SlideShare a Scribd company logo
รายงาน
เรื่อ ง

ปัญ หาการสร้า งเสริม สุข ภาพของประชาชน
ในชุม ชนเมือ ง

เสนอ
อ.ศิร ข วัญ ดวงดาวประกาย
ิ
จัด ทำา โดย
1.
2.
3.
4.
5.

รหัส ประจำา ตัว
47180138
วิท ยาศาสตร์
47180187
วิท ยาศาสตร์
47180278
วิท ยาศาสตร์
47180575
วิท ยาศาสตร์
47180823
วิท ยาศาสตร์

ชื่อ -สกุล
นายทวีฤ ทธิ์
200
นายนัน ทวัฒ น์
200
นายเปี่ย มรัก
200
นายรัช กฤต
200
นายสุร ศัก ดิ์
200

คณะ
มานวกุล

หมู่

คุป ตะเวทิน
จีร ะเดชากุล
ไกรกุล ชูโ ชค
วีร ะเชื้อ
รายงานนี้เ ป็น ส่ว นหนึ่ง ของวิช า สุข ภาพเพื่อ ชีว ิต
999012
ภาคต้น ปีก ารศึก ษา 2550

คำา นำา
รายงานเรื่องปัญหาการสร้างเสริมสุขภาพของประชาชน
ในชุมชนเมือง เป็นรายงานเพื่อศึกษาเกี่ยวกับสุขภาพกาย และ
สุขภาพจิตในด้านต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อประชาชนในเขตเมือง อัน
เนื่องมาจากปัจจุบัน ชีวิตของผู้คนในชุมชนเมือง เป็นชีวิตที่เร่งรีบ มี
การแข่งขันอย่างสูง รวมทั้ง ปัญหาที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะในครอบครัว ที่
ทำางาน หรือ อุบัติภัยต่างๆ ซึ่งทำาให้สุขภาพของประชาชนในเขต
ชุมชนเมืองยำ่าแย่ลงไปทุกวัน โดยรายงานนี้ได้นำาเสนอปัญหาด้าน
ต่างๆ ที่อาจเกิด เพื่อที่ผศึกษาจะได้ ระวัง ป้องกัน ไม่ให้เกิดขึ้น รู้จัก
ุ้
รักษาสุขภาพจิต และ สุขภาพกายไว้ให้ดีตลอดเวลา
คณะผู้จ ัด ทำา

สารบัญ

หัว ข้อ
หน้า
ปัญหาสุขภาพที่สำาคัญของประชากรชุมชนเมือง
1
การสร้างเสริมสุขภาพ
1
การสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่จำาเป็นสำาหรับชีวิตตามแนวทางสุข
บัญญัติแห่งชาติ
2
ปัญหาการดูแลรักษาความสะอาด
3
ปัญหาการรักษาฟันให้แข็งแรง และแปรงฟันทุกวันอย่างถูกต้อง
4
ปัญหาล้างมือให้สะอาดก่อนกินอาหารและหลังการขับถ่าย และการ
ออกกำาลังกาย
4
ปัญหาการรับประทานอาหาร
5
ปัญหา บุหรี่ สุรา สารเสพย์ติด การพนัน และ การสำาส่อนทางเพศ
6
ปัญหาความสัมพันธ์ในครอบครัว
7
ปัญหาอุบัติภัย
8
ปัญหาจิตสำานึกของสังคม
8
ปัญหาด้านจิตใจ
10
ปัญ หาสุข ภาพที่ส ำา คัญ ของประชากรชุม ชนเมือ ง
การวิจัยเรื่อง “สุขภาพและระบบบริการสุขภาพ ประชากร
ชุมชนเมือง กรุงเทพมหานคร”
ผลการศึกษาพบว่าปัญหาสุขภาพ
ที่สำาคัญของประชากรชุมชนเมือง กรุงเทพมหานคร ได้แก่
1. โรคที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินหายใจ
2. กลุ่มโรคไม่ติดต่อ เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด ความดันโลหิต
สูง เบาหวาน มะเร็ง อุบัติเหตุ และความเครียด
3. กลุ่มโรคติดต่อ เช่น โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โรคเอดส์
วัณโรค
4. ปัญหาทางสังคมที่เกี่ยวกับสุขภาพ เช่น ความรุนแรงใน
ครอบครัว การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ การทำาแท้ง
5. ปัญหาที่เกิดจากการมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ เช่น ภาวะทุพ
โภชนา การไม่มีเวลาออกกำาลังกาย การพักผ่อนไม่เพียงพอ การดื่ม
สุรา และการใช้สารเสพติด
เราสามารถแก้ปัญหาเหล่านี้ได้ด้วยการสร้างพฤติกรรมการ
สร้างเสริมสุขภาพให้กับประชาชนในเขตเมือง เพื่อ
การสร้า งเสริม สุข ภาพ
โอ ดอนเนลล์ (O’ Donnell) ได้ให้ความหมายไว้ว่า การสร้าง
เสริมสุขภาพ หมายถึงวิทยาศาสตร์และศิลปะในการช่วยให้
ประชาชนเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตไปสู่สภาวะ (Edelman and
Mandle. 1994 : 16; citing O’ Donnell. 1987. Definition
of Health Promotion)
ครูเตอร์ และดีวอร์ (Kreuter and Devore) ได้ให้ความหมาย
ไว้ว่า การสร้างเสริมสุขภาพ หมายถึง กระบวนการสนับสนุนด้าน
สุขภาพโดยให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ภาคเอกชน และภาครัฐ ร่วม
มือปฏิบัติ เพื่อการมีสุขภาพที่ดี (Edelman and Mandle. 1994 :
16; citing Kreuter and Devore. 1980. Reinforcing of the
Health Promotion.)
สุรเกียรติ อาชานานุภาพ (2541 : 10) ได้ให้ความหมายไว้ว่า
การสร้างเสริมสุขภาพ หมายถึง กระบวนการสร้างเสริมให้ประชาชน
เพิ่มสมรรถนะในการควบคุมและพัฒนาสุขภาพของตนเอง
โดยสรุปการสร้างเสริมสุขภาพ หมายถึง "กระบวนการเพิ่ม
สมรรถนะให้คนมีความสามารถเพิ่มขึ้นในการควบคุมและการสร้าง
เสริมให้สุขภาพของตนเองดีขึ้น ในการที่จะบรรลุสุขภาวะที่สมบูรณ์
ทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคม ปัจเจกบุคคล หรือกลุ่มบุคคลควรที่จะ
ต้องมีความสามารถที่จะบ่งบอกและตระหนักถึงความมุ่งมาด
ปรารถนาของตนเองที่จะสนองความต้องการต่างๆ ของตนเอง และ
สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงหรือปรับตนให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม เรื่อง
สุขภาพจึงถูกมองในลักษณะของความจำาเป็นสำาหรับชีวิตประจำาวัน
มิใช่เป็นเพียงจุดมุ่งหมายของการดำารงชีวิตเท่านั้น สุขภาพเป็นคำาที่
มีความหมายในทางบวก เน้นหนักที่ทรัพยากรบุคคลและสังคม เช่น
เดียวกับสมรรถนะต่างๆ ทางร่างกาย ดังนั้น การสร้างเสริมสุขภาพจึง
มิใช่เป็นความรับผิดชอบขององค์กรในภาคสาธารณสุขเท่านั้น หาก
กินความนอกเหนือจากการมีชีวิตอยู่อย่างมีสุขภาพดีไปสู่เรื่องของสุข
ภาวะโดยรวมอันประกอบด้วย สภาวะทางสังคม สิ่งแวดล้อม และ
เศรษฐกิจ"
การจัดบริการสุขภาพที่ผ่านมามุ่งเน้นด้านการรักษาพยาบาล
เพื่อแก้ปัญหาความเจ็บป่วยความพิการ ซึ่งต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง
เพราะต้องอาศัยวิทยาการและเทคโนโลยีที่มีราคาแพงมากขึ้น ทำาให้
ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว
แต่กลับได้ผลตอบแทนด้านสุขภาพตำ่า
สำาหรับประเทศไทยก็ได้เล็งเห็นความสำาคัญของการสร้าง
เสริมสุขภาพเป็นอย่างยิ่ง ดังเช่นสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวร
ส.) กระทรวงสาธารณสุขได้จัดประชุมใหญ่เรื่องการสร้างเสริมสุข
ภาพเมื่อวันที่ 6 – 8 พฤษภาคม 2541 ในการนี้ได้มีการผลิต
เอกสารเกี่ยวกับสุขภาพจำานวนมาก มีผู้เข้าร่วมประชุมจากหลาย
วิชาชีพ สาระสำาคัญของการประชุม คือ "สุข ภาพไม่ไ ด้ส ร้า งใน
โรงพยาบาล ”
การสร้า งเสริม พฤติก รรมสุข ภาพที่จ ำา เป็น สำา หรับ ชีว ิต
ตามแนวทางสุข บัญ ญัต ิแ ห่ง ชาติ
การมีสุขภาพดีสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ มีชีวิตอยู่ในสังคม
อย่างเป็นสุข เป็นความต้องการจำาเป็นพื้นฐานของชีวิตที่คนเราทุก
คนสามารถแสวงหาได้ การที่เราจะมีสุขภาพที่ดีได้นั้น เราจะต้อง
แสวงหามาด้วยตัวเอง ไม่มีผู้ใดจะปฏิบัติแทนเราได้ ดังนั้น สุข
บัญ ญัต ิ คือ ข้อ กำา หนดที่ป ระชาชนทุก คนควรปฏิบ ัต ิอ ย่า ง
สมำ่า เสมอจนเป็น สุข นิส ัย เพื่อ ให้ม ีส ุข ภาพดีท ั้ง ทางร่า งกาย
จิต ใจ จิต วิญ ญาณ และสัง คม
สุขบัญญัติ 10 ประการ มีดังนี้
1.ดูแลรักษาและของใช้ให้สะอาด
2.รักษาฟันให้แข็งแรง และแปรงฟันทุกวันอย่างถูกต้อง
3.ล้างมือให้สะอาดก่อนกินอาหารและหลังการขับถ่าย
4.กินอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตราย และหลีกเลี่ยง
อาหารรสจัด สีฉูดฉาด
5.งดบุหรี่ สุรา สารเสพย์ติด การพนัน และการสำาส่อนทางเพศ
6.สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัวให้อบอุ่น
7.ป้องกันอุบัติภัยด้วยการไม่ประมาท
8.ออกกำาลังกายสมำ่าเสมอ และตรวจสุขภาพประจำาปี
9.ทำาจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใส่อยู่เสมอ
10.มีสำานึกต่อส่วนรวม รวมสร้างสรรค์สังคม
จากสุขบัญญัติ 10 ประการ ซึ่งเป็นการส่งเสริมสุขภาพ แต่
คนในชุมชนเมืองปัจจุบันมีปัญหาในแต่ละข้อของสุขบัญญัติ 10
ประการดังนี้
ปัญ หาการดูแ ลรัก ษาความสะอาด
ชุมชนเมืองมีประชากรหนาแน่นมากตามความเจริญของเมือง
สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ เช่นอากาศ นำ้า ดิน แสง เสียง สิ่งปฏิกูล
เปลี่ยนแปลงไปขาดความสมดุลตามธรรมชาติเนื่องจากมนุษย์ได้
สร้างตึก โรงงาน ถนน เครื่องจักร เครื่องยนต์ เครื่องมือเครื่องใช้เพื่อ
ประกอบการและอำานวยความสะดวกสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติถูก
ทำาลายด้วยสิ่งที่มนุษย์ได้สร้างขึ้นมาแทน สิ่งแวดล้อมในเมืองจึงเต็ม
ไปด้วยตึก โรงงาน ที่ทำางานด้วยเครื่องจักรมีเสียงดังอึกทึกตลอด
เวลา พ่นหมอกควัน อากาศเต็มไปด้วยฝุ่นละออง กลิ่นเหม็นจากสาร
เคมี ท่อไอเสียจากรถยนต์และเครื่องยนต์สิ่งมีชีวิต พืช สัตว์ อันเป็น
สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพถูกทำาลาย ทำาให้มนุษย์ต้องสูญเสียสิ่งที่ช่วย
สร้างสุขภาพและอนามัยของชุมชนบางส่วนไปและเกิดโทษตามมา
แทนการดำารงชีพของชุมชนในเมืองเปลี่ยนไปพึ่งอุตสาหกรรม เป็น
หลักแทนการเกษตร สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคมทำาให้วิถี
ชีวิตของคนในชุมชนเมือง ต่างพึ่งตนเองต้องแข่งขันในทาง
เศรษฐกิจ ขาดความใกล้ชิดผูกพันกัน สิ่งแวดล้อมในเมืองกำาลังจะ
เต็มไปด้วยสิ่งมีพิษและอันตรายต่อชีวิต

