
สาหรับคาที่ใช้ในภาษาอังกฤษ จะใช้คาว่า “Specifications” ซึ่งราชบัณฑิตยสถาน และ วิศวกรรม
สถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ บัญญัติศัพท์เป็น “ข้อกาหนด”
คาว่า Specifications ใน ภาษาอังกฤษ The American Heritage Dictionary of the English
Language, Third Edition ให้ความหมายไว้ดังนี้
1.1 The act of specifying.
1.2 Specifications A detailed, exact statement of particulars, especially
a statement prescribing materials, dimensions, and quality of work for something
to be built, installed, or manufactured, b. A single item or article that has been
specified.
1.3 An exact written description of an invention by an applicant for a patent.
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของข้อกาหนดไว้ว่า “ข้อความที่ระบุ
เป็นหลักเกณฑ์ หรือวิธีการให้บุคคลที่เกี่ยวข้องต้องปฏิบัติ หรือดาเนินการในเรื่องใด เรื่องหนึ่ง”
รายการก่อสร้างคือ “เอกสารที่อธิบายความคิดของผู้ออกแบบต่อบุคคลต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับงาน
ก่อสร้างเพื่อกาหนด ชนิด ขนาด มาตรฐานการทางาน และรายละเอียดของงานก่อสร้าง” จึงถือว่าเป็นข้อตกลง
ส่วนหนึ่งของสัญญาจ้างและเป็นเอกสารสาคัญช่วยให้แบบรูปกระจ่างยิ่งขึ้น ทาให้ผู้รับจ้างทราบได้ว่ามี
อะไรบ้างอยู่ในความคาดหมายของเขา ข้อมูลส่วนมากที่ใช้ในการทางาน จะกาหนดไว้ในแบบรูป ซึ่งเขียนขึ้นใน
ลักษณะต่าง ๆ กัน แต่รายละเอียดเกี่ยวกับฝีมือ และวัสดุ อุปกรณ์นั้น ไม่สามารถระบุลงไปในงานเขียนแบบได้
(พนม, 2539)
ข้อกาหนด (Specifications) บางครั้งอาจเรียกว่า รายการประกอบแบบ หรือ รายการก่อสร้าง
โดยทั่วไปมักคิดถึงรายละเอียดประกอบแบบด้านเทคนิค เช่นกล่าวถึงรายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์ ขั้นตอนและ
วิธีการก่อสร้าง เป็นต้น (วิสูตร, 2543)
รายการประกอบแบบ คือแบบก่อสร้างที่มิใช่เส้น แต่เป็นข้อความ (วิญญู และวิชัย, 2550)
ข้อกาหนดทางเทคนิค (Technical Specifications) คือเอกสารซึ่งกล่าวถึงความประสงค์ ความ
ต้องการของผู้ออกแบบ เจ้าของงาน หรือเจ้าของโครงการ เพื่อสื่อสารไปยังบุคลากร ผู้ที่เกี่ยวข้องในงานต่าง ๆ
เช่น งานก่อสร้าง งานผลิต งานพัฒนาซอฟต์แวร์ ฯลฯ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกาหนด ขอบเขตงาน อธิบายคา
จากัดความ นิยามที่ใช้ในงานนั้น มาตรฐานที่ต้องการให้ใช้ ชนิด ขนาด และรายละเอียดของวัสดุ เครื่องจักร
เครื่องมือ ตลอดจนถึงวิธีการก่อสร้างหรือวิธีการดาเนิน งาน รวมถึงคุณภาพของช่างฝีมือ แรงงาน ความ
ละเอียดและถูกต้องในงานนั้น (เจตณรงค์, 2550)
2-47 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
สรุปได้ว่าการจัดทาข้อกาหนด คือ กระบวนการระบุพรรณนาเพื่อแสดงรายละเอียด เฉพาะเจาะจง
โดยเฉพาะรายละเอียดที่แสดงถึงคุณลักษณะของวัสดุ ขนาด ขั้นตอน วิธีการ และคุณภาพ เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง
ใช้ปฏิบัติหรือดาเนินการเพื่อให้ได้งาน สิ่งก่อสร้าง ผลิตกัณฑ์ หรือการติดตั้ง และการบริการให้เป็นไปตาม
วัตถุประสงค์ที่ต้องการดังที่กาหนดไว้
วัตถุประสงค์และความสาคัญของข้อกาหนดทางเทคนิค
วัตถุประสงค์ของข้อกาหนดทางเทคนิคเพื่อ ระบุรายละเอียดต่าง ๆ ที่ไม่สามารถแสดงไว้ในแบบก่อ
สร้าง อาทิเช่น มาตรฐานต่าง ๆ คุณสมบัติของวัสดุ วิธีการก่อสร้างหรือปฏิบัติ วิธีการทดสอบ ความคลาด
เคลื่อนที่ยอมรับได้ ตลอดจนถึงวิธีการวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน ความสาคัญของข้อกาหนด คือเป็นส่วน
หนึ่งของสัญญาในโครงการต่าง ๆ เพื่อให้ผู้รับจ้างปฏิบัติงานได้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์และความต้องการของ
โครงการ การไม่ปฏิบัติตามข้อกาหนดอาจนามาซึ่งอันตราย และความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินได้
1. ประเภท/ชนิดของข้อกาหนด
1. ประเภทของข้อกาหนดแบ่งตามลักษณะของข้อกาหนด ได้แก่
- ข้อกาหนดมาตรฐาน (Standard specification)
ข้อกาหนดประเภทนี้ เป็นข้อกาหนดซึ่งหน่วยงานนั้น ๆ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ได้ทั่วไป สาหรับโครงการ
ต่าง ๆ ซึ่งมีลักษณะงานคล้าย ๆ กัน เป็นงานสามัญทั่ว ๆ ไป (Common) ไม่มีอะไรเป็นพิเศษ
เช่นงานปรับพื้นที่ งานขุดดินทั่วไป งานคอนกรีต งาน ไม้ งานประตูหน้าต่าง เป็นต้น
- ข้ อ ก า ห น ด เ ฉ พ า ะ ง า น ( Special provision, Particular specification or
Supplementary specification)
ข้อกาหนดนี้จะเป็นส่วนที่เสริมเพิ่มเดิมจากข้อกาหนดมาตรฐาน โดยที่โครงการแต่ละ โครงการ
จะมีความแตกต่างกันบ้างในสภาพของพื้นที่ ลักษณะของโครงสร้าง ความพิเศษของโครงการ
คุณสมบัติเฉพาะของวัสดุที่ใช้
2. ประเภทของข้อกาหนดแบ่งตามลักษณะรายละเอียดของเนื้อหา ได้แก่
- ข้อกาหนดแบบละเอียดเชิงพรรณนา (Descriptive specifications)
Descriptive Specifications: Materials, Methods & Workmanship เป็นข้อกาหนดที่
ระบุ วิธีการนาวัสดุไปใช้งานจริง วิธีการก่อสร้าง และระดับฝีมือช่างที่ต้องการ
ข้อดีของการเขียนข้อกาหนดแบบ Descriptive Specifications คือ มีการระบุความต้องการได้
ชัดเจน ใช้ได้กับทุกงานเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันลันโดยเสรี
ข้อด้อยของ Descriptive Specifications คือ อาจไม่ได้ผลเพราะฝีมือช่างไม่ถึงระดับที่ต้องการ
หรือ ตรวจสอบระดับฝีมือช่างได้ยาก หรือ ถ้าทาได้ก็จะต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่ายมาก จะทาให้
การเขียนข้อกาหนดยาว เสียเวลาเขียนนานมาก เพื่อให้สอดคล้องกับระดับฝีมือช่างที่มีอยู่
2-48 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
เสียเวลาอ่านทาความเข้าใจมาก อาจจะต้องเพิ่มข้อความบางอย่าง เพื่อให้ได้ผลตามต้องการ อาจ
ทาให้ราคางานสูงขึ้น
- ข้อกาหนดแบบมุ่งผลสาเร็จของงาน (Performance specifications)
Performance Specifications รายการก่อสร้างที่ระบุผลสุดท้ายที่ต้องการเท่านั้น ส่วนวัสดุ
และแรงงาน วิธีการจัดซื้อ - จัดหา ตลอดจนวิธีการก่อสร้าง ผู้รับจ้างจะต้องเป็นผู้ดาเนินการ
จัดหา จัดซื้อ ด้วยตัวเองทั้งหมด
ข้อดีของ Performance Specifications คือ ได้ผลตรงตามความต้องการของผู้ออกแบบ
ผู้รับจ้างมีอิสระเต็มที่ในการทางาน จะมีการแข่งขันสูง ข้อกาหนดจะสั้น และกะทัดรัด ใช้ได้กับ
งานทุกประเภท
ข้อด้อยของ Performance Specifications คือ การกาหนดราคาที่แน่นอนทาได้ยาก ผู้รับจ้าง
จะใช้วิธีท่างานแตกต่างกันออกไป ควบคุมงานลาบากต้องทาตามผู้รับจ้างบอกตลอด ยิ่งถ้าไม่
จากัดค่าใช้จ่ายเอาไว้เจ้าของโครงการจะเสียค่าใช้จ่ายมาก
- ข้อกาหนดแบบอ้างอิง (Reference specifications)
Reference Specifications ข้อกาหนดที่อ้างอิงมาตรฐานที่มีอยู่ ที่ใช้อยู่ ที่ทุกคนยอมรับ เช่น
ให้ใช้ปูนซีเมนต์ ประเภท 1 ตาม มอก.ที่ 15 เป็นต้น
ข้อดีของ Reference Specifications คือ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องยอมรับเพราะเป็นที่คุ้นเคย และใช้
ทั่วไปไม่จากัดการแข่งขันรายละเอียดข้อกาหนดสั้น กระชับ กะทัดรัด มีน้าหนักมากถ้าต้องมีการ
ขึ้นศาลกรณีมีป้ญหาในการทางาน
ข้อด้อยของ Reference Specifications คือ วัสดุหรือวิธีการหลายอย่างไม่มีมาตรฐานให้ อ้างอิง
มาตรฐานบางอย่างอาจถ้าสมัย มาตรฐานบางอย่างเป็นเกณฑ์ขั้นต่า อาจปกป้อง ผลประโยชน
ของคนบางกลุ่มเท่านั้น ผู้รับจ้างต้องขวนขวายหามาตรฐานอ้างอิงเอาเองซึ่งกว่าจะได้รับการ
ยอมรับจากเจ้าของงานจะเสียเวลาและค่าใช้จ่ายมาก
- ข้อกาหนดแบบระบุบริษัทผู้ผลิต (Proprietary specifications)
อธิบายคาเรียก Proprietary : ศัพท์คาว่า Proprietary software ทางด้านวิศวกรรมซอฟแวร์
ในประเทศไทย บางทีจะใช้คาทับศัพท์ว่า "โพรไพรเอทารีซอฟต์แวร์" หรือใช้คาว่า "ซอฟต์แวร์
เอกสิทธเฉพาะ"
Proprietary Specifications ข้อกาหนดที่มีการระบุยี่ห้อ รุ่น หมายเลขแคตตาล็อก สี หรือ
รายละเอียดต่างๆให้ชัดเจน ผู้ที่เกี่ยวข้องรู้ได้ทันทีว่าเป็นสิ่งใด เช่น กระเบื้องมุงหลังคาใช้ CPAC
MONIER สีแดง เป็นต้น
ข้อดีของ Proprietary Specifications คือ บุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเข้าใจตรงกันว่าต้องการอะไร คิด
ราคาง่าย ทาให้รายละเอียดข้อกาหนดสั้น กะทัดรัดได้คุณภาพงานตรงตามความต้องการของ
ผู้ออกแบบ
2-49 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
ข้อด้อยของ Proprietary Specifications คือ ใช้กาหนดรายละเอียดได้เฉพาะวัสดุเท่านั้น จะทา
ให้ไม่มีการแข่งขันในการเสนอราคาทาให้งานมีราคาแพง และถ้าตอนลงมือก่อ สร้างจะมีป้ญหา
ถ้าหายี่ห้อนั้นไม่ได้ หรือ หาได้แต่เจ้าของผู้ผลิตโก่งราคาขึ้นไปอย่างไม่เป็นธรรม นอกจากนั้วัสดุ
บางชนิดที่ใช้กันบ่อย ๆ แต่ไม่มียี่ห้อ เช่น อิฐบล็อก อิฐ ทราย หิน จะไม่สามารถนามาใช้ใน
รายการก่อสร้างประเภทนั้นได้
- ข้อกาหนดแบบผสม (Combination Specifications)
Combination Specifications ข้อกาหนดแบบผสมตามความต้องการเฉพาะงาน มีข้อดี และ
ข้อเสียตามแต่ละแบบที่นามาใช้
- มาตรฐานอ้างอิง (Reference standard)
มาตรฐานอ้างอิง เป็นเอกสารที่จัดทาโดยหน่วยงานกาหนดมาตรฐาน ใช้ประโยชน์ในการกาหนด
คุณสมบัติของวัสดุก่อสร้าง วิธีการทดสอบ วิธีการดาเนินงาน รวมถึงวิธีการควบคุมคุณภาพต่าง
ๆ เช่น มาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) มาตรฐาน ISO (International Standard organization)
มาตรฐาน ASTM (American Society for Testing) มาตรฐาน ACI (American Concrete
Institute) เป็นต้น
3. แนวทางและการจัดทาข้อกาหนด/รายการประกอบแบบ การเขียนข้อกาหนด
การเขียนข้อกาหนดจัดเป็นงานที่สาคัญ ผู้เขียนข้อกาหนด จะต้องเป็นผู้รอบรู้ในงานนั้นอย่างยิ่งอีก ทั้ง
ต้องรอบคอบละเอียดถี่ถ้วน เขียนรายการชัดเจนและปฏิบัติได้ ฉะนั้น การเขียนข้อกาหนดใด ๆ ย่อมขึ้นอยู่กับ
6 C ดังนี้
- Correct ถูกต้อง เนื้อหาต้องตรงกับวัตถุประสงค์ ถูกต้องตามข้อเท็จจริง ใช้ภาษาได้ถูกต้อง ทั้ง
โครงสร้างประโยค สานวน ลีลา เครื่องหมายวรรคตอน ตัวสะกด
- Complete สมบูรณ์ มีเนื้อหาครบถ้วน
- Clear ชัดเจน ไม่กากวม อ่านเข้าใจง่าย ตรงตามที่ต้องการสื่อ บรรลุวัตถุประสงค์ ไม่ต้องตีความ
- Concise กระชับ กะทัดรัด รัดกุม ไม่ใช้คาฟุ่มเฟือย
- Coherence สัมพันธภาพ มีการเชื่อมโยงในข้อความ แต่ละประโยคต้องมีเนื้อความเกี่ยวเนื่องกัน
- Convincing สมเหตุผล มีความเป็นไปได้
การจัดทามาตรฐานข้อกาหนด
เมื่อเริ่มงานออกแบบโครงการ ควรจะต้องมีการประชุมปรึกษาหารือระหว่าง วิศวกรสาขาต่าง ๆ
สถาปนิก ผู้ประมาณราคาและคานวณปริมาณงาน ผู้จัดเตรียมข้อกาหนด นักวิชาการสิ่งแวดล้อม และ
ผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ เพื่อร่วมกันจัดทา เกณฑ์การออกแบบ (Design Criteria) เพื่อให้โครงการ มีประโยชน์ใช้งาน
สูงสุดและมีระยะเวลาก่อสร้างตรงตามความต้องการของผู้ว่าจ้าง สะดวกต่อการดูแลและบารุงรักษา เหมาะสม
2-50 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
กับสภาพภูมิอากาศ ทั้งในระยะเวลาก่อสร้าง และระยะเวลาใช้งาน ใช้วัสดุในท้องถิ่นให้มากที่สุด เพื่อลดราคา
ค่าก่อสร้าง มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด และสอดคล้องกับมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบ
สิ่งแวดล้อม (Mitigation Plan) ของโครงการ
รูปแบบของข้อกาหนดที่เสนอ หนึ่งบทจะครอบคลุมงานหนึ่งงาน และจะประกอบด้วยหัวข้อหลัก 4 หัวข้อ
เหมือนกันทุกบทเป็นส่วนใหญ่ คือ
- หัวข้อ X.1 ทั่วไป จะประกอบด้วยหัวข้อย่อยตามความจาเป็น คือ
๐ X.1.1 ขอบเขตของงาน
๐ X.1.2 มาตรฐานที่ใช้กับงานในบทนี้
๐ X.1.3 นิยาม งานบางงานจาเป็นที่จะต้องให้คานิยามงานย่อยเพื่อบ่งชี้ความแตกต่าง
ให้ชัดเจน
๐ X.1.4 การเสนอเอกสารและตัวอย่างวัสดุ
- หัวข้อ X.2 วัสดุ/เครื่องจักร/เครื่องมือ
- หัวข้อ X.3 วิธีการก่อสร้าง/วิธีการดาเนินงาน
- หัวข้อ X.4 การวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน (ไม่ใช้กับงาน อีพีซี)
หลักการเขียนข้อกาหนด/รายการก่อสร้าง (Principle of Specifications Writing)1
1. ต้องถามเจ้าของโครงการให้แน่ใจต้องการอะไรแน่ ระดับคุณภาพอยู่ระดับใด สอดคล้องกับงบประมาณที่
มีอยู่หรือไม่
2. เขียนความต้องการให้สั้น กะทัดรัด ชัดเจน เกี่ยวกับเงื่อนไขทั่วไป ชนิดของงานและคุณภาพของช่างฝีมือ
3. แยกแยะหัวข้อทั้งเงื่อนไขเพิ่มเติมทั่วไป (General Provisions) และข้อกาหนดทางด้านเทคนิค
(Technical Requirements) ให้ชัดเจนเพื่อสะดวกต่อการเชื่อมโยงหรืออ้าง ถึงให้ต่อเนื่องกับเอกสาร
ประกอบสัญญาอื่น ๆ วิเคราะห์งานแต่ละชนิดและเลือกข้อกาหนดทางด้านเทคนิคให้ตรงกับงานนั้น ๆ
โดยอาศัยข้อกาหนดทางด้านเทคนิคของงานประเภทเดียวกันที่ได้เคยใช้หรือก่อสร้างมาก่อนเป็นตัว
เปรียบเทียบ
4. จัดลาดับความต้องการที่จะนาไปเขียนลงในแต่ละส่วนของข้อกาหนดให้สอดคล้องกับแบบก่อสร้างและ
สัญญา ทั้งนี้เพื่อให้ง่ายในการตรวจสอบและปฏิบัติตาม
5. เขียนข้อกาหนดให้กระชับ ครบถ้วนสมบูรณ์ ใช้ประโยคและถ้อยคาที่เป็นที่เข้าใจกันโดยทั่วไป
6. ใช้ศัพท์ที่มีความหมายแน่นอน ไม่กากวม ไม่ต้องตีความ เป็นที่เข้าใจตรงกัน ไม่เข้าใจเป็นอย่างอื่น
7. ต้องการอะไรให้สั่งลงไปตรง ๆ อย่าใช้คาพูดเชิงแนะนา
1
http://www.rangson.com/html%20document/ce/ce005001.htm
2-51 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
8. ไม่จาเป็นต้องระบุเหตุผลหรือให้คาอธิบายเพิ่มเติมในสิ่งที่ต้องการ
9. อย่าระบุให้ทาในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ หรือ ไม่มีเหตุผล หรือ เสียค่าใช้จ่ายสูงกว่างบประมาณที่มีอยู่
10. อย่ากาหนดความต้องการให้ขัดแย้งกัน
11. ให้ระบุขนาดมาตรฐาน (Size) หรือ รูปแบบมาตรฐาน (Pattern) ทุกครั้งถ้าทาได้ เพราะจะได้ไม่มีป้ญหา
ในการสิ่งของหรือสิ่งวัสดุ
12. อย่าเขียนความต้องการซ้า ๆ กัน ให้ใช้การอ้างอิงแทน
13. พยายามลดการอ้างอิงไขว้กันไปไขว้กันมา เช่น กรณีมีข้อสงสัยให้ไปดูข้อ 5.2 และที่ข้อ 5.2 เขียนว่า ให้
ไปดูข้อ 6.8 เป็นต้น
14. อย่าปัดความรับผิดชอบไปให้ผู้รับจ้างถ้าเขาได้ทาตามข้อกาหนดครบถ้วน อะไรก็ตามที่ผู้รับจ้างได้ทาตาม
ข้อกาหนดแล้วเกิดความเสียหายขึ้น ผู้ออกข้อกาหนดจะต้องรับผิดชอบ
15. มีความยุติธรรม คิดถึงอกเขาอกเรา
16. อย่าปิดบัง ซ่อนเร้น ความยากลาบากของงานหรือที่อาจจะเป็นอันตรายได้ จะต้องบอกผู้รับจ้างให้ทราบ
ว่างานตอนใดมีอันตราย เช่นการสร้างห้อง X - RAY ในโรงพยาบาล การวางสายโทรศัพท์ในท่อที่อยู่ใต้
ดินลึก ๆ จะมีปัญหาการขาดอากาศหายใจต้องเตรียมอุปกรณ์ทางานเป็นพิเศษ
17. ความต้องการที่เจ้าของโครงการต้องการจะต้องสามารถวัดได้ และต้องกาหนดวิธีการวัด ให้ชัดเจนด้วย
อย่ากาหนดวิธีวัดโดยใช้ความรู้สึกเป็นเกณฑ์เพราะจะเป็นจุดเริ่มต้นของความขัดแย้ง การทะเลาะวิวาท
การโต้เถียงที่หาข้อยุติไม่ได้ และจะทาให้เกิดความไม่เป็นธรรมในสัญญาการก่อสร้างได้
ตัวอย่างขั้นตอนในการจัดเตรียมข้อกาหนด
การจัดเตรียมข้อกาหนดมีขั้นตอนและวิธีการจัดทา ดังต่อไปนี้ คือ
(1) รับทราบรูปแบบของสัญญาการออกแบบโครงการ
(2) ศึกษาและรับทราบขอบเขตของงานในโครงการ รวมทั้งศึกษาแบบของโครงการ
(3) จัดแบ่งหมวดหมู่ของข้อกาหนด
(4) รับทราบความต้องการในหมวดงานทั่วไปของโครงการจากผู้แทนของเจ้าของงาน
(5) จัดเตรียมร่างข้อกาหนดของโครงการโดยใช้ข้อมูลของข้อกาหนดจากโครงการต่าง ๆ
(6) รวบรวมข้อกาหนดงานพิเศษ อื่น ๆ จากผู้เชี่ยวชาญ
(7) จัดเตรียมข้อกาหนดฉบับร่างพร้อมตรวจสอบเบื้องต้น
(8) ตรวจทานโดยผู้จัดการโครงการ
(9) ทบทวนโดยคณะกรรมการตรวจการจ้าง
(10) จัดเตรียมข้อกาหนดฉบับสมบูรณ์ และตรวจทานขั้นสุดท้ายโดยผู้จัดการโครงการ
สรุปประเด็นปัญหาที่พบ
(1) ความขัดแย้งระหว่างข้อกาหนดและเอกสารประกวดราคาอื่น
2-52 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
(2) การระบุการจ่ายเงินไม่ชัดเจน ไม่รัดกุม หรือไม่ครอบคลุม
(3) การกาหนดรายละเอียดในข้อกาหนดชัดเจนและผูกมัดเกินไป
(4) การกาหนดรายละเอียดในข้อกาหนดไม่ชัดเจน
(5) ข้อกาหนดไม่ทันสมัย
(6) ข้อกาหนดไม่ถูกต้อง
(7) ข้อกาหนดไม่ครบถ้วน
(8) ขาดผู้เชี่ยวชาญในงานเฉพาะด้าน
การจัดเรียงหมวดหมู่ข้อกาหนด (Specifications) โดยใช้ CSI MASTER FORMAT
CSI MASTER FORMAT เปนมาตรฐานการจัดเรียงหมวดหมู่ข้อกาหนด (Specifications) ซึ่งเกิดจากการ
พัฒนารวมกันระหวาง Construction Specifications Institute (CSI) และ Construction Specifications
Canada (CSC) โดยแบงงานกอสรางเปน Division ในครั้งแรกกาหนด 16 Divisions ตอมา ในป ค.ศ. 2004
ไดเพิ่มจานวนเปน 49 Divisions
CSI-MASTER LIST OF NUMBERS and TITLES: 2016
PROCUREMENT AND CONTRACTING REQUIREMENTS GROUP
Division 00 - Procurement and Contracting Requirements
SPECIFICATIONS GROUP
GENERAL REQUIREMENTS SUBGROUP
Division 01 - General Requirements
FACILITY CONSTRUCTION SUBGROUP
Division 02 - Existing Conditions
Division 03 - Concrete
Division 04 - Masonry
Division 05 - Metals
Division 06 - Woods, Plastics, and Composites
Division 07 - Thermal and Moisture Protection
Division 08 - Openings
Division 09 - Finishes
Division 10 - Specialties
Division 11 - Equipment
Division 12 - Furnishings
2-53 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
Division 13 - Special Construction
Division 14 - Conveying Equipment
FACILITY SERVICES SUBGROUP
Division 21 - Fire Suppression
Division 22 - Plumbing
Division 23 - Heating, Ventilating, and Air-Conditioning (HVAC)
Division 25 - Integrated Automation
Division 26 - Electrical
Division 27 - Communications
Division 28 - Electronic Safety and Security
SITE AND INFRASTRUCTURE SUBGROUP
Division 31 - Earthwork
Division 32 - Exterior Improvements
Division 33 - Utilities
Division 34 - Transportation
Division 35 - Waterway and Marine Construction
PROCESS EQUIPMENT SUBGROUP
Division 40 - Process Interconnections
Division 41 - Material Processing and Handling Equipment
Division 42 - Process Heating, Cooling, and Drying Equipment
Division 43 - Process Gas and Liquid Handling, Purification, and Storage Equipment
Division 44 - Pollution and Waste Control Equipment
Division 45 - Industry-Specific Manufacturing Equipment
Division 46 - Water and Wastewater Equipment
Division 48 - Electrical Power Generation
MasterFormat รุ่นปี ค.ศ. 1995 ก่อนการปรับปรุงในรุ่นปี ค.ศ. 2004 มีทั้งหมด 16 หมวด ดังนี้
1) หมวด 01 - General Requirements – ข้อกาหนด ความต้องการทั่วไปที่ไม่เกี่ยวกับสิ่งก่อสร้างโดยตรง
เช่น การสร้างสานักงาน หรือบ้านพักคนงานชั่วคราว การสร้างรั้วรอบบริเวณสถานที่ก่อสร้าง
2) หมวด 02 - Site Construction - สภาพสถานที่ก่อสร้าง เช่น งานถม งานขุดดิน รื้อถอนสิ่งก่อสร้างเดิม
3) หมวด 03 - Concrete - งานคอนกรีต รวมถึง เสา คาน พื้น ฐานราก และ สิ่งก่อสร้างคอนกรีต
2-54 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา
สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
4) หมวด 04 - Masonry - งานวัสดุก่อ รวมถึง งานก่ออิฐ อิฐบล็อก อิฐแก้ว
5) หมวด 05 - Metals – งานโลหะ
6) หมวด 06 - Wood and Plastics – งานไม้และพลาสติก
7) หมวด 07 - Thermal and Moisture Protection – งานฉนวนป้องกันความร้อน และความชื้น
8) หมวด 08 - Doors and Windows – งานประตูและหน้าต่าง
9) หมวด 09 - Finishes – งานผิวสาเร็จ รวมถึง งานผนังยิปซั่มภายใน งานฝ้าเพดาน งานกระเบื้อง วัสดุปูทับ
ติดตั้งระบบอะคูสติกกันเสียง และงานทาสี
10) หมวด 10 – Specialties - งานเฉพาะทาง เช่น การติดตั้งพาร์ทิชัน ติดตั้งกระดานดา
11) หมวด 11 - Equipment – อุปกรณ์ เช่น อุปกรณ์กาจัดขยะ
12) หมวด 12 - Furnishings - อุปกรณ์ตกแต่ง เช่น มู่ลี่ ผ้าม่าน เฟอร์นิเจอร์
13) หมวด 13 - Special Construction - งานก่อสร้างพิเศษ เช่น ห้องซาวน่า สระว่ายน้า
14) หมวด 14 - Conveying Systems - ระบบขนส่งภายในอาคาร เช่น ลิฟท์ บันไดเลื่อน คอนเวเยอร์
15) หมวด 15 - Mechanical – งานเครื่องกล
16) หมวด 16 - Electrical – งานไฟฟ้า
MasterFormat รุ่นปี ค.ศ. 2004 จากความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี ทั้งทางด้านการก่อสร้าง ด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต การใช้ฐานข้อมูล ระบบการประกวดราคาออนไลน์ รวมทั้งการ
แลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ CSI จึงได้ทาการปรับปรุงแก้ไข ขยาย เพิ่มเติมรายละเอียดการจัด
หมวดหมู่มาตรฐาน ตั้งแต่ เดือน เมษายน ปี ค.ศ. 2001 จนแล้วเสร็จในปี ค.ศ. 2003 และประกาศใช้อย่างเป็น
ทางการในปี ค.ศ. 2004 โดยได้จัดแบ่งหมวดหมู่ใหม่ ดังนี้
กลุ่มที่ 1: การจัดซื้อจัดหาและสัญญา
หมวด 00 ข้อกาหนด ความต้องการของการจัดจ้างและการทาสัญญาจ้าง (Procurement and Contracting
Requirements)
กลุ่มที่ 2: ข้อกาหนด ประกอบด้วย กลุ่มย่อย 5 กลุ่ม คือ
1. ข้อกาหนดทั่วไป
หมวด 01 ข้อกาหนด ความต้องการทั่วไป (General Requirements) ขอบเขตการแสดงความต้องการที่ถูก
เพิ่มขึ้นมาเพื่อช่วยให้สามารถเขียนแสดงความต้องการในแต่ละรายการ ที่มีส่วนคาบเกี่ยวกับหมวดงานอื่น ๆ
(เช่น การก่อสร้างพื้นผิว งานด้านโครงสร้าง เป็นต้น) ซึ่งทาให้สามารถผสมผสาน คุณลักษณะจาเพาะได้กว้าง
และช่วยให้สามารถกาหนดข้อกาหนดในคู่มือโครงการได้
2. การก่อสร้างสิ่งอานวยความสะดวก
หมวด 02 สภาพสถานที่ก่อสร้างที่เป็นอยู่ (Existing Conditions) โดยหมวดนี้จะจากัดไว้ เฉพาะ ‘สภาพที่มี
Part 2 EPC Tender Documents Preparation
Part 2 EPC Tender Documents Preparation
Part 2 EPC Tender Documents Preparation