ปัญ หาการรัก ษาฟัน ให้แ ข็ง แรง และแปรงฟัน ทุก วัน อย่า งถูก
ต้อ ง
ปัญ หาล้า งมือ ให้ส ะอาดก่อ นกิน อาหารและหลัง การขับ ถ่า ย
และการออกกำา ลัง กาย

เนื่องจากคนที่อยู่ในชุมชนเมืองเต็มไปด้วยความเร่งรีบ และ
การแข่งขัน จึงทำาให้ละเลยในการรักษาสุขภาพของฟัน เช่น การไป
พบทันตแพทย์ปีละสองครั้ง หรือ การแปรงฟันหลังอาหาร รวมทั้ง
ละเลยในการล้างมือ ก่อนรับประทานอาหาร ละเลยการออกกำาลัง
กาย อีกทั้งในเมืองไม่มีสถานที่ในการออกกำาลังกายที่เหมาะสมและ
เพียงพอต่อความต้องการ
ปัญ หาการรับ ประทานอาหาร
คนที่ใช้ชีวิตอยู่ในเมืองมักประสบปัญหาความเครียด คนที่
เครียดเรื้อรังจะมีปัญหาการรับประทานอาหารได้ 3 รูปแบบกล่าว
คือ
• นำ้ำหนักเกิน เนื่องจำกเมื่อเกิดควำมเครียดผู้ป่วยจะ
รับประทำนอำหำรเค็ม มัน หวำนเพื่อไปต่อสู้กับ
ควำมเครียด และทำำให้เกิดลักษณะอ้วนลงพุง
• นำ้ำนักลดลงเนื่องจำกเบื่ออำหำร
• มีกำรรับประทำนอำหำรผิดปกติ เช่น Anorexia
nervosa and bulimia nervosa
คนที่อำศัยอยู่ในเมืองมักจำำเป็นต้องใช้จ่ำยอย่ำงประหยัด
เนื่องจำกค่ำครองชีพสูงทำำให้ไม่สำมำรถซื้ออำหำรที่มีคุณภำพซึ่งมี
รำคำสูงได้
รวมทั้งค่ำนิยมกำรรับประทำนอำหำรจำำพวก fast food ของ
คนในชุมชนเมือง
ปัญ หำ บุห รี่ สุร ำ สำรเสพย์ต ิด กำรพนัน และกำรสำำ ส่อ นทำง
เพศ

สิ่งแวดล้อมที่ผลักดันให้คนหันไปใช้ยำเสพติดมีทั้งสิ่งแวดล้อม
ทำงกำยภำพและทำงสังคม สิ่งแวดล้อมทำงกำยภำพที่ส่งผลให้มี
ปัญหำยำเสพติดมำกที่สุด ในปัจจุบันคือแหล่งชุมชนแออัดหรือแหล่ง
สลัมที่มีมำกตำมเมืองใหญ่ๆ ซึ่งเป็นผลพวงของกำรพัฒนำประเทศ
ทำำให้ชำวชนบทอพยพเข้ำเมืองใหญ่ที่มีแหล่งงำนเพื่อขำยแรงงำน
ปัญหำของชุมชนแออัดทั้งในเขตกรุงเทพ ปริมณฑลและเขตเมือง
ศูนย์กลำงในภูมิภำค เช่น เชียงใหม่ ขอนแก่น นครรำชสีมำ
นครศรีธรรมรำช สงขลำ ฯลฯ มีลักษณะคล้ำยกัน คือปัญหำกำร
ขำดแคลนสำธำรณูปโภคจำกรัฐทั้งไฟฟ้ำ ประปำ กำรระบำยนำ้ำ โดย
มีสำเหตุสำำคัญจำกกำรที่บ้ำนในชุมชนแออัดไม่มีทะเบียนบ้ำน จึงไม่
สำมำรถขอบริกำรจำกรัฐได้ นอกจำกนั้นยังมีปัญหำสิ่งแวดล้อมทำง
สังคม ที่นำำไปสู่กำรใช้ยำเสพติด ของเด็กและเยำวชนทั้งที่อยู่ใน
แหล่งเสื่อมโทรมหรือแหล่งอื่น ๆ ได้แก่ ปัญหำทำงเศรษฐกิจที่
ครอบครัวมีรำยได้ไม่เพียงพอกับรำยจ่ำย เพรำะไม่มีควำมมั่นคงทำง
อำชีพ เป็นแรงงำนนอกระบบไม่มีกฎหมำยคุ้มครอง ปัญหำ
สำธำรณสุข สุขภำพอนำมัยเสื่อมโทรม อันเป็นผลมำจำกสิ่งแวดล้อม
ที่เป็นมลพิษในชุมชน ปัญหำกำรติดเชื้อโรคเอดส์ ปัญหำสังคมอื่น ๆ
ปัญหำควำมแตกแยกในครอบครัว ปัญหำกำรค้ำประเวณี และปัญหำ
แหล่งอบำยมุข ประเภทต่ำง ๆ ที่มอยู่ ปัญหำเหล่ำนี้ล้วนเป็นสิ่ง
ี
แวดล้อมทำงสังคม ที่มีส่วนในกำรผลักดันเด็กและเยำวชนหันเข้ำหำ
ยำเสพติดทั้งสิ้น