More Related Content

What's hot

thermal-fluid-systems
thermal-fluid-systemsthermal-fluid-systems
thermal-fluid-systems
Bart van Essen
 
liquid propellant rocket engine (Motor foguete Liquido) part4
liquid propellant rocket engine (Motor foguete Liquido) part4liquid propellant rocket engine (Motor foguete Liquido) part4
liquid propellant rocket engine (Motor foguete Liquido) part4
Edgard Packness
 
Co2 sequestration using ionic liquids.
Co2 sequestration using ionic liquids.Co2 sequestration using ionic liquids.
Co2 sequestration using ionic liquids.
Aakruti Makode
 
Floating head heat exchanger - Maintainance
Floating head heat exchanger - MaintainanceFloating head heat exchanger - Maintainance
Floating head heat exchanger - Maintainance
Abhishek Srivastav
 
Mechanical Constraints on Thermal Design of Shell and Tube Exchangers
Mechanical Constraints on Thermal Design of Shell and Tube ExchangersMechanical Constraints on Thermal Design of Shell and Tube Exchangers
Mechanical Constraints on Thermal Design of Shell and Tube Exchangers
Gerard B. Hawkins
 
sru-presentation.pptx
sru-presentation.pptxsru-presentation.pptx
sru-presentation.pptx
Raul79654
 
Compress heat exchanger design w notes
Compress heat exchanger design w notesCompress heat exchanger design w notes
Compress heat exchanger design w notes
Sharon Wenger
 
Report on NG Processing Plant
Report on NG Processing PlantReport on NG Processing Plant
Report on NG Processing Plant
Iftekhar Hussain
 
Dew point
Dew pointDew point
Dew point
DimaJawhar
 
Storage Tank Farms Layout and Piping
Storage Tank Farms Layout and PipingStorage Tank Farms Layout and Piping
Storage Tank Farms Layout and Piping
Amir Razmi
 
METHANOL PRODUCTION USING VULCAN SYSTEMS COMBINED REFORMING TECHNOLOGY (ATR) ...
METHANOL PRODUCTION USING VULCAN SYSTEMS COMBINED REFORMING TECHNOLOGY (ATR) ...METHANOL PRODUCTION USING VULCAN SYSTEMS COMBINED REFORMING TECHNOLOGY (ATR) ...
METHANOL PRODUCTION USING VULCAN SYSTEMS COMBINED REFORMING TECHNOLOGY (ATR) ...
Gerard B. Hawkins
 
Dnv rp-d101
Dnv rp-d101Dnv rp-d101
Dnv rp-d101
Ramyakulasekaran
 
Boilers (2)
Boilers (2)Boilers (2)
Boilers (2)
Krishna Gondaliya
 
Process Engineer Training PID.ppt.pdf
Process Engineer Training PID.ppt.pdfProcess Engineer Training PID.ppt.pdf
Process Engineer Training PID.ppt.pdf
FaustoMarceloCaibe
 
PRESENTATION ON DUCT DESIGN
PRESENTATION ON DUCT DESIGNPRESENTATION ON DUCT DESIGN
PRESENTATION ON DUCT DESIGN
Rakshit vadi
 
Year Testing of LPG Spherical Tank
Year Testing of LPG Spherical TankYear Testing of LPG Spherical Tank
Year Testing of LPG Spherical Tank
lpgbnhgastank
 
LPG Conversion frequently asked questions
LPG Conversion frequently asked questionsLPG Conversion frequently asked questions
LPG Conversion frequently asked questions
Marie Harding
 
LPG TANK INSTALLATION
LPG TANK INSTALLATION LPG TANK INSTALLATION
LPG TANK INSTALLATION
lpgbnhgastank
 
Process Plant design fundementals
Process Plant design fundementalsProcess Plant design fundementals
Process Plant design fundementals
Greg Pajak - P. Tech (Eng.), ISA84 SIS Expert
 
11_6044K_High_Perfor_Adsorbents
11_6044K_High_Perfor_Adsorbents11_6044K_High_Perfor_Adsorbents
11_6044K_High_Perfor_Adsorbents
Mico Siahaan
 

What's hot (20)

thermal-fluid-systems
thermal-fluid-systemsthermal-fluid-systems
thermal-fluid-systems
 
liquid propellant rocket engine (Motor foguete Liquido) part4
liquid propellant rocket engine (Motor foguete Liquido) part4liquid propellant rocket engine (Motor foguete Liquido) part4
liquid propellant rocket engine (Motor foguete Liquido) part4
 
Co2 sequestration using ionic liquids.
Co2 sequestration using ionic liquids.Co2 sequestration using ionic liquids.
Co2 sequestration using ionic liquids.
 
Floating head heat exchanger - Maintainance
Floating head heat exchanger - MaintainanceFloating head heat exchanger - Maintainance
Floating head heat exchanger - Maintainance
 
Mechanical Constraints on Thermal Design of Shell and Tube Exchangers
Mechanical Constraints on Thermal Design of Shell and Tube ExchangersMechanical Constraints on Thermal Design of Shell and Tube Exchangers
Mechanical Constraints on Thermal Design of Shell and Tube Exchangers
 
sru-presentation.pptx
sru-presentation.pptxsru-presentation.pptx
sru-presentation.pptx
 
Compress heat exchanger design w notes
Compress heat exchanger design w notesCompress heat exchanger design w notes
Compress heat exchanger design w notes
 
Report on NG Processing Plant
Report on NG Processing PlantReport on NG Processing Plant
Report on NG Processing Plant
 
Dew point
Dew pointDew point
Dew point
 
Storage Tank Farms Layout and Piping
Storage Tank Farms Layout and PipingStorage Tank Farms Layout and Piping
Storage Tank Farms Layout and Piping
 
METHANOL PRODUCTION USING VULCAN SYSTEMS COMBINED REFORMING TECHNOLOGY (ATR) ...
METHANOL PRODUCTION USING VULCAN SYSTEMS COMBINED REFORMING TECHNOLOGY (ATR) ...METHANOL PRODUCTION USING VULCAN SYSTEMS COMBINED REFORMING TECHNOLOGY (ATR) ...
METHANOL PRODUCTION USING VULCAN SYSTEMS COMBINED REFORMING TECHNOLOGY (ATR) ...
 
Dnv rp-d101
Dnv rp-d101Dnv rp-d101
Dnv rp-d101
 
Boilers (2)
Boilers (2)Boilers (2)
Boilers (2)
 
Process Engineer Training PID.ppt.pdf
Process Engineer Training PID.ppt.pdfProcess Engineer Training PID.ppt.pdf
Process Engineer Training PID.ppt.pdf
 
PRESENTATION ON DUCT DESIGN
PRESENTATION ON DUCT DESIGNPRESENTATION ON DUCT DESIGN
PRESENTATION ON DUCT DESIGN
 
Year Testing of LPG Spherical Tank
Year Testing of LPG Spherical TankYear Testing of LPG Spherical Tank
Year Testing of LPG Spherical Tank
 
LPG Conversion frequently asked questions
LPG Conversion frequently asked questionsLPG Conversion frequently asked questions
LPG Conversion frequently asked questions
 
LPG TANK INSTALLATION
LPG TANK INSTALLATION LPG TANK INSTALLATION
LPG TANK INSTALLATION
 
Process Plant design fundementals
Process Plant design fundementalsProcess Plant design fundementals
Process Plant design fundementals
 
11_6044K_High_Perfor_Adsorbents
11_6044K_High_Perfor_Adsorbents11_6044K_High_Perfor_Adsorbents
11_6044K_High_Perfor_Adsorbents
 

More from Jadenarong Chaochudetch

EPC Appendix
EPC AppendixEPC Appendix
Final tender=220820
Final tender=220820Final tender=220820
Final tender=220820
Jadenarong Chaochudetch
 
06 risk management=080920
06 risk management=08092006 risk management=080920
06 risk management=080920
Jadenarong Chaochudetch
 
05 06-07 epc management=040920
05 06-07 epc management=04092005 06-07 epc management=040920
05 06-07 epc management=040920
Jadenarong Chaochudetch
 
02 contract =030920
02 contract =03092002 contract =030920
02 contract =030920
Jadenarong Chaochudetch
 
01 intro new=030920
01 intro new=03092001 intro new=030920
01 intro new=030920
Jadenarong Chaochudetch
 
04 contract management=030920
04 contract management=03092004 contract management=030920
04 contract management=030920
Jadenarong Chaochudetch
 
03 contract admin=030920
03 contract admin=03092003 contract admin=030920
03 contract admin=030920
Jadenarong Chaochudetch
 
Dispute adjudication board manual
Dispute adjudication board manual Dispute adjudication board manual
Dispute adjudication board manual
Jadenarong Chaochudetch
 
Cost code manual
Cost code manualCost code manual
Cost code manual
Jadenarong Chaochudetch
 

More from Jadenarong Chaochudetch (10)

EPC Appendix
EPC AppendixEPC Appendix
EPC Appendix
 
Final tender=220820
Final tender=220820Final tender=220820
Final tender=220820
 
06 risk management=080920
06 risk management=08092006 risk management=080920
06 risk management=080920
 
05 06-07 epc management=040920
05 06-07 epc management=04092005 06-07 epc management=040920
05 06-07 epc management=040920
 
02 contract =030920
02 contract =03092002 contract =030920
02 contract =030920
 
01 intro new=030920
01 intro new=03092001 intro new=030920
01 intro new=030920
 
04 contract management=030920
04 contract management=03092004 contract management=030920
04 contract management=030920
 
03 contract admin=030920
03 contract admin=03092003 contract admin=030920
03 contract admin=030920
 
Dispute adjudication board manual
Dispute adjudication board manual Dispute adjudication board manual
Dispute adjudication board manual
 