ปัญ หำควำมสัม พัน ธ์ใ นครอบครัว

ครอบครัว เป็นหน่วยสังคมที่เล็กที่สุด และเป็นสังคมแห่งแรกที่
เด็กที่เกิดมำจะได้รับควำมรักควำมอบอุ่นจำกสมำชิกในครอบครัว
บำงครอบครัวมีสมำชิกเพียง 2 คน คืออยู่เฉพำะสำมี ภรรยำ (ถ้ำไม่มี
บุตร) บำงครอบครัวมีสมำชิกตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป คือ มีบุตรอยู่ร่วม
ด้วยเรียกว่ำ ครอบครัวเดี่ยว และบำงครอบครัวมีสมำชิกอยู่รวมกัน
หลำยครอบครัวในบ้ำนหลังเดียวกัน ประกอบด้วย ปู่ ย่ำ ตำ ยำย
และญำติพี่น้อง เรียกว่ำ “ครอบครัวขยำย”
ปัจจุบัน คู่สมรสในเมืองที่แต่งงำนใหม่ นิยมที่จะแยกอยู่ลำำพัง
เป็นครอบครัวเดี่ยว มีอิสระ ไม่ต้องเป็นที่เพ่งเล็งของญำติผู้ใหญ่ และ
คิดว่ำสำมำรถจะประคองชีวิตครอบครัวของตัวเองให้ประสบควำม
สำำเร็จได้ เมื่อมีลูกก็คิดว่ำจะเลี้ยงด้วยตัวเอง เลี้ยงแบบสมัยใหม่ ใน
ขณะที่คู่สมรสบำงคู่ยังอยู่ในครอบครัวเดิมที่อบอุ่น มี ปู่ ย่ำ ตำ ยำย
ช่วยดูแลหลำน ๆ มีควำมเข้ำใจกัน ในครอบครัวก็มี จำก
ประสบกำรณ์ในกำรทำำงำนที่แผนกผู้ป่วยนอก ศูนย์สุขวิทยำจิต พบ
ว่ำ เด็กที่มีปัญหำทำงอำรมณ์มำจำกครอบครัวเดี่ยว และครอบครัว
ขยำย ในจำำนวนใกล้เคียงกัน แต่เมื่อศึกษำถึงสำเหตุของปัญหำเนื่อง
มำจำกกำรสื่อสำรในครอบครัวเป็นสำำคัญโดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำร
สื่อสำรที่แสดงถึงกำรตำำหนิติเตียน ควำมไม่พอใจ ซึ่งเป็นทำงลบ
มำกกว่ำกำรแสดงออกทำงบวก
นอกจำกนี้ จำกกำรวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมำยเพื่อศึกษำปัญหำและวิธี
กำรแก้ปัญหำของนักเรียนประถมศึกษำปีที่ 5 และ 6 โรงเรียนใน
กรุงเทพมหำนคร โดย อ.วชิรำภรณ์ ชุมพล พบว่ำ นักเรียนประสบ
ปัญหำดังนี้ เรียงตำมลำำดับจำกมำกไปน้อย ด้ำนอำรมณ์ ด้ำนกำร
เรียน ด้ำนสุขภำพ ด้ำ นควำมสัม พัน ธ์ใ นครอบครัว ด้ำนกำรคบ
เพื่อน ด้ำนกำรใช้เวลำว่ำงและกำรพักผ่อน ซึ่งแสดงให้เห็นว่ำชุมชน
เมืองมีปัญหำควำมสัมพันธ์ในครอบครัวแม้แต่ในเด็กประถม
ซึ่งกำรไม่มีเวลำให้แก่กันของสมำชิกในครอบครัวนั้นเป็น
สำเหตุหนึ่ง ในชุมชนเมืองกำรแข่งขันเร่งรีบเป็นตัวลดเวลำในกำร
พบกันของสมำชิกในครอบครัว
ปัญ หำอุบ ัต ิภ ัย
ในสังคมเมืองนั้นเกิดอุบัติภัยมำกมำยหลำยรูปแบบ สำำหรับใน
ชุมชนเมืองอุบัติภัยที่พบมักเป็นอุบัติภัยตำมท้องถนน ซึ่งทำำให้เกิด
ควำมสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินเป็นจำำนวนมำก
ซึ่งอำจมีสำเหตุมำจำก
1.ควำมประมำท
2.กำรดื่มสุรำ
3. จำำนวนผู้ต้องกำรเดินทำงในเมืองมีมำกขึ้น
4.ควำมขัดข้องของยำนพำหนะ เป็นต้น
ปัญ หำจิต สำำ นึก ของสัง คม
เมื่อยุคสมัยได้เปลี่ยนแปลงผ่ำนมำเป็นสังคมทุนนิยม
อุตสำหกรรม กำรสื่อสำรก็มีรูปแบบเป็นกำรสื่อสำรทำงไกล เช่น
โทรศัพท์ จดหมำย ฯลฯ และเป็นไปในลักษณะมวลชนที่เป็นกำร
สื่อสำรทำงเดียวมำกขึ้น นั่นคือสื่อมวลชนที่เป็น หนังสือพิมพ์ วิทยุ
โทรทัศน์ ทั้งนี้แม้จะมีกำรสื่อสำรแบบ Face to Face อยู่ แต่เนื่องจำก
สถำนภำพทำงสังคมของแต่ละบุคคล ที่มีอำณำบริเวณอยู่อำศัยที่
กว้ำงขึ้น มีหน้ำที่ที่ต้องมีกำรเคลื่อนย้ำยตลอดเวลำ ทำำให้กำรสื่อสำร
แบบ Face to Face กับบุคคลอื่นในแต่ละแห่งมักอยู่ในช่วงเวลำสั้นๆ
และเกี่ยวข้องกับบุคคลในวงแคบๆ เมื่อรวมกับสถำนภำพควำม
สัมพันธ์ที่มีกำรเปลี่ยนแปลงกลุ่มบุคคลแวดล้อมอยู่ตลอดเวลำ (อัน
เนื่องมำจำกกำรเคลื่อนย้ำย) ทำำให้ควำมสัมพันธ์ที่เหนียวแน่นใน
ลักษณะชุมชนท้องถิ่นลดลง
ในขณะที่วิถีชีวิตประจำำวันของบุคคลโดยทั่วไปก็เปลี่ยนไป
มีควำมเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสถำบันหรือองค์กรมำกขึ้นอย่ำงแยกไม่
ออก เรำต้องเรียนหนังสือในโรงเรียน เรำต้องทำำงำนในองค์กรไม่
ทำงรำชกำรก็เอกชน เรำจะได้อะไรหรือเสียอะไรก็ต้องติดต่อกับ
องค์กรที่เกี่ยวข้อง ทำำให้กำรสื่อสำรที่เรำมีต่อผู้อื่น มักอยู่ในรูปของ
เรำกับองค์กร อย่ำงเช่นถ้ำหำกเรำไปถอนเงินจำกธนำคำร แม้เรำจะ
ติดต่อสื่อสำรกับพนักงำน แต่โดยสภำพจริงที่เกิดขึ้นก็คือเป็นกำร
ติดต่อสื่อสำรระหว่ำงเรำกับธนำคำร หรือถ้ำหำกเรำทำำงำนธนำคำร
คนที่ติดต่อกับเรำก็ติดต่อสื่อสำรกับเรำในฐำนะของคนนั้นกับ
ธนำคำร หรือองค์กรที่บุคคลนั้นสังกัดอยู่กับธนำคำร สรุปก็คือกำร
สื่อสำรถึงกันในฐำนะระหว่ำงมนุษย์กับมนุษย์มีน้อยลง แต่มีกำร
สื่อสำรกันระหว่ำงมนุษย์กับองค์กร หรือองค์กรกับองค์กรมำก
ขึ้น(ไพบูลย์ ช่ำงเรียน, 2527) และมีผลต่อกำรดำำรงอยู่ของ "จิตสำำนึก
ของสังคม" ที่อยู่ในรูปขององค์กรมำกขึ้น เช่น กำรรักษำควำมสะอำด
เป็นหน้ำที่ของเทศบำล กำรพัฒนำบ้ำนเมืองเป็นหน้ำที่ของสมำชิก
สภำผู้แทนรำษฎร ที่เรำมีส่วนร่วมแค่เฉพำะกำรเลือกตั้ง เป็นต้น
ลักษณะสังคมแบบนี้ ทำำให้เกิดปัญหำของสังคมในวงกว้ำง
ทั้งนี้เนื่องจำกต่ำงคนต่ำงอยู่ในลักษณะ "ธุระไม่ใช่" ดังที่เป็นข้อ
สังเกตของศ.นพ.ประเวศ วะสี (2541: 16-17)ในขณะที่ปัญหำต่ำงๆ
ของสังคมที่เรำยกให้องค์กรทำงสังคมเป็นคนจัดกำรมีจำำนวนมำก
และซับซ้อนเกินกว่ำระบบจะรับไหว เกิดเป็นปัญหำเรื้อรังอยู่เป็น
จำำนวนมำก เป็นควำมเสื่อมโทรมของสังคมที่เกิดขึ้นตำมพัฒนำกำร
ของสังคมแบบ "ธุระไม่ใช่" นี้ โดยตัวชี้วัดปัญหำนี้สังเกตได้จำกกำร
รณรงค์เรียกร้องต่อภำคประชำชนให้มีส่วนร่วมในกำรแก้ปัญหำมี
มำกขึ้นและถี่ขึ้นเรื่อยๆ ในช่วงปัจจุบัน ทั้งปัญหำสิ่งแวดล้อม ปัญหำ
ยำเสพติดและอำชญำกรรม ปัญหำโรคเอดส์และสุขภำพพลำนำมัย