Cost code manual
Cost code manualCost code manual
Cost code manual
 

Part 2 EPC Tender Documents Preparation

  • 1. สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์ ภาคที่ 2 ภาคปฏิบัติ สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง
  • 2.
  • 3. สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์ Engineering, Procurement and Construction Contract (EPC) for Beginner 2. ภาคปฎิบัติ ภาคที่ 2: ภาคปฎิบัติ ในส่วนนี้จะอธิบายถึงวิธีการจัดทาเอกสารประกวดราคาสัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง 2-1 การประกวดราคา เอกสารชุดนี้ จัดทาขึ้นเพื่อประกอบการบรรยายเรื่องการประกวดราคา สาหรับการอบรม นักกฎหมาย ก่อสร้าง รุ่นที่ 2 จัดโดยชมรมนักกฎหมายก่อสร้างเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2563 2-2 คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา เอกสารชุดนี้ จัดทาขึ้นเพื่อประกอบการบรรยายเรื่อง การจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา แก่บริษัท บริษัท โปรเจค แพลนนิ่ง เซอร์วิส จากัด (มหาชน) เมื่อปี พ.ศ. 2561 และเอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง “การ จัดทารายการประกอบแบบก่อสร้าง (Specifications)” ISA โครงการพัฒนาวิชาชีพ ครั้งที่ 3 จัดโดย สมาคมสถาปนิกสยามแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2551
  • 4.
  • 5. 2-1 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 6. 2-2 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 7. 2-3 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 8. 2-4 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 9. 2-5 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 10. 2-6 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 11. 2-7 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 12. 2-8 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 13. 2-9 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 14. 2-10 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 15. 2-11 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 16. 2-12 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 17. 2-13 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 18. 2-14 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 19. 2-15 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 20. 2-16 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 21. 2-17 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 22. 2-18 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 23. 2-19 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 24. 2-20 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 25. 2-21 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 26. 2-22 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 27. 2-23 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 28. 2-24 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 29. 2-25 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 30. 2-26 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 31. 2-27 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 32. 2-28 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 33. 2-29 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 34. 2-30 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 35. 2-31 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 36. 2-32 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 37. 2-33 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์
  • 38. 2-34 | การประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์ 
  • 39. 2-35 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์ คู่มือการจัดเตรียม เอกสารประกวด ราคา TENDER DOCUMENTS PREPARATION MANUAL
  • 40. 2-36 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์ 1. บทนา เมื่อเริ่มโครงการ เจ้าของโครงการจะทาการออกแบบรายละเอียดโครงการ โดยมีแบบ ข้อกาหนด และ รายละเอียด ในกรณีสัญญา อีพีซี เจ้าของโครงการจะกาหนดรายละเอียด เพื่อให้ผู้รับจ้างออกแบบ จากนั้น จะทาการประกวดราคาเพื่อหาผู้รับจ้างทาการก่อสร้าง ในการประกวดราคาจาเป็นต้องมีเอกสารเพื่อเป็นข้อมูล ให้ผู้รับจ้างทราบว่ารายละเอียดโครงการเป็นอย่างไร คุณสมบัติของ ผู้เข้าประกวดราคาเป็นอย่างไร มีเงื่อนไข ในการจ้าง การจ่ายเงินเป็นอย่างไร กาหนดการณ์ต่าง ๆ ในการประกวดราคา ระยะเวลาการก่อสร้าง ฉะนั้น เอกสารประกวดราคาจึงมีความสาคัญ โดยต้องระบุรายละเอียดต่าง ๆ ให้ชัดเจน เพื่อให้ผู้ประกวดราคาเสนอ ราคาได้ถูกต้อง เหมาะสม สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการตามเวลาที่กาหนด เอกสารฉบับแรกคือ จดหมายเชิญ ประกาศ และคาแนะนาผู้เข้าประกวดราคา (Instruction to Bidders) เป็น เอกสารแนะนาโครงการ ระบุวัตถุปรสงค์ ความเป็นมาของโครงการ ขอบเขตงาน กาหนดคุณสมบัติของผู้เข้า ประกวดราคา การยื่นเอกสารประกวดราคา ขั้นตอน วิธีการ รวมถึงอธิบายรายละเอียดในเอกสารประกวด ราคา เงื่อนไขของสัญญา (Conditions of Contract) เป็นเอกสารที่ระบุเงื่อนไขต่าง ๆ ในสัญญา อาทิเช่น คาจากัด ความที่ใช้ หน้าที่และความรับผิดชอบของฝ่ายต่าง ๆ ในโครงการ เงื่อนไขการจ่ายเงิน และอื่น ๆ เงื่อนไขของ สัญญาจะแบ่งออกเป็นเงื่อนไขทั่วไป และเงื่อนไขพิเศษ ข้อกาหนด (Specifications) เป็นเอกสารซึ่งกล่าวถึงความประสงค์ ความต้องการของผู้ออกแบบ เจ้าของงาน หรือเจ้าของโครงการ เพื่อสื่อสารไปยังบุคลากรผู้ที่เกี่ยว ข้องในงานต่าง ๆ เช่น งานก่อสร้าง งานผลิต งาน พัฒนาซอฟต์แวร์ ฯลฯ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ กาหนด ขอบเขตงาน อธิบายคาจากัดความ นิยามที่ใช้ในงานนั้น มาตรฐานที่ต้องการให้ใช้ ชนิด ขนาด และรายละเอียดของวัสดุ เครื่องจักร เครื่องมือ ตลอดจนถึงวิธีการ ก่อสร้างหรือวิธีการดาเนิน งาน รวมถึงคุณภาพของช่างฝีมือ แรงงาน ความละเอียดและถูกต้องในงานนั้น บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา (Bill of Quantities) เป็นเอกสารซึ่งแสดงรายการงาน และปริมาณวัสดุ เพื่อให้ผู้เข้าประกวดราคากรอกราคา เพื่อประกวดราคางานโครงการนี้ เอกสารประกวดราคาเป็นเอกสารแสดงข้อมูลให้ผู้รับจ้างทราบว่ารายละเอียดโครงการเป็นอย่างไร คุณสมบัติ ของผู้เข้าประกวดราคาเป็นอย่างไร มีเงื่อนไขในการจ้าง การจ่ายเงินเป็นอย่างไร กาหนดการณ์ต่าง ๆ ในการ ประกวดราคา ระยะเวลาการก่อสร้าง ฉะนั้นเอกสารประกวดราคาจึงมีความสาคัญ โดยต้องระบุรายละเอียด
  • 41. 2-37 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์ ต่าง ๆ ให้ชัดเจน เพื่อให้ผู้ประกวดราคาเสนอราคาได้ถูกต้อง เหมาะสม สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ โครงการตามเวลาที่กาหนด 2. องค์ประกอบของเอกสารประกวดราคา เอกสารประกวดราคาประกอบด้วยเอกสารต่าง ๆ ดังนี้คือ 1. จดหมายเชิญ 2. ประกาศ 3. ข้อกาหนดขอบเขตของงาน (Terms of Reference: TOR) 4. คาแนะนาผู้เข้าประกวดราคา (Instruction to Bidders) 5. เงื่อนไขของสัญญา (Conditions of Contract) 6. ข้อกาหนด (Specifications) 7. บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา (Bill of Quantities) 8. แบบสัญญาจ้าง (Contracts) 2.1 ประกาศ ประกาศเป็นเอกสารซึ่งเจ้าของงานประกาศแจ้งการประกวดราคาโครงการ แสดงรายะเอียด ขอบเขตของ โครงการโดยสังเขป ระบุคุณสมบัติของผู้ที่สามารถเข้าประกวดราคาได้ กาหนดการประกวดราคาต่าง ๆ สถานที่ติดต่อ 2.2 ข้อกาหนดขอบเขตของงาน (Terms of Reference: TOR) ข้อกาหนดขอบเขตของงานจะกล่าวถึงความเป็นมาของโครงการ วัตถุประสงค์ คุณสมบัติของผู้ประสงค์จะ เสนอราคา เอกสารหลักฐานต่างๆ ประกอบการคัดเลือกผู้เสนอราคา แบบฟอร์มการเสนอราคา ข้อมูลจาเพาะ ทางเทคนิค รายละเอียดการยื่นข้อเสนอ รูปแบบรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะ หลักเกณฑ์การพิจารณา ข้อเสนอ ระยะเวลาการดาเนินงานและส่งมอบงาน สถานที่ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม 2.3 คาแนะนาผู้เข้าประกวดราคา (Instructions to Bidders) คาแนะนาผู้เข้าประกวดราคาประกอบด้วยรายละเอียดของเอกสารโครงการว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง คุณสมบัติของผู้ยื่นข้อเสนอ เอกสารหลักฐานต่าง ๆ ข้อมูลจาเพาะทางเทคนิค หลักฐานการยื่นข้อเสนอ รายละเอียดการเสนอราคา หลักประกันการเสนอราคา หลักเกณฑ์และสิทธิในการพิจารณา การทาสัญญาจ้าง ก่อสร้าง ค่าจ้างและการจ่ายเงิน อัตราค่าปรับ กรณีทางานไม่แล้วเสร็จตามสัญญา การรับประกันความชารุด บกพร่อง การจ่ายเงินล่วงหน้า การหักเงินประกันผลงาน ข้อสงวนสิทธิ์ในการยื่นข้อเสนอและอื่นๆ การปรับ
  • 42. 2-38 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์ ราคาค่างานก่อสร้าง มาตรฐานฝีมือช่าง การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ การประเมินผลการปฏิบัติงาน ของผู้ประกอบการ 2.4 เงื่อนไขของสัญญา (Conditions of Contract) เงื่อนไขของสัญญาประกอบด้วย เงื่อนไขทั่วไปของสัญญา และเงื่อนไขเฉพาะ เงื่อนไขของสัญญาทั่วไปประกอบด้วย รายละเอียดต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1. คาจากัดความและการตีความ (Definitions and Interpretations) 2. หลักประกันสัญญา (Performance Guarantee) 3. การโอนสิทธิหน้าที่และการทาสัญญาจ้างช่วง (Assignment and Subcontracting) 4. แบบรูป (Drawings) 5. ภาระหน้าที่โดยทั่วไป (General Obligations) 6. การดูแลบารุงรักษางาน (Care of Works) 7. การประกันภัยในงาน (Insurance of Works) 8. ความเสียหายต่อบุคคลและทรัพย์สิน (Damage to Persons and Property) 9. การแก้ไขกรณีผู้รับจ้างไม่ทาประกันภัย (Remedy on Contractor’s Failure to Insure) 10. การปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบต่าง ๆ (Compliance with Laws and Regulations, etc.) 11. การเข้าพื้นที่ของผู้รับจ้างรายอื่น (Access to other Contractors) 12. การดูแลรักษาหน้างานให้สะอาดและปลอดภัย (Maintaining the Site Clean and Safe) 13. แรงงาน (Labour) 14. วัสดุและฝีมือการทางาน (Materials and Workmanship) 15. การตรวจสอบการปฏิบัติงาน และงานที่มองไม่เห็นจากภายนอก (Inspection of Operations and Examination of Hidden Work) 16. งานและวัสดุที่ไม่ถูกต้อง (Improper Work and Materials) 17. การหยุดงาน (Suspension of Works) 18. หนังสือแจ้งให้เริ่มงานและการครอบครองพื้นที่หน้างาน (Notice to Proceed, and Possession of Site) 19. กาหนดเวลาแล้วเสร็จของงาน (Time for Completion) 20. การขยายกาหนดเวลาแล้วเสร็จของงาน (Extension of Time of Completion) 21. อัตราความก้าวหน้า การทางานกลางคืนหรือวันอาทิตย์ (Rate of Progress, Night or Sunday Work) 22. ความล่าช้าของงาน (Works Delay)