ฯลฯ โดยส่วนใหญ่เป็นในรูปของกำรรณรงค์ให้เกิด "จิตสำำนึกต่อ
สังคม" อันเป็นจิตสำำนึกประจำำตัวของแต่ละคนที่สำมำรถมีผลใน
ระดับสังคม เป็นตัวยืนยันว่ำสังคมมีปัญหำในระดับ "จิตสำำนึกของ
สังคม" อันเนื่องมำจำกกำรดำำรงชีวิตแบบ "ธุระไม่ใช่" และกำร
เคลื่อนย้ำยสถำนภำพจิตสำำนึกของสังคม จำกเดิมที่เป็นคุณสมบัติ
ประจำำตัวของสมำชิกแต่ละบุคคล ไปเป็นหน้ำที่ขององค์กรหรือ
สถำบันที่เกี่ยวข้องอย่ำงที่ได้กล่ำวไว้แล้วนั่นเอง
จิตสำำนึกสำธำรณะประกอบด้วยควำมหมำยของคำำสองคำำเข้ำ
ด้วยกันนั่นคือคำำว่ำ "จิตสำำนึก" และ "สำธำรณะ" โดยจิตสำำนึกเป็น
เรื่องของ Mind หรือ Spirit ส่วนสำธำรณะนั้นเป็นเรื่องของส่วนรวมที่
ทุกคนมีควำมรู้สึกเป็นเจ้ำของร่วมกัน มีสิทธิในกำรใช้และมีหน้ำที่
บำำรุงรักษำร่วมกัน โดยลักษณะของสำธำรณะนั้นมี 3 ลักษณะด้วยกัน
คือ พื้นที่สำธำรณะ, โครงสร้ำงสำธำรณะ (เช่น กฏหมำย, ระบบ
โทรคมนำคม, สื่อมวลชน ฯลฯ), และกระบวนกำรสำธำรณะ (เช่น
ประชำพิจำรณ์ เป็นต้น) (ชัยวัฒน์ ถิระพันธ์, 2540)
ในอีกควำมหมำยหนึ่ง จิตสำำนึกสำธำรณะก็คือจิตสำำนึกของ
สังคม (Social Consciousness) ที่ถ่ำยทอดสืบต่อกันมำตรำบเท่ำที่ยังมี
กำรดำำรงอยู่ของสังคม (Social Being) (กำญจนำ แก้วเทพ, 2539)
ท่ำมกลำงกระแสเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมำจำกกำรปฏิวัติ
อุตสำหกรรมดังที่ได้กล่ำวไว้ตั้งแต่ต้น ควำมก้ำวหน้ำของ
อุตสำหกรรม ที่มำควบคู่กับกำรเจริญทำงเทคโนโลยีและกำรเจริญ
เติบโตของเมือง ทำำให้วิถีชีวิตในแบบชุมชนดั้งเดิมถูกผลกระทบไป
ด้วย ทั้งเรื่องวิถีชีวิตและกำรอพยพเคลื่อนย้ำยแรงงำน (Baldridge,
V. J., 1975: 370-407)
กำรเปลี่ยนแปลงของสังคมดังกล่ำว ย่อมกระทบถึงกำรดำำรง
อยู่ของสังคมในรูปแบบเดิมๆ และกระทบถึงจิตสำำนึกของสังคมด้วย
ก่อให้เกิดปัญหำเรื่องจิตสำำนึกสำธำรณะจำกวัฒนธรรมปัจเจกชน
ปัญ หำด้ำ นจิต ใจ
สำเหตุควำมเครียดในชุมชนเมือง จำก
สภำวะแวดล้อมในเมือง ทำำให้เกิด
ควำมเครียดได้ในลักษณะที่เรียกว่ำ
“ร่ำงกำยเครียด” จำกกำรที่ร่ำงกำยกับจิตใจ
มีควำมเกี่ยวข้องกัน แยกจำกกันไม่ได้ กำร
เกิดควำมเครียดทำงร่ำงกำยย่อมส่งผลให้
จิตใจเครียดตำมด้วย ซึ่งปัจจัยทำงร่ำงกำยที่
ก่อให้เกิดควำมเครียด ได้แก่
ควำมเหนื่อยล้ำทำงร่ำงกำย ใน
ชุมชนเมืองนั้นชีวิตที่เร่งรีบและกำรแข่งขัน
ทำำให้เกิดกำรทำำงำนอย่ำงหนัก และติดต่อกันเป็นเวลำนำน ซึ่งจะมี
ควำมเกี่ยวเนื่องมำจำกสภำพควำมสมบูรณ์แข็งแรงของร่ำงกำยที่จะ
ทำำให้แต่ละคนมีควำมพร้อมในกำรทำำกิจกรรมในชีวิตประจำำวันแตก
ต่ำงกัน
ภำวะโภชนำกำรได้แก่ ลักษณะนิสัยกำรรับประทำนอำหำร
ที่จะมีผลต่อควำมสมบูรณ์แข็งแรงของร่ำงกำย กำรรับประทำน
อำหำรไม่ถูกส่วน ไม่ถูกสุขลักษณะ กำรรับประทำนอำหำรไม่เพียง
พอหรือมำกเกินไป ซึ่งเกิดจำกชีวิตที่เร่งรีบในชุมชนเมือง กำรใช้
หรืออำกำรบริโภคสำรบำงประเภท อำทิ สุรำ บุหรี่ ชำ กำแฟ ตลอด
จนสำรเสพติดต่ำงๆ เหล่ำนี้ ล้วนทำำให้เกิดควำมเครียดได้
กำรพักผ่อนไม่เพียงพอ ทำำให้ร่ำงกำยอยู่ในภำวะอ่อนเพลีย
ติดต่อกันเป็นเวลำนำน
กำรเจ็บป่วยทำงร่ำงกำย ทั้งกำรเจ็บป่วยแบบเฉียบพลัน เช่น
กำรมีไข้สูง อุบัติเหตุ หรือกำรเจ็บป่วยเรื้อรังต่ำงๆ เช่น โรคเบำหวำน
มะเร็ง ควำมดันโลหิตสูง เป็นต้น
ลักษณะท่ำทำงที่ปรำกฏเกี่ยวกับโครงสร้ำงของกล้ำมเนื้อ
ผิวหนังและกำรทรงตัว เช่น กำรเดินยืน วิ่ง นั่น นอน หำกอยู่ใน
ลักษณะที่ไม่เหมำะสมย่อมก่อนให้เกิดควำมเครียดได้
เอกสำรอ้ำ งอิง
http://www.chula.ac.th/chula/th/news/news210849.ht
ml
http://www.thairunning.com/goodhealth_by_exercise.
htm
http://www.swu.ac.th/royal/book6/b6c3t1.html
http://202.143.141.162/web_offline/srp/061955210.
html
http://www.siamhealth.net/Disease/neuro/psy/stress/
health_effect.htm
http://prathom.swu.ac.th/satit/vijai/Newvijai14/two/v
achilapron01.htm
http://www.thaitopic.net/data/views.php?recordID=49
รำยงำนกำรทำำงำนของสมำชิกในกลุ่มแต่ละคน และประโยชน์ที่ได้
รับจำกกำรทำำรำยงำนกลุ่ม คนละไม่เกิน 1 หน้ำกระดำษ
ปัญหำกำรรับประทำนอำหำร
5
ปัญหำ บุหรี่ สุรำ สำรเสพย์ติด กำรพนัน และ กำรสำำส่อนทำงเพศ
6
นำยทวีฤ ทธิ์ มำนวกุล 47180138
ทำำหัวข้อ “ปัญหำกำรรับประทำนอำหำร” และ หัวข้อ “ปัญหำบุหรี่
สุรำ สำรเสพย์ติด กำรพนัน และ กำรสำำส่อนทำงเพศ”
ได้รับประโยชน์ในกำรทำำงำนคือ จำกหัวข้อที่รับมอบหมำยมำ
ได้ใช้เวลำในกำรค้นหำและเลือกข้อมูลที่เหมำะสม นำำมำเรียบเรียง
เป็นรำยงำน นอกจำกนี้เมื่อนำำรำยงำนของแต่ละคนที่ได้เรียบเรียง
แล้วมำอ่ำนทำำควำมเข้ำใจ ทำำให้ได้ควำมรู้เพิ่มเติมขึ้นอีกมำก ซึ่ง
ช่วยให้เข้ำใจถึงปัญหำควำมเครียดของประชำชนในชุมชนเมือง ซึ่ง
จะได้ใช้ควำมรู้ที่ได้เรียนมำป้องกันปัญหำต่ำงๆ รวมทั้งควำมเครียด
เพื่อสุขภำพกำย และ สุขภำพจิตที่ดี
ในส่วนของกำรทำำงำนกลุ่มได้ประโยชน์คือ ได้รู้จักกำรทำำงำน
ร่วมกับผู้อื่น และเมื่อมีปัญหำต่ำงๆ ก็ได้ปรึกษำเพื่อนร่วมงำน และยิ่ง
ไปกว่ำนั้น กำรได้รับควำมคิดเห็นของผู้อื่น ทำำให้แนวคิดนั้นเปิด
กว้ำงขึ้น ไม่ติดอยู่กับควำมคิดของตนเอง ได้รู้จักมุมมองใหม่ๆ ของ
เพื่อนร่วมงำน ช่วยให้รู้จักคิดในอีกทำงหนึ่ง ซึ่งเป็นควำมคิดที่ช่วย
เปิดโลกทัศน์ให้แก่ตนเอง นำำไปสู่กำรพัฒนำควำมรู้ใหม่ๆ ซึ่งอำจ
เป็นประโยชน์แก่ประเทศชำติต่อไปในอนำคต

More Related Content

What's hot

รับ สสจ14ธค54
รับ สสจ14ธค54รับ สสจ14ธค54
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
softganz
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยTanawat Sudsuk
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
ธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพ
Chuchai Sornchumni
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
nhs0
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copyWatcharin Chongkonsatit
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
Gob Chantaramanee
 
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59 นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
Nakhonratchasima Provincial of public health office
 
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
Surasak Tumthong
 
DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม
Dr.Suradet Chawadet
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขโปรตอน บรรณารักษ์
 
พฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมสุขภาพFon Pimnapa
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วนแนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical practice guideline for using cannabis oil
Clinical practice guideline for using cannabis oilClinical practice guideline for using cannabis oil
Clinical practice guideline for using cannabis oil
Vorawut Wongumpornpinit
 
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพSaowaluck Sangkoomphai
 
การทำแผนของ Cup ปี 2559
การทำแผนของ Cup ปี 2559การทำแผนของ Cup ปี 2559
การทำแผนของ Cup ปี 2559
Nakhonratchasima Provincial of public health office
 

What's hot (19)

รับ สสจ14ธค54
รับ สสจ14ธค54รับ สสจ14ธค54
รับ สสจ14ธค54
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ
 
ธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพ
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
 
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59 นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
 
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
 
DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
 
พฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมสุขภาพ
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
 
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วนแนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
 
Clinical practice guideline for using cannabis oil
Clinical practice guideline for using cannabis oilClinical practice guideline for using cannabis oil
Clinical practice guideline for using cannabis oil
 
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
 
การทำแผนของ Cup ปี 2559
การทำแผนของ Cup ปี 2559การทำแผนของ Cup ปี 2559
การทำแผนของ Cup ปี 2559
 

Viewers also liked

Doc
DocDoc
My educational technology.
My educational technology.My educational technology.
My educational technology.
elaineeee
 
Олень - мой друг
Олень - мой другОлень - мой друг
Олень - мой другWhitedeer
 
Презентация "Олень - мой друг"
Презентация "Олень - мой друг"Презентация "Олень - мой друг"
Презентация "Олень - мой друг"
Whitedeer
 
TESTE APP
TESTE APPTESTE APP
TESTE APP
Jailson Moura
 
Brand Personality
Brand PersonalityBrand Personality
Brand Personality
Ayush Singhal
 
Cicatih mini hydro site visit report
Cicatih mini hydro site visit report Cicatih mini hydro site visit report
Cicatih mini hydro site visit report
Dato Mat Isa
 
Nutrition of Children (Turkish Ministry of Health)
Nutrition of Children (Turkish Ministry of Health) Nutrition of Children (Turkish Ministry of Health)
Nutrition of Children (Turkish Ministry of Health)
Hande Ilalan
 
calcaneal fractures by dr.waleed maher ali - minia university 2011
calcaneal fractures   by  dr.waleed maher ali - minia university 2011calcaneal fractures   by  dr.waleed maher ali - minia university 2011
calcaneal fractures by dr.waleed maher ali - minia university 2011
Waleed Ali
 
MS Visio 2010 workaround
MS Visio 2010 workaroundMS Visio 2010 workaround
MS Visio 2010 workaround
Chandan Raj
 

Viewers also liked (10)

Doc
DocDoc
Doc
 
My educational technology.
My educational technology.My educational technology.
My educational technology.
 
Олень - мой друг
Олень - мой другОлень - мой друг
Олень - мой друг
 
Презентация "Олень - мой друг"
Презентация "Олень - мой друг"Презентация "Олень - мой друг"
Презентация "Олень - мой друг"
 
TESTE APP
TESTE APPTESTE APP
TESTE APP
 
Brand Personality
Brand PersonalityBrand Personality
Brand Personality
 
Cicatih mini hydro site visit report
Cicatih mini hydro site visit report Cicatih mini hydro site visit report
Cicatih mini hydro site visit report
 
Nutrition of Children (Turkish Ministry of Health)
Nutrition of Children (Turkish Ministry of Health) Nutrition of Children (Turkish Ministry of Health)
Nutrition of Children (Turkish Ministry of Health)
 
calcaneal fractures by dr.waleed maher ali - minia university 2011
calcaneal fractures   by  dr.waleed maher ali - minia university 2011calcaneal fractures   by  dr.waleed maher ali - minia university 2011
calcaneal fractures by dr.waleed maher ali - minia university 2011
 
MS Visio 2010 workaround
MS Visio 2010 workaroundMS Visio 2010 workaround
MS Visio 2010 workaround
 

Similar to ข้อสอบ o-net 49

คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขคู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
Vorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.
Utai Sukviwatsirikul
 
อาหารสุขภาพ 5
อาหารสุขภาพ 5อาหารสุขภาพ 5
อาหารสุขภาพ 5Utai Sukviwatsirikul
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
Chuchai Sornchumni
 
Being healthy and happy life would designed by yourself
Being healthy and happy life would designed by yourselfBeing healthy and happy life would designed by yourself
Being healthy and happy life would designed by yourself
jitisakpoon
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตแผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
tassanee chaicharoen
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
Phet103
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Vida Yosita
 
อ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนอ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนNooa Love
 
Elderly survey doh
Elderly survey dohElderly survey doh
Elderly survey doh
Chuchai Sornchumni
 
Foods and common musculokeletal problems
Foods and common musculokeletal problemsFoods and common musculokeletal problems
Foods and common musculokeletal problems
Thira Woratanarat
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
Utai Sukviwatsirikul
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
School of Allied Health Science of NPU
 
ใบความรู้+วิเคราะห์สารที่จำเป็นต่อร่างกาย+ป.6+291+dltvscip6+54sc p06 f26-1page
 ใบความรู้+วิเคราะห์สารที่จำเป็นต่อร่างกาย+ป.6+291+dltvscip6+54sc p06 f26-1page ใบความรู้+วิเคราะห์สารที่จำเป็นต่อร่างกาย+ป.6+291+dltvscip6+54sc p06 f26-1page
ใบความรู้+วิเคราะห์สารที่จำเป็นต่อร่างกาย+ป.6+291+dltvscip6+54sc p06 f26-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+วิเคราะห์สารที่จำเป็นต่อร่างกาย+ป.6+291+dltvscip6+54sc p06 f26-4page
 ใบความรู้+วิเคราะห์สารที่จำเป็นต่อร่างกาย+ป.6+291+dltvscip6+54sc p06 f26-4page ใบความรู้+วิเคราะห์สารที่จำเป็นต่อร่างกาย+ป.6+291+dltvscip6+54sc p06 f26-4page
ใบความรู้+วิเคราะห์สารที่จำเป็นต่อร่างกาย+ป.6+291+dltvscip6+54sc p06 f26-4page
Prachoom Rangkasikorn
 

Similar to ข้อสอบ o-net 49 (20)

คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขคู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
 
คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
อาหารสุขภาพ 5
อาหารสุขภาพ 5อาหารสุขภาพ 5
อาหารสุขภาพ 5
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
 
Being healthy and happy life would designed by yourself
Being healthy and happy life would designed by yourselfBeing healthy and happy life would designed by yourself
Being healthy and happy life would designed by yourself
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตแผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลายสุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
อ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนอ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อน
 
Elderly survey doh
Elderly survey dohElderly survey doh
Elderly survey doh
 
แพทยสภาต่างประเทศ
แพทยสภาต่างประเทศ แพทยสภาต่างประเทศ
แพทยสภาต่างประเทศ
 
Foods and common musculokeletal problems
Foods and common musculokeletal problemsFoods and common musculokeletal problems
Foods and common musculokeletal problems
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
ใบความรู้+วิเคราะห์สารที่จำเป็นต่อร่างกาย+ป.6+291+dltvscip6+54sc p06 f26-1page
 ใบความรู้+วิเคราะห์สารที่จำเป็นต่อร่างกาย+ป.6+291+dltvscip6+54sc p06 f26-1page ใบความรู้+วิเคราะห์สารที่จำเป็นต่อร่างกาย+ป.6+291+dltvscip6+54sc p06 f26-1page
ใบความรู้+วิเคราะห์สารที่จำเป็นต่อร่างกาย+ป.6+291+dltvscip6+54sc p06 f26-1page
 
ใบความรู้+วิเคราะห์สารที่จำเป็นต่อร่างกาย+ป.6+291+dltvscip6+54sc p06 f26-4page
 ใบความรู้+วิเคราะห์สารที่จำเป็นต่อร่างกาย+ป.6+291+dltvscip6+54sc p06 f26-4page ใบความรู้+วิเคราะห์สารที่จำเป็นต่อร่างกาย+ป.6+291+dltvscip6+54sc p06 f26-4page
ใบความรู้+วิเคราะห์สารที่จำเป็นต่อร่างกาย+ป.6+291+dltvscip6+54sc p06 f26-4page
 
สุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาสุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษา
 