  • 43. 2-39 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์ 23. หนังสือรับรองการแล้วเสร็จของงาน (Certificate of Completion) 24. งานชารุดบกพร่อง (Defective Works) 25. การแก้ไขเปลี่ยนแปลงงาน การเพิ่มเติมงาน และการยกเลิกงาน (Alterations, Additions and Omissions) 26. เครื่องจักรก่อสร้าง อุปกรณ์ของผู้รับจ้าง งานชั่วคราวและวัสดุ (Constructional Plant, Contractor’s Equipment, Temporary Works and Materials) 27. การวัดปริมาณงาน (Measurement of Quantities) 28. การปรับมูลค่าสัญญาเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณงาน (Adjustment of Contract Sum Due to Variations in Quantities) 29. เงินสารองเผื่อการใช้จ่าย (Provisional Sums) 30. การจ่ายเงิน และการหักเงินประกันผลงาน (Payment and Retention) 31. การเลิกสัญญาโดยผู้ว่าจ้าง (Termination of Contract by the Employer) 32. เหตุสุดวิสัย (Force Majeure) 33. การระงับข้อพิพาท (Settlement of Disputes) 34. การเลิกสัญญาโดยผู้รับจ้าง (Termination of Contract by the Contractor) 35. ความรับผิดของคู่สัญญา (Liabilities of the Parties) 36. ความช่วยเหลือจากผู้ว่าจ้าง (Assistance by the Employer) 37. การบอกกล่าว (Notices) 38. ภาษา (Language) 39. กฎหมายที่ใช้บังคับ (Law of Contract) 40. กฎหมายที่ต้องปฏิบัติตาม (Law to be Observed) 41. กฎหมายที่ออกมาภายหลัง 42. การเปลี่ยนแปลงราคา (Changes in Costs) 43. อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา (Rate of Exchange) 44. ภาษีและพิกัดศุลกากร (Taxation and Customs Duties) 45. อากรแสตมป์ (Stamp Duties) 46. การอนุมัติไม่มีผลต่อความรับผิดของผู้รับจ้าง (Liabilities not Affected by Approval) 47. การใช้วัตถุระเบิด (Use of Explosives) 48. การซ่อมแซมเร่งด่วน (Urgent Repairs) 49. เอกสารที่อธิบายความหมายร่วมกัน (Documents Mutually Explanatory) 50. พื้นที่ทางานอยู่นอกบริเวณหน้างาน (Work Areas outside the Site) 51 เงื่อนไขในการปฏิบัติงาน
  • 44. 2-40 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์ 52. ข้อบังคับพิเศษของเจ้าของงาน 53. การจอดเรือชั่วคราว การทาเครื่องหมาย ทุ่นและแสงสว่าง 54. การสงวนสิทธิ 55. ค่าใช้จ่ายพิเศษ 56. ค่าสิทธิบัตร 57. ผู้รับจ้างช่วง 58. การดูแลรักษาการจราจร คนดูแลและเฝ้าระวังความปลอดภัย (Maintenance of Traffic, Safety and Lookout Men) 59. การให้สินบน (Bribery) 60. การกระทาการอันรบกวนต่อสาธารณะ (Interference with the Public) 61. สาธารณูปการ (Utilities) 62. ที่พักบริเวณหน้างาน (Site Accommodation) 63. ที่พักอาศัย (Living Accommodations) 64. การบันทึกวีดีทัศน์ (Contract Record) 65. ความสัมพันธ์กันระหว่างเอกสารสัญญา 66. การประสานงานกับส่วนราชการและ/หรือผู้รับจ้างรายอื่น เงื่อนไขเฉพาะ จะเป็นรายละเอียดที่เพิ่มเติมจากเงื่อนไขทั่วไป อาทิเช่น แผนดาเนินงานก่อสร้างและผังของ การเชื่อมประสานงานก่อสร้าง (Key Date : KD) และอาจมีการแก้ไขปรับปรุงข้อความในเงื่อนไขทั่วไป 2.5 ข้อกาหนด (Specifications) ข้อกาหนด (Specifications) เป็นเอกสารซึ่งกล่าวถึงความประสงค์ ความต้องการของผู้ออกแบบ เจ้าของงาน หรือเจ้าของโครงการ เพื่อสื่อสารไปยังบุคลากรผู้ที่เกี่ยว ข้องในงานต่าง ๆ เช่น งานก่อสร้าง งานผลิต งาน พัฒนาซอฟต์แวร์ ฯลฯ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ กาหนด ขอบเขตงาน อธิบายคาจากัดความ นิยามที่ใช้ในงานนั้น มาตรฐานที่ต้องการให้ใช้ ชนิด ขนาด และรายละเอียดของวัสดุ เครื่องจักร เครื่องมือ ตลอดจนถึงวิธีการ ก่อสร้างหรือวิธีการดาเนินงาน รวมถึงคุณภาพของช่างฝีมือแรงงาน ความละเอียดและถูกต้องในงานนั้น 2.6 บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา (Bill of Quantities) บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา (Bill of Quantities) เป็นเอกสารซึ่งแสดงรายการงาน และปริมาณวัสดุ เพื่อให้ผู้เข้าประกวดราคากรอกราคา เพื่อประกวดราคางานโครงการนี้ องค์ประกอบของบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ คือ
  • 45. 2-41 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์ - ลาดับที่ของรายการ - รายละเอียดของงานแต่ละประเภท - ปริมาณงาน (จานวน) - หน่วยในการวัดเพื่อการจ่ายเงิน - อัตราราคาต่อหน่วย (อาจแยกเป็นราคาค่าวัสดุ และค่าแรงงาน) ของแต่ละรายการ - ราคารวม - หมายเหตุ (หากจาเป็น หรือต้องการ) หน้าที่และความสาคัญของบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา ที่ใช้ในงานก่อสร้าง - แสดงองค์ประกอบรายละเอียดของงานต่าง ๆ - แสดงปริมาณงานและหน่วยที่ใช้ในการวัดและจ่ายเงิน - แสดงราคาของงานแต่ละประเภท - ใช้เพื่อเปรียบเทียบราคาของผู้เข้าประกวดราคา (Tenderer /Bidder) เพื่อเป็นผู้รับจ้างก่อสร้าง (ผู้รับเหมา/ Contractor) ในโครงการนั้น ๆ - ใช้เพื่อเป็นราคาฐาน สาหรับงานเพิ่มเติมในโครงการนั้น ๆ - ใช้เพื่อการเบิกจ่ายเงิน (Payment) หรือการเบิกจ่ายเงินบางส่วนในระหว่างการก่อสร้าง (Interim Payment) 2.7 แบบสัญญาจ้าง (Contract) แบบสัญญาจ้างจะเป็นตัวอย่างของสัญญาจ้าง ที่จะใช้ในโครงการ ดังตัวอย่างที่แสดงต่อไปนี้
  • 46. 2-42 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์ สัญญาว่าจ้างก่อสร้างอาคาร ทาที่.................................. ....................................... วันที่........................................... สัญญานี้ทาขึ้นระหว่าง.............................................อยู่บ้านเลขที่................หมู่ที่..........ถนน ...........................ตาบล/แขวง.......................อาเภอ/เขต........................จังหวัด...........................ซึ่งต่อไปนี้ใน สัญญาจะเรียกว่า “ผู้ว่าจ้าง” ฝ่ายหนึ่ง กับ บริษัท(จากัด)/ห้างหุ้นส่วนจากัด………………………… โดย……………………………………..กรรมการผู้มีอานาจ/หุ้นส่วนผู้จัดการ สานักงานตั้งอยู่เลขที่................หมู่ที่ ........ถนน...........................ตาบล/แขวง..........................................อาเภอ/เขต........................... ..จังหวัด ............................ซึ่งต่อไปนี้ในสัญญาจะเรียกว่า “ผู้รับจ้าง” อีกฝ่ายหนึ่ง ทั้งสองฝ่ายได้ตกลงทาสัญญาว่าจ้างก่อสร้างอาคาร ดังมีข้อความต่อไปนี้ ข้อ ๑ ผู้ว่าจ้างตกลงว่าจ้าง และผู้รับจ้างตกลงรับจ้างก่อสร้างอาคาร...............บนที่ดินแปลง เลขที่......................ซึ่งเป็นส่วนของที่ดินโฉนดเลขที่....................................ตาบล/แขวง.......................อาเภอ/ เขต................................จังหวัด............................เนื้อที่ประมาณ...............ตารางวา ตามแบบแปลนและ รายละเอียดของงานที่แนบท้ายสัญญานี้และให้ถือเป็นส่วนหนึ่งของสัญญานี้ ข้อ ๒ ผู้รับจ้างตกลงจะทาการก่อสร้างตามสัญญาข้อ ๑ ให้เสร็จสิ้นภายในกาหนด........... เดือน นับแต่วันทาสัญญานี้ ในกรณีที่เกิดเหตุสุดวิสัยใดๆ ที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้และเป็นเหตุให้การก่อสร้างดังกล่าวต้อง หยุดชะงักลงโดยมิใช่ความผิดของฝ่ายผู้รับจ้างก็ให้ยืดกาหนดเวลาดังกล่าวในวรรคก่อนออกไปเท่ากับเวลาที่ สูญเสียไปเพราะเหตุดังกล่าว ข้อ ๓ ก่อนลงมือก่อสร้าง ผู้รับจ้างต้องทาการตรวจสอบสถานที่และสภาพที่เป็นอยู่ รังวัด ตรวจสอบหมุดหลักเขต จัดทาระดับแนวและระยะต่างๆ ในแบบก่อสร้างและเสนอผลการตรวจสอบให้แก่ผู้ว่า จ้างพร้อมทั้งแสดงสภาวะของสภาพดังกล่าวอันจะทาให้เกิดการกระทบกระเทือนยุ่งยากแก่งานที่ระบุในสัญญา และรายงานความเคลื่อนไหวอันเกิดขึ้นระหว่างแผนก่อสร้างกับสถานที่จริงเป็นลายลักษณ์อักษรก่อน ดาเนินงานต่อไป
  • 47. 2-43 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์ ข้อ ๔ ผู้รับจ้างต้องตรวจสอบและศึกษารายละเอียดโดยผู้รับจ้างต้องเสนอแบบขยาย รายละเอียดจะต้องแสดงถึงวิธีการ ตาแหน่งและระยะต่างๆ ในการปฏิบัติงานโดยละเอียด ข้อ ๕ ผู้ว่าจ้างตกลงชาระค่าจ้างให้แก่ผู้รับจ้างเป็นเงินทั้งสิ้น.......................บาท (.................................................) โดยจะชาระค่าจ้างให้เป็นงวดๆ รวม .................งวด ตามรายละเอียดการ ชาระค่าจ้าง ดังนี้ งวดที่ ๑ ชาระจานวน..........................บาท (.. ........................................................) ภายในวันที่หรือก่อนวันที่ ................................................. งวดที่ ๒ ชาระจานวน..........................บาท (.........................................................) ภายในวันที่หรือก่อนวันที่ ................................................. งวดที่ ๓ ชาระจานวน...........................บาท (........................................................) ภายในวันที่หรือก่อนวันที่ ................................................ งวดที่ ๔ ชาระจานวน............................บาท (.........................................................) ภายในวันที่หรือก่อนวันที่ ................................................ งวดที่ ๕ ชาระจานวน............................บาท (......................................................) ภายในวันที่หรือก่อนวันที่ ................................................ ข้อ ๖ เงินค่าจ้างส่วนที่เหลืออีก.....................บาท (..................................)ผู้ว่าจ้างตกลงชาระ ให้แล้วเสร็จ หรือผู้ซื้อจัดหาสถาบันการเงินมาชาระให้แล้วเสร็จภายในวันที่ส่งมอบงาน ข้อ ๗ วัสดุเครื่องมืออุปกรณ์ที่ใช้ในการก่อสร้างรวมทั้งสัมภาระต่างๆ ที่จาเป็นให้ผู้รับจ้างเป็น ผู้จัดหา ซึ่งจะต้องใช้วัสดุอุปกรณ์ตามขนาดและคุณภาพดังที่แจ้งไว้ในรายละเอียดแนบท้ายสัญญานี้ ข้อ ๘ ถ้าผู้ว่าจ้างผิดนัดชาระค่าจ้างงวดใดงวดหนึ่งตามข้อ ๕ ผู้รับจ้างมีสิทธิยึดหน่วงใน สิ่งก่อสร้างและสิ่งติดตรึงตราหรือการงานใดๆ ที่ผู้รับจ้างได้ทาไว้ตามสัญญานี้และผู้รับจ้างมีสิทธิปฏิเสธทาการ งานจนกว่าผู้ว่าจ้างจะได้จัดการชาระค่าจ้างแก่ผู้รับจ้างแล้วเสร็จ ถ้าผู้ว่าจ้างผิดนัดชาระค่าจ้างแก่ผู้รับจ้าง ๒ งวดติดต่อกัน ให้ถือว่าสัญญานี้เป็นอันยกเลิกกัน ทันที โดยผู้รับจ้างมิต้องบอกกล่าวเตือนก่อนและให้ถือว่ากรรมสิทธิ์ของอาคารเป็นของผู้รับจ้าง โดยผู้รับจ้างไม่ จาเป็นต้องคืนเงินค่าจ้างที่ได้รับไว้แล้ว
  • 48. 2-44 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์ ข้อ ๙ ผู้ว่าจ้างหรือบริวารจะไม่เข้าไปใช้สอยหรือเข้าครอบครองในอาคารที่ว่าจ้างให้ปลูก สร้างจนกว่าผู้รับจ้างจะส่งมอบงานงวดสุดท้าย และผู้ว่าจ้างได้ชาระราคาตามสัญญาให้แก่ผู้รับจ้างจนครบถ้วน แล้ว ให้ถือว่ากรรมสิทธิ์ในสิ่งก่อสร้างและสิ่งติดตรึงตราที่ผู้รับจ้างได้ทาไว้ตามสัญญานี้ยังเป็น กรรมสิทธิ์ของผู้รับจ้างอยู่และไม่เป็นส่วนควบของที่ดินจนกว่าผู้รับจ้างจะส่งมอบงานงวดสุดท้ายและผู้ว่าจ้างได้ ชาระราคาตามสัญญาให้แก่ผู้รับจ้างจนครบถ้วนแล้ว ข้อ ๑๐ หากผู้ว่าจ้างประสงค์จะทาการแก้ไขเปลี่ยนแปลงการก่อสร้างผู้ว่าจ้างจะต้องแจ้งให้ ผู้รับจ้างทราบเป็นลายลักษณ์อักษรโดยผู้ว่าจ้างจะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายเองแต่ผู้รับจ้างมีสิทธิที่จะยอมรับหรือไม่ ยอมรับการเปลี่ยนแปลงนั้นๆ โดยคานึงถึงความจาเป็นและผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากการแก้ไข เปลี่ยนแปลงดังกล่าว ข้อ ๑๑ ผู้รับจ้างต้องทางานก่อสร้างทั้งหมดให้ถูกต้องตามแบบแผนและรายละเอียดการ ก่อสร้าง ทั้งนี้ ผู้ว่าจ้างยินยอมให้ผู้รับจ้างนางานส่วนใดส่วนหนึ่งหรืองานทั้งหมดแห่งสัญญานี้ไปให้ผู้อื่นรับจ้าง ช่วงก่อสร้างให้เป็นไปตามแบบและมาตรฐานของผู้รับจ้างอีกต่อหนึ่งได้ ข้อ ๑๒ ผู้รับจ้างยินยอมให้ผู้ว่าจ้างหรือตัวแทนเข้าตรวจตราอาคารได้เป็นครั้งคราว แต่ผู้ว่า จ้างต้องไม่ขัดขวางหรือรบกวนการก่อสร้าง ข้อ ๑๓ ผู้รับจ้างต้องปฏิบัติงานก่อสร้างด้วยความระมัดระวัง ป้องกันความเสียหายและ อุบัติเหตุอันเกิดจากบุคคลภายนอกด้วย หากเกิดอุบัติเหตุหรือความเสียหายแก่บุคคลภายนอก ผู้รับจ้างต้อง รับผิดเพียงฝ่ายเดียว ข้อ ๑๔ ในขณะก่อสร้างผู้รับจ้างต้องรักษาสถานที่ให้สะอาด ปราศจากเศษวัสดุ อันเกิดจาก การปฏิบัติงาน ข้อ ๑๕ เมื่อผู้รับจ้างได้ทาการก่อสร้างเสร็จแล้ว ผู้รับจ้างจะมีหนังสือแจ้งให้ผู้ว่าจ้างทราบ เพื่อให้ผู้ว่าจ้างหรือตัวแทนของของผู้ว่าจ้างมาตรวจรับมอบงานภายในเวลาที่กาหนด..........วัน นับแต่วันที่ผู้ รับจ้างได้มีหนังสือแจ้งไป หากผู้ว่าจ้างไม่ตรวจรับมอบงานภายในกาหนดเวลาดังกล่าวหรือไม่ยอมรับมอบงาน โดยไม่แจ้งเหตุให้ทราบเกินกว่ากาหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ให้ถือว่าผู้รับจ้างได้ส่งมอบงานก่อสร้างให้แก่ผู้ว่าจ้าง โดยเสร็จสิ้นสมบูรณ์ตามสัญญานี้แล้วและผู้ว่าจ้างจะนาข้ออ้างใดๆ มาปฏิเสธการชาระเงินค่าว่าจ้างไม่ได้ ส่วน