ข้อสอบ o-net 49

  • 1. รายงาน เรื่อ ง ปัญ หาการสร้า งเสริม สุข ภาพของประชาชน ในชุม ชนเมือ ง เสนอ อ.ศิร ข วัญ ดวงดาวประกาย ิ จัด ทำา โดย 1. 2. 3. 4. 5. รหัส ประจำา ตัว 47180138 วิท ยาศาสตร์ 47180187 วิท ยาศาสตร์ 47180278 วิท ยาศาสตร์ 47180575 วิท ยาศาสตร์ 47180823 วิท ยาศาสตร์ ชื่อ -สกุล นายทวีฤ ทธิ์ 200 นายนัน ทวัฒ น์ 200 นายเปี่ย มรัก 200 นายรัช กฤต 200 นายสุร ศัก ดิ์ 200 คณะ มานวกุล หมู่ คุป ตะเวทิน จีร ะเดชากุล ไกรกุล ชูโ ชค วีร ะเชื้อ
  • 2. รายงานนี้เ ป็น ส่ว นหนึ่ง ของวิช า สุข ภาพเพื่อ ชีว ิต 999012 ภาคต้น ปีก ารศึก ษา 2550 คำา นำา รายงานเรื่องปัญหาการสร้างเสริมสุขภาพของประชาชน ในชุมชนเมือง เป็นรายงานเพื่อศึกษาเกี่ยวกับสุขภาพกาย และ สุขภาพจิตในด้านต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อประชาชนในเขตเมือง อัน เนื่องมาจากปัจจุบัน ชีวิตของผู้คนในชุมชนเมือง เป็นชีวิตที่เร่งรีบ มี
  • 3. การแข่งขันอย่างสูง รวมทั้ง ปัญหาที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะในครอบครัว ที่ ทำางาน หรือ อุบัติภัยต่างๆ ซึ่งทำาให้สุขภาพของประชาชนในเขต ชุมชนเมืองยำ่าแย่ลงไปทุกวัน โดยรายงานนี้ได้นำาเสนอปัญหาด้าน ต่างๆ ที่อาจเกิด เพื่อที่ผศึกษาจะได้ ระวัง ป้องกัน ไม่ให้เกิดขึ้น รู้จัก ุ้ รักษาสุขภาพจิต และ สุขภาพกายไว้ให้ดีตลอดเวลา คณะผู้จ ัด ทำา สารบัญ หัว ข้อ หน้า ปัญหาสุขภาพที่สำาคัญของประชากรชุมชนเมือง 1 การสร้างเสริมสุขภาพ 1 การสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่จำาเป็นสำาหรับชีวิตตามแนวทางสุข บัญญัติแห่งชาติ 2
  • 4. ปัญหาการดูแลรักษาความสะอาด 3 ปัญหาการรักษาฟันให้แข็งแรง และแปรงฟันทุกวันอย่างถูกต้อง 4 ปัญหาล้างมือให้สะอาดก่อนกินอาหารและหลังการขับถ่าย และการ ออกกำาลังกาย 4 ปัญหาการรับประทานอาหาร 5 ปัญหา บุหรี่ สุรา สารเสพย์ติด การพนัน และ การสำาส่อนทางเพศ 6 ปัญหาความสัมพันธ์ในครอบครัว 7 ปัญหาอุบัติภัย 8 ปัญหาจิตสำานึกของสังคม 8 ปัญหาด้านจิตใจ 10
  • 5. ปัญ หาสุข ภาพที่ส ำา คัญ ของประชากรชุม ชนเมือ ง การวิจัยเรื่อง “สุขภาพและระบบบริการสุขภาพ ประชากร ชุมชนเมือง กรุงเทพมหานคร” ผลการศึกษาพบว่าปัญหาสุขภาพ ที่สำาคัญของประชากรชุมชนเมือง กรุงเทพมหานคร ได้แก่ 1. โรคที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินหายใจ 2. กลุ่มโรคไม่ติดต่อ เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด ความดันโลหิต สูง เบาหวาน มะเร็ง อุบัติเหตุ และความเครียด 3. กลุ่มโรคติดต่อ เช่น โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โรคเอดส์ วัณโรค 4. ปัญหาทางสังคมที่เกี่ยวกับสุขภาพ เช่น ความรุนแรงใน ครอบครัว การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ การทำาแท้ง 5. ปัญหาที่เกิดจากการมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ เช่น ภาวะทุพ โภชนา การไม่มีเวลาออกกำาลังกาย การพักผ่อนไม่เพียงพอ การดื่ม สุรา และการใช้สารเสพติด เราสามารถแก้ปัญหาเหล่านี้ได้ด้วยการสร้างพฤติกรรมการ สร้างเสริมสุขภาพให้กับประชาชนในเขตเมือง เพื่อ การสร้า งเสริม สุข ภาพ โอ ดอนเนลล์ (O’ Donnell) ได้ให้ความหมายไว้ว่า การสร้าง เสริมสุขภาพ หมายถึงวิทยาศาสตร์และศิลปะในการช่วยให้ ประชาชนเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตไปสู่สภาวะ (Edelman and Mandle. 1994 : 16; citing O’ Donnell. 1987. Definition of Health Promotion) ครูเตอร์ และดีวอร์ (Kreuter and Devore) ได้ให้ความหมาย ไว้ว่า การสร้างเสริมสุขภาพ หมายถึง กระบวนการสนับสนุนด้าน สุขภาพโดยให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ภาคเอกชน และภาครัฐ ร่วม มือปฏิบัติ เพื่อการมีสุขภาพที่ดี (Edelman and Mandle. 1994 : 16; citing Kreuter and Devore. 1980. Reinforcing of the Health Promotion.)
  • 6. สุรเกียรติ อาชานานุภาพ (2541 : 10) ได้ให้ความหมายไว้ว่า การสร้างเสริมสุขภาพ หมายถึง กระบวนการสร้างเสริมให้ประชาชน เพิ่มสมรรถนะในการควบคุมและพัฒนาสุขภาพของตนเอง โดยสรุปการสร้างเสริมสุขภาพ หมายถึง "กระบวนการเพิ่ม สมรรถนะให้คนมีความสามารถเพิ่มขึ้นในการควบคุมและการสร้าง เสริมให้สุขภาพของตนเองดีขึ้น ในการที่จะบรรลุสุขภาวะที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคม ปัจเจกบุคคล หรือกลุ่มบุคคลควรที่จะ ต้องมีความสามารถที่จะบ่งบอกและตระหนักถึงความมุ่งมาด ปรารถนาของตนเองที่จะสนองความต้องการต่างๆ ของตนเอง และ สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงหรือปรับตนให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม เรื่อง สุขภาพจึงถูกมองในลักษณะของความจำาเป็นสำาหรับชีวิตประจำาวัน มิใช่เป็นเพียงจุดมุ่งหมายของการดำารงชีวิตเท่านั้น สุขภาพเป็นคำาที่ มีความหมายในทางบวก เน้นหนักที่ทรัพยากรบุคคลและสังคม เช่น เดียวกับสมรรถนะต่างๆ ทางร่างกาย ดังนั้น การสร้างเสริมสุขภาพจึง มิใช่เป็นความรับผิดชอบขององค์กรในภาคสาธารณสุขเท่านั้น หาก กินความนอกเหนือจากการมีชีวิตอยู่อย่างมีสุขภาพดีไปสู่เรื่องของสุข ภาวะโดยรวมอันประกอบด้วย สภาวะทางสังคม สิ่งแวดล้อม และ เศรษฐกิจ" การจัดบริการสุขภาพที่ผ่านมามุ่งเน้นด้านการรักษาพยาบาล เพื่อแก้ปัญหาความเจ็บป่วยความพิการ ซึ่งต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง เพราะต้องอาศัยวิทยาการและเทคโนโลยีที่มีราคาแพงมากขึ้น ทำาให้ ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่กลับได้ผลตอบแทนด้านสุขภาพตำ่า สำาหรับประเทศไทยก็ได้เล็งเห็นความสำาคัญของการสร้าง เสริมสุขภาพเป็นอย่างยิ่ง ดังเช่นสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวร ส.) กระทรวงสาธารณสุขได้จัดประชุมใหญ่เรื่องการสร้างเสริมสุข ภาพเมื่อวันที่ 6 – 8 พฤษภาคม 2541 ในการนี้ได้มีการผลิต เอกสารเกี่ยวกับสุขภาพจำานวนมาก มีผู้เข้าร่วมประชุมจากหลาย วิชาชีพ สาระสำาคัญของการประชุม คือ "สุข ภาพไม่ไ ด้ส ร้า งใน โรงพยาบาล ” การสร้า งเสริม พฤติก รรมสุข ภาพที่จ ำา เป็น สำา หรับ ชีว ิต ตามแนวทางสุข บัญ ญัต ิแ ห่ง ชาติ การมีสุขภาพดีสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ มีชีวิตอยู่ในสังคม อย่างเป็นสุข เป็นความต้องการจำาเป็นพื้นฐานของชีวิตที่คนเราทุก
  • 7. คนสามารถแสวงหาได้ การที่เราจะมีสุขภาพที่ดีได้นั้น เราจะต้อง แสวงหามาด้วยตัวเอง ไม่มีผู้ใดจะปฏิบัติแทนเราได้ ดังนั้น สุข บัญ ญัต ิ คือ ข้อ กำา หนดที่ป ระชาชนทุก คนควรปฏิบ ัต ิอ ย่า ง สมำ่า เสมอจนเป็น สุข นิส ัย เพื่อ ให้ม ีส ุข ภาพดีท ั้ง ทางร่า งกาย จิต ใจ จิต วิญ ญาณ และสัง คม สุขบัญญัติ 10 ประการ มีดังนี้ 1.ดูแลรักษาและของใช้ให้สะอาด 2.รักษาฟันให้แข็งแรง และแปรงฟันทุกวันอย่างถูกต้อง 3.ล้างมือให้สะอาดก่อนกินอาหารและหลังการขับถ่าย 4.กินอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตราย และหลีกเลี่ยง อาหารรสจัด สีฉูดฉาด 5.งดบุหรี่ สุรา สารเสพย์ติด การพนัน และการสำาส่อนทางเพศ 6.สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัวให้อบอุ่น 7.ป้องกันอุบัติภัยด้วยการไม่ประมาท 8.ออกกำาลังกายสมำ่าเสมอ และตรวจสุขภาพประจำาปี 9.ทำาจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใส่อยู่เสมอ 10.มีสำานึกต่อส่วนรวม รวมสร้างสรรค์สังคม จากสุขบัญญัติ 10 ประการ ซึ่งเป็นการส่งเสริมสุขภาพ แต่ คนในชุมชนเมืองปัจจุบันมีปัญหาในแต่ละข้อของสุขบัญญัติ 10 ประการดังนี้ ปัญ หาการดูแ ลรัก ษาความสะอาด
  • 8. ชุมชนเมืองมีประชากรหนาแน่นมากตามความเจริญของเมือง สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ เช่นอากาศ นำ้า ดิน แสง เสียง สิ่งปฏิกูล เปลี่ยนแปลงไปขาดความสมดุลตามธรรมชาติเนื่องจากมนุษย์ได้ สร้างตึก โรงงาน ถนน เครื่องจักร เครื่องยนต์ เครื่องมือเครื่องใช้เพื่อ ประกอบการและอำานวยความสะดวกสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติถูก ทำาลายด้วยสิ่งที่มนุษย์ได้สร้างขึ้นมาแทน สิ่งแวดล้อมในเมืองจึงเต็ม ไปด้วยตึก โรงงาน ที่ทำางานด้วยเครื่องจักรมีเสียงดังอึกทึกตลอด เวลา พ่นหมอกควัน อากาศเต็มไปด้วยฝุ่นละออง กลิ่นเหม็นจากสาร เคมี ท่อไอเสียจากรถยนต์และเครื่องยนต์สิ่งมีชีวิต พืช สัตว์ อันเป็น สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพถูกทำาลาย ทำาให้มนุษย์ต้องสูญเสียสิ่งที่ช่วย สร้างสุขภาพและอนามัยของชุมชนบางส่วนไปและเกิดโทษตามมา แทนการดำารงชีพของชุมชนในเมืองเปลี่ยนไปพึ่งอุตสาหกรรม เป็น หลักแทนการเกษตร สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคมทำาให้วิถี ชีวิตของคนในชุมชนเมือง ต่างพึ่งตนเองต้องแข่งขันในทาง เศรษฐกิจ ขาดความใกล้ชิดผูกพันกัน สิ่งแวดล้อมในเมืองกำาลังจะ เต็มไปด้วยสิ่งมีพิษและอันตรายต่อชีวิต ปัญ หาการรัก ษาฟัน ให้แ ข็ง แรง และแปรงฟัน ทุก วัน อย่า งถูก ต้อ ง
  • 9. ปัญ หาล้า งมือ ให้ส ะอาดก่อ นกิน อาหารและหลัง การขับ ถ่า ย และการออกกำา ลัง กาย เนื่องจากคนที่อยู่ในชุมชนเมืองเต็มไปด้วยความเร่งรีบ และ การแข่งขัน จึงทำาให้ละเลยในการรักษาสุขภาพของฟัน เช่น การไป พบทันตแพทย์ปีละสองครั้ง หรือ การแปรงฟันหลังอาหาร รวมทั้ง ละเลยในการล้างมือ ก่อนรับประทานอาหาร ละเลยการออกกำาลัง กาย อีกทั้งในเมืองไม่มีสถานที่ในการออกกำาลังกายที่เหมาะสมและ เพียงพอต่อความต้องการ ปัญ หาการรับ ประทานอาหาร
  • 11. • นำ้ำหนักเกิน เนื่องจำกเมื่อเกิดควำมเครียดผู้ป่วยจะ รับประทำนอำหำรเค็ม มัน หวำนเพื่อไปต่อสู้กับ ควำมเครียด และทำำให้เกิดลักษณะอ้วนลงพุง • นำ้ำนักลดลงเนื่องจำกเบื่ออำหำร • มีกำรรับประทำนอำหำรผิดปกติ เช่น Anorexia nervosa and bulimia nervosa คนที่อำศัยอยู่ในเมืองมักจำำเป็นต้องใช้จ่ำยอย่ำงประหยัด เนื่องจำกค่ำครองชีพสูงทำำให้ไม่สำมำรถซื้ออำหำรที่มีคุณภำพซึ่งมี รำคำสูงได้ รวมทั้งค่ำนิยมกำรรับประทำนอำหำรจำำพวก fast food ของ คนในชุมชนเมือง ปัญ หำ บุห รี่ สุร ำ สำรเสพย์ต ิด กำรพนัน และกำรสำำ ส่อ นทำง เพศ สิ่งแวดล้อมที่ผลักดันให้คนหันไปใช้ยำเสพติดมีทั้งสิ่งแวดล้อม ทำงกำยภำพและทำงสังคม สิ่งแวดล้อมทำงกำยภำพที่ส่งผลให้มี ปัญหำยำเสพติดมำกที่สุด ในปัจจุบันคือแหล่งชุมชนแออัดหรือแหล่ง สลัมที่มีมำกตำมเมืองใหญ่ๆ ซึ่งเป็นผลพวงของกำรพัฒนำประเทศ ทำำให้ชำวชนบทอพยพเข้ำเมืองใหญ่ที่มีแหล่งงำนเพื่อขำยแรงงำน ปัญหำของชุมชนแออัดทั้งในเขตกรุงเทพ ปริมณฑลและเขตเมือง ศูนย์กลำงในภูมิภำค เช่น เชียงใหม่ ขอนแก่น นครรำชสีมำ
  • 12. นครศรีธรรมรำช สงขลำ ฯลฯ มีลักษณะคล้ำยกัน คือปัญหำกำร ขำดแคลนสำธำรณูปโภคจำกรัฐทั้งไฟฟ้ำ ประปำ กำรระบำยนำ้ำ โดย มีสำเหตุสำำคัญจำกกำรที่บ้ำนในชุมชนแออัดไม่มีทะเบียนบ้ำน จึงไม่ สำมำรถขอบริกำรจำกรัฐได้ นอกจำกนั้นยังมีปัญหำสิ่งแวดล้อมทำง สังคม ที่นำำไปสู่กำรใช้ยำเสพติด ของเด็กและเยำวชนทั้งที่อยู่ใน แหล่งเสื่อมโทรมหรือแหล่งอื่น ๆ ได้แก่ ปัญหำทำงเศรษฐกิจที่ ครอบครัวมีรำยได้ไม่เพียงพอกับรำยจ่ำย เพรำะไม่มีควำมมั่นคงทำง อำชีพ เป็นแรงงำนนอกระบบไม่มีกฎหมำยคุ้มครอง ปัญหำ สำธำรณสุข สุขภำพอนำมัยเสื่อมโทรม อันเป็นผลมำจำกสิ่งแวดล้อม ที่เป็นมลพิษในชุมชน ปัญหำกำรติดเชื้อโรคเอดส์ ปัญหำสังคมอื่น ๆ ปัญหำควำมแตกแยกในครอบครัว ปัญหำกำรค้ำประเวณี และปัญหำ แหล่งอบำยมุข ประเภทต่ำง ๆ ที่มอยู่ ปัญหำเหล่ำนี้ล้วนเป็นสิ่ง ี แวดล้อมทำงสังคม ที่มีส่วนในกำรผลักดันเด็กและเยำวชนหันเข้ำหำ ยำเสพติดทั้งสิ้น ปัญ หำควำมสัม พัน ธ์ใ นครอบครัว ครอบครัว เป็นหน่วยสังคมที่เล็กที่สุด และเป็นสังคมแห่งแรกที่ เด็กที่เกิดมำจะได้รับควำมรักควำมอบอุ่นจำกสมำชิกในครอบครัว บำงครอบครัวมีสมำชิกเพียง 2 คน คืออยู่เฉพำะสำมี ภรรยำ (ถ้ำไม่มี