  • 49. 2-45 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์ การซ่อมแซมข้อบกพร่องหรือการชารุดเสียหายของการก่อสร้างที่เกิดขึ้นภายหลัง เป็นความรับผิดชอบของผู้ รับจ้างฝ่ายเดียว ข้อ ๑๖ ภายในระยะ ๑ ปี นับจากวันที่อาคารที่ว่าจ้างตามสัญญานี้ก่อสร้างเสร็จและมีการส่ง มอบงานงวดสุดท้ายให้กับผู้ว่าจ้างหรือผู้ว่าจ้างได้รับมอบงานเป็นที่เรียบร้อยแล้วนั้น หากส่วนใดของอาคารเกิด ชารุดเสียหาย เนื่องจากความชารุดบกพร่องในการก่อสร้างหรือเพราะเหตุวัสดุอุปกรณ์ในการก่อสร้างตาม สัญญานี้ ผู้รับจ้างจะต้องทาการซ่อมแซมให้เรียบร้อยอยู่ในสภาพเดิมโดยไม่คิดค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น เว้นแต่ ความเสียหายนั้นเกิดจากภัยธรรมชาติ เช่น วาตภัย อุทกภัย อัคคีภัย แผ่นดินไหว ความเสียหายจากสัตว์ แมลง หรือความเสียหายจากการจลาจล โจรกรรม ข้อ ๑๗ หากผู้รับจ้างไม่ทาการส่งมอบงานทั้งหมด โดยมิใช่ความผิดของผู้ว่าจ้างภายใน กาหนดเวลาที่ระบุไว้ ผู้รับจ้างยินยอมให้ผู้ว่าจ้างเรียกร้องให้ชาระค่าปรับวันละ...........บาท (...................................................) จนกว่าจะส่งมอบงานที่เสร็จสิ้นทั้งหมด ข้อ ๑๘ บรรดาเอกสารหนังสือและหนังสือบอกกล่าวใดๆ ของคู่สัญญาตามภูมิลาเนาที่ปรากฏ ในสัญญานี้ ให้ถือว่าคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งได้รับทราบข้อความนั้นตลอดแล้ว กรณีที่คู่สัญญาย้ายที่อยู่หรือ ภูมิลาเนาให้เป็นหน้าที่ของผู้ว่าจ้างนั้นต้องแจ้งคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งทราบเป็นหนังสือ ภายใน..... วัน นับแต่วัน ย้าย มิฉะนั้นให้ถือว่าบรรดาเอกสารหนังสือ และหนังสือบอกกล่าวที่ส่งไปตามที่อยู่ของคู่สัญญาตามสัญญานี้ เป็นการส่งโดยชอบด้วยกฎหมาย สัญญานี้ทาขึ้นเป็นสองฉบับ มีข้อความถูกต้องตรงกัน โดยคู่สัญญายึดถือไว้ฝ่ายละหนึ่งฉบับ คู่สัญญาได้อ่านและเข้าใจข้อความโดยตลอดแล้ว จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นพยานหลักฐาน ลงชื่อ.............................ผู้ว่าจ้าง (.....................................) ลงชื่อ............................ผู้รับจ้าง (.....................................) ลงชื่อ...............................พยาน (.....................................) ลงชื่อ...............................พยาน (....................................)
  • 50. 2-46 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์ 3. ข้อกาหนดคืออะไร รายการประกอบแบบ ในประเทศไทยมีคาเรียกหลายคา เช่น รายการก่อสร้าง รายการรายละเอียด ด้านสถาป้ตยกรรม หรือรายการรายละเอียดด้านวิศวกรรม รายละเอียดและข้อกาหนดการก่อสร้าง ข้อกาหนด ข้อกาหนดทางเทคนิค ข้อกาหนดทางเทคนิคในการก่อสร้าง เป็นต้น สาหรับคาที่ใช้ในภาษาอังกฤษ จะใช้คาว่า “Specifications” ซึ่งราชบัณฑิตยสถาน และ วิศวกรรม สถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ บัญญัติศัพท์เป็น “ข้อกาหนด” คาว่า Specifications ใน ภาษาอังกฤษ The American Heritage Dictionary of the English Language, Third Edition ให้ความหมายไว้ดังนี้ 1.1 The act of specifying. 1.2 Specifications A detailed, exact statement of particulars, especially a statement prescribing materials, dimensions, and quality of work for something to be built, installed, or manufactured, b. A single item or article that has been specified. 1.3 An exact written description of an invention by an applicant for a patent. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของข้อกาหนดไว้ว่า “ข้อความที่ระบุ เป็นหลักเกณฑ์ หรือวิธีการให้บุคคลที่เกี่ยวข้องต้องปฏิบัติ หรือดาเนินการในเรื่องใด เรื่องหนึ่ง” รายการก่อสร้างคือ “เอกสารที่อธิบายความคิดของผู้ออกแบบต่อบุคคลต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับงาน ก่อสร้างเพื่อกาหนด ชนิด ขนาด มาตรฐานการทางาน และรายละเอียดของงานก่อสร้าง” จึงถือว่าเป็นข้อตกลง ส่วนหนึ่งของสัญญาจ้างและเป็นเอกสารสาคัญช่วยให้แบบรูปกระจ่างยิ่งขึ้น ทาให้ผู้รับจ้างทราบได้ว่ามี อะไรบ้างอยู่ในความคาดหมายของเขา ข้อมูลส่วนมากที่ใช้ในการทางาน จะกาหนดไว้ในแบบรูป ซึ่งเขียนขึ้นใน ลักษณะต่าง ๆ กัน แต่รายละเอียดเกี่ยวกับฝีมือ และวัสดุ อุปกรณ์นั้น ไม่สามารถระบุลงไปในงานเขียนแบบได้ (พนม, 2539) ข้อกาหนด (Specifications) บางครั้งอาจเรียกว่า รายการประกอบแบบ หรือ รายการก่อสร้าง โดยทั่วไปมักคิดถึงรายละเอียดประกอบแบบด้านเทคนิค เช่นกล่าวถึงรายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์ ขั้นตอนและ วิธีการก่อสร้าง เป็นต้น (วิสูตร, 2543) รายการประกอบแบบ คือแบบก่อสร้างที่มิใช่เส้น แต่เป็นข้อความ (วิญญู และวิชัย, 2550) ข้อกาหนดทางเทคนิค (Technical Specifications) คือเอกสารซึ่งกล่าวถึงความประสงค์ ความ ต้องการของผู้ออกแบบ เจ้าของงาน หรือเจ้าของโครงการ เพื่อสื่อสารไปยังบุคลากร ผู้ที่เกี่ยวข้องในงานต่าง ๆ เช่น งานก่อสร้าง งานผลิต งานพัฒนาซอฟต์แวร์ ฯลฯ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกาหนด ขอบเขตงาน อธิบายคา จากัดความ นิยามที่ใช้ในงานนั้น มาตรฐานที่ต้องการให้ใช้ ชนิด ขนาด และรายละเอียดของวัสดุ เครื่องจักร เครื่องมือ ตลอดจนถึงวิธีการก่อสร้างหรือวิธีการดาเนิน งาน รวมถึงคุณภาพของช่างฝีมือ แรงงาน ความ ละเอียดและถูกต้องในงานนั้น (เจตณรงค์, 2550)
  • 51. 2-47 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์ สรุปได้ว่าการจัดทาข้อกาหนด คือ กระบวนการระบุพรรณนาเพื่อแสดงรายละเอียด เฉพาะเจาะจง โดยเฉพาะรายละเอียดที่แสดงถึงคุณลักษณะของวัสดุ ขนาด ขั้นตอน วิธีการ และคุณภาพ เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง ใช้ปฏิบัติหรือดาเนินการเพื่อให้ได้งาน สิ่งก่อสร้าง ผลิตกัณฑ์ หรือการติดตั้ง และการบริการให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ที่ต้องการดังที่กาหนดไว้ วัตถุประสงค์และความสาคัญของข้อกาหนดทางเทคนิค วัตถุประสงค์ของข้อกาหนดทางเทคนิคเพื่อ ระบุรายละเอียดต่าง ๆ ที่ไม่สามารถแสดงไว้ในแบบก่อ สร้าง อาทิเช่น มาตรฐานต่าง ๆ คุณสมบัติของวัสดุ วิธีการก่อสร้างหรือปฏิบัติ วิธีการทดสอบ ความคลาด เคลื่อนที่ยอมรับได้ ตลอดจนถึงวิธีการวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน ความสาคัญของข้อกาหนด คือเป็นส่วน หนึ่งของสัญญาในโครงการต่าง ๆ เพื่อให้ผู้รับจ้างปฏิบัติงานได้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์และความต้องการของ โครงการ การไม่ปฏิบัติตามข้อกาหนดอาจนามาซึ่งอันตราย และความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินได้ 1. ประเภท/ชนิดของข้อกาหนด 1. ประเภทของข้อกาหนดแบ่งตามลักษณะของข้อกาหนด ได้แก่ - ข้อกาหนดมาตรฐาน (Standard specification) ข้อกาหนดประเภทนี้ เป็นข้อกาหนดซึ่งหน่วยงานนั้น ๆ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ได้ทั่วไป สาหรับโครงการ ต่าง ๆ ซึ่งมีลักษณะงานคล้าย ๆ กัน เป็นงานสามัญทั่ว ๆ ไป (Common) ไม่มีอะไรเป็นพิเศษ เช่นงานปรับพื้นที่ งานขุดดินทั่วไป งานคอนกรีต งาน ไม้ งานประตูหน้าต่าง เป็นต้น - ข้ อ ก า ห น ด เ ฉ พ า ะ ง า น ( Special provision, Particular specification or Supplementary specification) ข้อกาหนดนี้จะเป็นส่วนที่เสริมเพิ่มเดิมจากข้อกาหนดมาตรฐาน โดยที่โครงการแต่ละ โครงการ จะมีความแตกต่างกันบ้างในสภาพของพื้นที่ ลักษณะของโครงสร้าง ความพิเศษของโครงการ คุณสมบัติเฉพาะของวัสดุที่ใช้ 2. ประเภทของข้อกาหนดแบ่งตามลักษณะรายละเอียดของเนื้อหา ได้แก่ - ข้อกาหนดแบบละเอียดเชิงพรรณนา (Descriptive specifications) Descriptive Specifications: Materials, Methods & Workmanship เป็นข้อกาหนดที่ ระบุ วิธีการนาวัสดุไปใช้งานจริง วิธีการก่อสร้าง และระดับฝีมือช่างที่ต้องการ ข้อดีของการเขียนข้อกาหนดแบบ Descriptive Specifications คือ มีการระบุความต้องการได้ ชัดเจน ใช้ได้กับทุกงานเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันลันโดยเสรี ข้อด้อยของ Descriptive Specifications คือ อาจไม่ได้ผลเพราะฝีมือช่างไม่ถึงระดับที่ต้องการ หรือ ตรวจสอบระดับฝีมือช่างได้ยาก หรือ ถ้าทาได้ก็จะต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่ายมาก จะทาให้ การเขียนข้อกาหนดยาว เสียเวลาเขียนนานมาก เพื่อให้สอดคล้องกับระดับฝีมือช่างที่มีอยู่
  • 52. 2-48 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์ เสียเวลาอ่านทาความเข้าใจมาก อาจจะต้องเพิ่มข้อความบางอย่าง เพื่อให้ได้ผลตามต้องการ อาจ ทาให้ราคางานสูงขึ้น - ข้อกาหนดแบบมุ่งผลสาเร็จของงาน (Performance specifications) Performance Specifications รายการก่อสร้างที่ระบุผลสุดท้ายที่ต้องการเท่านั้น ส่วนวัสดุ และแรงงาน วิธีการจัดซื้อ - จัดหา ตลอดจนวิธีการก่อสร้าง ผู้รับจ้างจะต้องเป็นผู้ดาเนินการ จัดหา จัดซื้อ ด้วยตัวเองทั้งหมด ข้อดีของ Performance Specifications คือ ได้ผลตรงตามความต้องการของผู้ออกแบบ ผู้รับจ้างมีอิสระเต็มที่ในการทางาน จะมีการแข่งขันสูง ข้อกาหนดจะสั้น และกะทัดรัด ใช้ได้กับ งานทุกประเภท ข้อด้อยของ Performance Specifications คือ การกาหนดราคาที่แน่นอนทาได้ยาก ผู้รับจ้าง จะใช้วิธีท่างานแตกต่างกันออกไป ควบคุมงานลาบากต้องทาตามผู้รับจ้างบอกตลอด ยิ่งถ้าไม่ จากัดค่าใช้จ่ายเอาไว้เจ้าของโครงการจะเสียค่าใช้จ่ายมาก - ข้อกาหนดแบบอ้างอิง (Reference specifications) Reference Specifications ข้อกาหนดที่อ้างอิงมาตรฐานที่มีอยู่ ที่ใช้อยู่ ที่ทุกคนยอมรับ เช่น ให้ใช้ปูนซีเมนต์ ประเภท 1 ตาม มอก.ที่ 15 เป็นต้น ข้อดีของ Reference Specifications คือ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องยอมรับเพราะเป็นที่คุ้นเคย และใช้ ทั่วไปไม่จากัดการแข่งขันรายละเอียดข้อกาหนดสั้น กระชับ กะทัดรัด มีน้าหนักมากถ้าต้องมีการ ขึ้นศาลกรณีมีป้ญหาในการทางาน ข้อด้อยของ Reference Specifications คือ วัสดุหรือวิธีการหลายอย่างไม่มีมาตรฐานให้ อ้างอิง มาตรฐานบางอย่างอาจถ้าสมัย มาตรฐานบางอย่างเป็นเกณฑ์ขั้นต่า อาจปกป้อง ผลประโยชน ของคนบางกลุ่มเท่านั้น ผู้รับจ้างต้องขวนขวายหามาตรฐานอ้างอิงเอาเองซึ่งกว่าจะได้รับการ ยอมรับจากเจ้าของงานจะเสียเวลาและค่าใช้จ่ายมาก - ข้อกาหนดแบบระบุบริษัทผู้ผลิต (Proprietary specifications) อธิบายคาเรียก Proprietary : ศัพท์คาว่า Proprietary software ทางด้านวิศวกรรมซอฟแวร์ ในประเทศไทย บางทีจะใช้คาทับศัพท์ว่า "โพรไพรเอทารีซอฟต์แวร์" หรือใช้คาว่า "ซอฟต์แวร์ เอกสิทธเฉพาะ" Proprietary Specifications ข้อกาหนดที่มีการระบุยี่ห้อ รุ่น หมายเลขแคตตาล็อก สี หรือ รายละเอียดต่างๆให้ชัดเจน ผู้ที่เกี่ยวข้องรู้ได้ทันทีว่าเป็นสิ่งใด เช่น กระเบื้องมุงหลังคาใช้ CPAC MONIER สีแดง เป็นต้น ข้อดีของ Proprietary Specifications คือ บุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเข้าใจตรงกันว่าต้องการอะไร คิด ราคาง่าย ทาให้รายละเอียดข้อกาหนดสั้น กะทัดรัดได้คุณภาพงานตรงตามความต้องการของ ผู้ออกแบบ
  • 53. 2-49 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์ ข้อด้อยของ Proprietary Specifications คือ ใช้กาหนดรายละเอียดได้เฉพาะวัสดุเท่านั้น จะทา ให้ไม่มีการแข่งขันในการเสนอราคาทาให้งานมีราคาแพง และถ้าตอนลงมือก่อ สร้างจะมีป้ญหา ถ้าหายี่ห้อนั้นไม่ได้ หรือ หาได้แต่เจ้าของผู้ผลิตโก่งราคาขึ้นไปอย่างไม่เป็นธรรม นอกจากนั้วัสดุ บางชนิดที่ใช้กันบ่อย ๆ แต่ไม่มียี่ห้อ เช่น อิฐบล็อก อิฐ ทราย หิน จะไม่สามารถนามาใช้ใน รายการก่อสร้างประเภทนั้นได้ - ข้อกาหนดแบบผสม (Combination Specifications) Combination Specifications ข้อกาหนดแบบผสมตามความต้องการเฉพาะงาน มีข้อดี และ ข้อเสียตามแต่ละแบบที่นามาใช้ - มาตรฐานอ้างอิง (Reference standard) มาตรฐานอ้างอิง เป็นเอกสารที่จัดทาโดยหน่วยงานกาหนดมาตรฐาน ใช้ประโยชน์ในการกาหนด คุณสมบัติของวัสดุก่อสร้าง วิธีการทดสอบ วิธีการดาเนินงาน รวมถึงวิธีการควบคุมคุณภาพต่าง ๆ เช่น มาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) มาตรฐาน ISO (International Standard organization) มาตรฐาน ASTM (American Society for Testing) มาตรฐาน ACI (American Concrete Institute) เป็นต้น 3. แนวทางและการจัดทาข้อกาหนด/รายการประกอบแบบ การเขียนข้อกาหนด การเขียนข้อกาหนดจัดเป็นงานที่สาคัญ ผู้เขียนข้อกาหนด จะต้องเป็นผู้รอบรู้ในงานนั้นอย่างยิ่งอีก ทั้ง ต้องรอบคอบละเอียดถี่ถ้วน เขียนรายการชัดเจนและปฏิบัติได้ ฉะนั้น การเขียนข้อกาหนดใด ๆ ย่อมขึ้นอยู่กับ 6 C ดังนี้ - Correct ถูกต้อง เนื้อหาต้องตรงกับวัตถุประสงค์ ถูกต้องตามข้อเท็จจริง ใช้ภาษาได้ถูกต้อง ทั้ง โครงสร้างประโยค สานวน ลีลา เครื่องหมายวรรคตอน ตัวสะกด - Complete สมบูรณ์ มีเนื้อหาครบถ้วน - Clear ชัดเจน ไม่กากวม อ่านเข้าใจง่าย ตรงตามที่ต้องการสื่อ บรรลุวัตถุประสงค์ ไม่ต้องตีความ - Concise กระชับ กะทัดรัด รัดกุม ไม่ใช้คาฟุ่มเฟือย - Coherence สัมพันธภาพ มีการเชื่อมโยงในข้อความ แต่ละประโยคต้องมีเนื้อความเกี่ยวเนื่องกัน - Convincing สมเหตุผล มีความเป็นไปได้ การจัดทามาตรฐานข้อกาหนด เมื่อเริ่มงานออกแบบโครงการ ควรจะต้องมีการประชุมปรึกษาหารือระหว่าง วิศวกรสาขาต่าง ๆ สถาปนิก ผู้ประมาณราคาและคานวณปริมาณงาน ผู้จัดเตรียมข้อกาหนด นักวิชาการสิ่งแวดล้อม และ ผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ เพื่อร่วมกันจัดทา เกณฑ์การออกแบบ (Design Criteria) เพื่อให้โครงการ มีประโยชน์ใช้งาน สูงสุดและมีระยะเวลาก่อสร้างตรงตามความต้องการของผู้ว่าจ้าง สะดวกต่อการดูแลและบารุงรักษา เหมาะสม
  • 54. 2-50 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์ กับสภาพภูมิอากาศ ทั้งในระยะเวลาก่อสร้าง และระยะเวลาใช้งาน ใช้วัสดุในท้องถิ่นให้มากที่สุด เพื่อลดราคา ค่าก่อสร้าง มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด และสอดคล้องกับมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบ สิ่งแวดล้อม (Mitigation Plan) ของโครงการ รูปแบบของข้อกาหนดที่เสนอ หนึ่งบทจะครอบคลุมงานหนึ่งงาน และจะประกอบด้วยหัวข้อหลัก 4 หัวข้อ เหมือนกันทุกบทเป็นส่วนใหญ่ คือ - หัวข้อ X.1 ทั่วไป จะประกอบด้วยหัวข้อย่อยตามความจาเป็น คือ ๐ X.1.1 ขอบเขตของงาน ๐ X.1.2 มาตรฐานที่ใช้กับงานในบทนี้ ๐ X.1.3 นิยาม งานบางงานจาเป็นที่จะต้องให้คานิยามงานย่อยเพื่อบ่งชี้ความแตกต่าง ให้ชัดเจน ๐ X.1.4 การเสนอเอกสารและตัวอย่างวัสดุ - หัวข้อ X.2 วัสดุ/เครื่องจักร/เครื่องมือ - หัวข้อ X.3 วิธีการก่อสร้าง/วิธีการดาเนินงาน - หัวข้อ X.4 การวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน (ไม่ใช้กับงาน อีพีซี) หลักการเขียนข้อกาหนด/รายการก่อสร้าง (Principle of Specifications Writing)1 1. ต้องถามเจ้าของโครงการให้แน่ใจต้องการอะไรแน่ ระดับคุณภาพอยู่ระดับใด สอดคล้องกับงบประมาณที่ มีอยู่หรือไม่ 2. เขียนความต้องการให้สั้น กะทัดรัด ชัดเจน เกี่ยวกับเงื่อนไขทั่วไป ชนิดของงานและคุณภาพของช่างฝีมือ 3. แยกแยะหัวข้อทั้งเงื่อนไขเพิ่มเติมทั่วไป (General Provisions) และข้อกาหนดทางด้านเทคนิค (Technical Requirements) ให้ชัดเจนเพื่อสะดวกต่อการเชื่อมโยงหรืออ้าง ถึงให้ต่อเนื่องกับเอกสาร ประกอบสัญญาอื่น ๆ วิเคราะห์งานแต่ละชนิดและเลือกข้อกาหนดทางด้านเทคนิคให้ตรงกับงานนั้น ๆ โดยอาศัยข้อกาหนดทางด้านเทคนิคของงานประเภทเดียวกันที่ได้เคยใช้หรือก่อสร้างมาก่อนเป็นตัว เปรียบเทียบ 4. จัดลาดับความต้องการที่จะนาไปเขียนลงในแต่ละส่วนของข้อกาหนดให้สอดคล้องกับแบบก่อสร้างและ สัญญา ทั้งนี้เพื่อให้ง่ายในการตรวจสอบและปฏิบัติตาม 5. เขียนข้อกาหนดให้กระชับ ครบถ้วนสมบูรณ์ ใช้ประโยคและถ้อยคาที่เป็นที่เข้าใจกันโดยทั่วไป 6. ใช้ศัพท์ที่มีความหมายแน่นอน ไม่กากวม ไม่ต้องตีความ เป็นที่เข้าใจตรงกัน ไม่เข้าใจเป็นอย่างอื่น 7. ต้องการอะไรให้สั่งลงไปตรง ๆ อย่าใช้คาพูดเชิงแนะนา 1 http://www.rangson.com/html%20document/ce/ce005001.htm
  • 55. 2-51 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์ 8. ไม่จาเป็นต้องระบุเหตุผลหรือให้คาอธิบายเพิ่มเติมในสิ่งที่ต้องการ 9. อย่าระบุให้ทาในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ หรือ ไม่มีเหตุผล หรือ เสียค่าใช้จ่ายสูงกว่างบประมาณที่มีอยู่ 10. อย่ากาหนดความต้องการให้ขัดแย้งกัน 11. ให้ระบุขนาดมาตรฐาน (Size) หรือ รูปแบบมาตรฐาน (Pattern) ทุกครั้งถ้าทาได้ เพราะจะได้ไม่มีป้ญหา ในการสิ่งของหรือสิ่งวัสดุ 12. อย่าเขียนความต้องการซ้า ๆ กัน ให้ใช้การอ้างอิงแทน 13. พยายามลดการอ้างอิงไขว้กันไปไขว้กันมา เช่น กรณีมีข้อสงสัยให้ไปดูข้อ 5.2 และที่ข้อ 5.2 เขียนว่า ให้ ไปดูข้อ 6.8 เป็นต้น 14. อย่าปัดความรับผิดชอบไปให้ผู้รับจ้างถ้าเขาได้ทาตามข้อกาหนดครบถ้วน อะไรก็ตามที่ผู้รับจ้างได้ทาตาม ข้อกาหนดแล้วเกิดความเสียหายขึ้น ผู้ออกข้อกาหนดจะต้องรับผิดชอบ 15. มีความยุติธรรม คิดถึงอกเขาอกเรา 16. อย่าปิดบัง ซ่อนเร้น ความยากลาบากของงานหรือที่อาจจะเป็นอันตรายได้ จะต้องบอกผู้รับจ้างให้ทราบ ว่างานตอนใดมีอันตราย เช่นการสร้างห้อง X - RAY ในโรงพยาบาล การวางสายโทรศัพท์ในท่อที่อยู่ใต้ ดินลึก ๆ จะมีปัญหาการขาดอากาศหายใจต้องเตรียมอุปกรณ์ทางานเป็นพิเศษ 17. ความต้องการที่เจ้าของโครงการต้องการจะต้องสามารถวัดได้ และต้องกาหนดวิธีการวัด ให้ชัดเจนด้วย อย่ากาหนดวิธีวัดโดยใช้ความรู้สึกเป็นเกณฑ์เพราะจะเป็นจุดเริ่มต้นของความขัดแย้ง การทะเลาะวิวาท การโต้เถียงที่หาข้อยุติไม่ได้ และจะทาให้เกิดความไม่เป็นธรรมในสัญญาการก่อสร้างได้ ตัวอย่างขั้นตอนในการจัดเตรียมข้อกาหนด การจัดเตรียมข้อกาหนดมีขั้นตอนและวิธีการจัดทา ดังต่อไปนี้ คือ (1) รับทราบรูปแบบของสัญญาการออกแบบโครงการ (2) ศึกษาและรับทราบขอบเขตของงานในโครงการ รวมทั้งศึกษาแบบของโครงการ (3) จัดแบ่งหมวดหมู่ของข้อกาหนด (4) รับทราบความต้องการในหมวดงานทั่วไปของโครงการจากผู้แทนของเจ้าของงาน (5) จัดเตรียมร่างข้อกาหนดของโครงการโดยใช้ข้อมูลของข้อกาหนดจากโครงการต่าง ๆ (6) รวบรวมข้อกาหนดงานพิเศษ อื่น ๆ จากผู้เชี่ยวชาญ (7) จัดเตรียมข้อกาหนดฉบับร่างพร้อมตรวจสอบเบื้องต้น (8) ตรวจทานโดยผู้จัดการโครงการ (9) ทบทวนโดยคณะกรรมการตรวจการจ้าง (10) จัดเตรียมข้อกาหนดฉบับสมบูรณ์ และตรวจทานขั้นสุดท้ายโดยผู้จัดการโครงการ สรุปประเด็นปัญหาที่พบ (1) ความขัดแย้งระหว่างข้อกาหนดและเอกสารประกวดราคาอื่น
  • 56. 2-52 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์ (2) การระบุการจ่ายเงินไม่ชัดเจน ไม่รัดกุม หรือไม่ครอบคลุม (3) การกาหนดรายละเอียดในข้อกาหนดชัดเจนและผูกมัดเกินไป (4) การกาหนดรายละเอียดในข้อกาหนดไม่ชัดเจน (5) ข้อกาหนดไม่ทันสมัย (6) ข้อกาหนดไม่ถูกต้อง (7) ข้อกาหนดไม่ครบถ้วน (8) ขาดผู้เชี่ยวชาญในงานเฉพาะด้าน การจัดเรียงหมวดหมู่ข้อกาหนด (Specifications) โดยใช้ CSI MASTER FORMAT CSI MASTER FORMAT เปนมาตรฐานการจัดเรียงหมวดหมู่ข้อกาหนด (Specifications) ซึ่งเกิดจากการ พัฒนารวมกันระหวาง Construction Specifications Institute (CSI) และ Construction Specifications Canada (CSC) โดยแบงงานกอสรางเปน Division ในครั้งแรกกาหนด 16 Divisions ตอมา ในป ค.ศ. 2004 ไดเพิ่มจานวนเปน 49 Divisions CSI-MASTER LIST OF NUMBERS and TITLES: 2016 PROCUREMENT AND CONTRACTING REQUIREMENTS GROUP Division 00 - Procurement and Contracting Requirements SPECIFICATIONS GROUP GENERAL REQUIREMENTS SUBGROUP Division 01 - General Requirements FACILITY CONSTRUCTION SUBGROUP Division 02 - Existing Conditions Division 03 - Concrete Division 04 - Masonry Division 05 - Metals Division 06 - Woods, Plastics, and Composites Division 07 - Thermal and Moisture Protection Division 08 - Openings Division 09 - Finishes Division 10 - Specialties Division 11 - Equipment Division 12 - Furnishings
  • 57. 2-53 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์ Division 13 - Special Construction Division 14 - Conveying Equipment FACILITY SERVICES SUBGROUP Division 21 - Fire Suppression Division 22 - Plumbing Division 23 - Heating, Ventilating, and Air-Conditioning (HVAC) Division 25 - Integrated Automation Division 26 - Electrical Division 27 - Communications Division 28 - Electronic Safety and Security SITE AND INFRASTRUCTURE SUBGROUP Division 31 - Earthwork Division 32 - Exterior Improvements Division 33 - Utilities Division 34 - Transportation Division 35 - Waterway and Marine Construction PROCESS EQUIPMENT SUBGROUP Division 40 - Process Interconnections Division 41 - Material Processing and Handling Equipment Division 42 - Process Heating, Cooling, and Drying Equipment Division 43 - Process Gas and Liquid Handling, Purification, and Storage Equipment Division 44 - Pollution and Waste Control Equipment Division 45 - Industry-Specific Manufacturing Equipment Division 46 - Water and Wastewater Equipment Division 48 - Electrical Power Generation MasterFormat รุ่นปี ค.ศ. 1995 ก่อนการปรับปรุงในรุ่นปี ค.ศ. 2004 มีทั้งหมด 16 หมวด ดังนี้ 1) หมวด 01 - General Requirements – ข้อกาหนด ความต้องการทั่วไปที่ไม่เกี่ยวกับสิ่งก่อสร้างโดยตรง เช่น การสร้างสานักงาน หรือบ้านพักคนงานชั่วคราว การสร้างรั้วรอบบริเวณสถานที่ก่อสร้าง 2) หมวด 02 - Site Construction - สภาพสถานที่ก่อสร้าง เช่น งานถม งานขุดดิน รื้อถอนสิ่งก่อสร้างเดิม 3) หมวด 03 - Concrete - งานคอนกรีต รวมถึง เสา คาน พื้น ฐานราก และ สิ่งก่อสร้างคอนกรีต
  • 58. 2-54 | คู่มือการจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา สัญญาออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง ฉบับประสบการณ์ 4) หมวด 04 - Masonry - งานวัสดุก่อ รวมถึง งานก่ออิฐ อิฐบล็อก อิฐแก้ว 5) หมวด 05 - Metals – งานโลหะ 6) หมวด 06 - Wood and Plastics – งานไม้และพลาสติก 7) หมวด 07 - Thermal and Moisture Protection – งานฉนวนป้องกันความร้อน และความชื้น 8) หมวด 08 - Doors and Windows – งานประตูและหน้าต่าง 9) หมวด 09 - Finishes – งานผิวสาเร็จ รวมถึง งานผนังยิปซั่มภายใน งานฝ้าเพดาน งานกระเบื้อง วัสดุปูทับ ติดตั้งระบบอะคูสติกกันเสียง และงานทาสี 10) หมวด 10 – Specialties - งานเฉพาะทาง เช่น การติดตั้งพาร์ทิชัน ติดตั้งกระดานดา 11) หมวด 11 - Equipment – อุปกรณ์ เช่น อุปกรณ์กาจัดขยะ 12) หมวด 12 - Furnishings - อุปกรณ์ตกแต่ง เช่น มู่ลี่ ผ้าม่าน เฟอร์นิเจอร์ 13) หมวด 13 - Special Construction - งานก่อสร้างพิเศษ เช่น ห้องซาวน่า สระว่ายน้า 14) หมวด 14 - Conveying Systems - ระบบขนส่งภายในอาคาร เช่น ลิฟท์ บันไดเลื่อน คอนเวเยอร์ 15) หมวด 15 - Mechanical – งานเครื่องกล 16) หมวด 16 - Electrical – งานไฟฟ้า MasterFormat รุ่นปี ค.ศ. 2004 จากความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี ทั้งทางด้านการก่อสร้าง ด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต การใช้ฐานข้อมูล ระบบการประกวดราคาออนไลน์ รวมทั้งการ แลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ CSI จึงได้ทาการปรับปรุงแก้ไข ขยาย เพิ่มเติมรายละเอียดการจัด หมวดหมู่มาตรฐาน ตั้งแต่ เดือน เมษายน ปี ค.ศ. 2001 จนแล้วเสร็จในปี ค.ศ. 2003 และประกาศใช้อย่างเป็น ทางการในปี ค.ศ. 2004 โดยได้จัดแบ่งหมวดหมู่ใหม่ ดังนี้ กลุ่มที่ 1: การจัดซื้อจัดหาและสัญญา หมวด 00 ข้อกาหนด ความต้องการของการจัดจ้างและการทาสัญญาจ้าง (Procurement and Contracting Requirements) กลุ่มที่ 2: ข้อกาหนด ประกอบด้วย กลุ่มย่อย 5 กลุ่ม คือ 1. ข้อกาหนดทั่วไป หมวด 01 ข้อกาหนด ความต้องการทั่วไป (General Requirements) ขอบเขตการแสดงความต้องการที่ถูก เพิ่มขึ้นมาเพื่อช่วยให้สามารถเขียนแสดงความต้องการในแต่ละรายการ ที่มีส่วนคาบเกี่ยวกับหมวดงานอื่น ๆ (เช่น การก่อสร้างพื้นผิว งานด้านโครงสร้าง เป็นต้น) ซึ่งทาให้สามารถผสมผสาน คุณลักษณะจาเพาะได้กว้าง และช่วยให้สามารถกาหนดข้อกาหนดในคู่มือโครงการได้ 2. การก่อสร้างสิ่งอานวยความสะดวก หมวด 02 สภาพสถานที่ก่อสร้างที่เป็นอยู่ (Existing Conditions) โดยหมวดนี้จะจากัดไว้ เฉพาะ ‘สภาพที่มี