  • 13. บุตร) บำงครอบครัวมีสมำชิกตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป คือ มีบุตรอยู่ร่วม ด้วยเรียกว่ำ ครอบครัวเดี่ยว และบำงครอบครัวมีสมำชิกอยู่รวมกัน หลำยครอบครัวในบ้ำนหลังเดียวกัน ประกอบด้วย ปู่ ย่ำ ตำ ยำย และญำติพี่น้อง เรียกว่ำ “ครอบครัวขยำย” ปัจจุบัน คู่สมรสในเมืองที่แต่งงำนใหม่ นิยมที่จะแยกอยู่ลำำพัง เป็นครอบครัวเดี่ยว มีอิสระ ไม่ต้องเป็นที่เพ่งเล็งของญำติผู้ใหญ่ และ คิดว่ำสำมำรถจะประคองชีวิตครอบครัวของตัวเองให้ประสบควำม สำำเร็จได้ เมื่อมีลูกก็คิดว่ำจะเลี้ยงด้วยตัวเอง เลี้ยงแบบสมัยใหม่ ใน ขณะที่คู่สมรสบำงคู่ยังอยู่ในครอบครัวเดิมที่อบอุ่น มี ปู่ ย่ำ ตำ ยำย ช่วยดูแลหลำน ๆ มีควำมเข้ำใจกัน ในครอบครัวก็มี จำก ประสบกำรณ์ในกำรทำำงำนที่แผนกผู้ป่วยนอก ศูนย์สุขวิทยำจิต พบ ว่ำ เด็กที่มีปัญหำทำงอำรมณ์มำจำกครอบครัวเดี่ยว และครอบครัว ขยำย ในจำำนวนใกล้เคียงกัน แต่เมื่อศึกษำถึงสำเหตุของปัญหำเนื่อง มำจำกกำรสื่อสำรในครอบครัวเป็นสำำคัญโดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำร สื่อสำรที่แสดงถึงกำรตำำหนิติเตียน ควำมไม่พอใจ ซึ่งเป็นทำงลบ มำกกว่ำกำรแสดงออกทำงบวก นอกจำกนี้ จำกกำรวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมำยเพื่อศึกษำปัญหำและวิธี กำรแก้ปัญหำของนักเรียนประถมศึกษำปีที่ 5 และ 6 โรงเรียนใน กรุงเทพมหำนคร โดย อ.วชิรำภรณ์ ชุมพล พบว่ำ นักเรียนประสบ ปัญหำดังนี้ เรียงตำมลำำดับจำกมำกไปน้อย ด้ำนอำรมณ์ ด้ำนกำร เรียน ด้ำนสุขภำพ ด้ำ นควำมสัม พัน ธ์ใ นครอบครัว ด้ำนกำรคบ เพื่อน ด้ำนกำรใช้เวลำว่ำงและกำรพักผ่อน ซึ่งแสดงให้เห็นว่ำชุมชน เมืองมีปัญหำควำมสัมพันธ์ในครอบครัวแม้แต่ในเด็กประถม ซึ่งกำรไม่มีเวลำให้แก่กันของสมำชิกในครอบครัวนั้นเป็น สำเหตุหนึ่ง ในชุมชนเมืองกำรแข่งขันเร่งรีบเป็นตัวลดเวลำในกำร พบกันของสมำชิกในครอบครัว ปัญ หำอุบ ัต ิภ ัย
  • 14. ในสังคมเมืองนั้นเกิดอุบัติภัยมำกมำยหลำยรูปแบบ สำำหรับใน ชุมชนเมืองอุบัติภัยที่พบมักเป็นอุบัติภัยตำมท้องถนน ซึ่งทำำให้เกิด ควำมสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินเป็นจำำนวนมำก ซึ่งอำจมีสำเหตุมำจำก 1.ควำมประมำท 2.กำรดื่มสุรำ 3. จำำนวนผู้ต้องกำรเดินทำงในเมืองมีมำกขึ้น 4.ควำมขัดข้องของยำนพำหนะ เป็นต้น ปัญ หำจิต สำำ นึก ของสัง คม เมื่อยุคสมัยได้เปลี่ยนแปลงผ่ำนมำเป็นสังคมทุนนิยม อุตสำหกรรม กำรสื่อสำรก็มีรูปแบบเป็นกำรสื่อสำรทำงไกล เช่น โทรศัพท์ จดหมำย ฯลฯ และเป็นไปในลักษณะมวลชนที่เป็นกำร สื่อสำรทำงเดียวมำกขึ้น นั่นคือสื่อมวลชนที่เป็น หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ ทั้งนี้แม้จะมีกำรสื่อสำรแบบ Face to Face อยู่ แต่เนื่องจำก สถำนภำพทำงสังคมของแต่ละบุคคล ที่มีอำณำบริเวณอยู่อำศัยที่ กว้ำงขึ้น มีหน้ำที่ที่ต้องมีกำรเคลื่อนย้ำยตลอดเวลำ ทำำให้กำรสื่อสำร แบบ Face to Face กับบุคคลอื่นในแต่ละแห่งมักอยู่ในช่วงเวลำสั้นๆ และเกี่ยวข้องกับบุคคลในวงแคบๆ เมื่อรวมกับสถำนภำพควำม สัมพันธ์ที่มีกำรเปลี่ยนแปลงกลุ่มบุคคลแวดล้อมอยู่ตลอดเวลำ (อัน เนื่องมำจำกกำรเคลื่อนย้ำย) ทำำให้ควำมสัมพันธ์ที่เหนียวแน่นใน
  • 15. ลักษณะชุมชนท้องถิ่นลดลง ในขณะที่วิถีชีวิตประจำำวันของบุคคลโดยทั่วไปก็เปลี่ยนไป มีควำมเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสถำบันหรือองค์กรมำกขึ้นอย่ำงแยกไม่ ออก เรำต้องเรียนหนังสือในโรงเรียน เรำต้องทำำงำนในองค์กรไม่ ทำงรำชกำรก็เอกชน เรำจะได้อะไรหรือเสียอะไรก็ต้องติดต่อกับ องค์กรที่เกี่ยวข้อง ทำำให้กำรสื่อสำรที่เรำมีต่อผู้อื่น มักอยู่ในรูปของ เรำกับองค์กร อย่ำงเช่นถ้ำหำกเรำไปถอนเงินจำกธนำคำร แม้เรำจะ ติดต่อสื่อสำรกับพนักงำน แต่โดยสภำพจริงที่เกิดขึ้นก็คือเป็นกำร ติดต่อสื่อสำรระหว่ำงเรำกับธนำคำร หรือถ้ำหำกเรำทำำงำนธนำคำร คนที่ติดต่อกับเรำก็ติดต่อสื่อสำรกับเรำในฐำนะของคนนั้นกับ ธนำคำร หรือองค์กรที่บุคคลนั้นสังกัดอยู่กับธนำคำร สรุปก็คือกำร สื่อสำรถึงกันในฐำนะระหว่ำงมนุษย์กับมนุษย์มีน้อยลง แต่มีกำร สื่อสำรกันระหว่ำงมนุษย์กับองค์กร หรือองค์กรกับองค์กรมำก ขึ้น(ไพบูลย์ ช่ำงเรียน, 2527) และมีผลต่อกำรดำำรงอยู่ของ "จิตสำำนึก ของสังคม" ที่อยู่ในรูปขององค์กรมำกขึ้น เช่น กำรรักษำควำมสะอำด เป็นหน้ำที่ของเทศบำล กำรพัฒนำบ้ำนเมืองเป็นหน้ำที่ของสมำชิก สภำผู้แทนรำษฎร ที่เรำมีส่วนร่วมแค่เฉพำะกำรเลือกตั้ง เป็นต้น ลักษณะสังคมแบบนี้ ทำำให้เกิดปัญหำของสังคมในวงกว้ำง ทั้งนี้เนื่องจำกต่ำงคนต่ำงอยู่ในลักษณะ "ธุระไม่ใช่" ดังที่เป็นข้อ สังเกตของศ.นพ.ประเวศ วะสี (2541: 16-17)ในขณะที่ปัญหำต่ำงๆ ของสังคมที่เรำยกให้องค์กรทำงสังคมเป็นคนจัดกำรมีจำำนวนมำก และซับซ้อนเกินกว่ำระบบจะรับไหว เกิดเป็นปัญหำเรื้อรังอยู่เป็น จำำนวนมำก เป็นควำมเสื่อมโทรมของสังคมที่เกิดขึ้นตำมพัฒนำกำร ของสังคมแบบ "ธุระไม่ใช่" นี้ โดยตัวชี้วัดปัญหำนี้สังเกตได้จำกกำร รณรงค์เรียกร้องต่อภำคประชำชนให้มีส่วนร่วมในกำรแก้ปัญหำมี มำกขึ้นและถี่ขึ้นเรื่อยๆ ในช่วงปัจจุบัน ทั้งปัญหำสิ่งแวดล้อม ปัญหำ ยำเสพติดและอำชญำกรรม ปัญหำโรคเอดส์และสุขภำพพลำนำมัย ฯลฯ โดยส่วนใหญ่เป็นในรูปของกำรรณรงค์ให้เกิด "จิตสำำนึกต่อ สังคม" อันเป็นจิตสำำนึกประจำำตัวของแต่ละคนที่สำมำรถมีผลใน ระดับสังคม เป็นตัวยืนยันว่ำสังคมมีปัญหำในระดับ "จิตสำำนึกของ สังคม" อันเนื่องมำจำกกำรดำำรงชีวิตแบบ "ธุระไม่ใช่" และกำร เคลื่อนย้ำยสถำนภำพจิตสำำนึกของสังคม จำกเดิมที่เป็นคุณสมบัติ ประจำำตัวของสมำชิกแต่ละบุคคล ไปเป็นหน้ำที่ขององค์กรหรือ สถำบันที่เกี่ยวข้องอย่ำงที่ได้กล่ำวไว้แล้วนั่นเอง
  • 16. จิตสำำนึกสำธำรณะประกอบด้วยควำมหมำยของคำำสองคำำเข้ำ ด้วยกันนั่นคือคำำว่ำ "จิตสำำนึก" และ "สำธำรณะ" โดยจิตสำำนึกเป็น เรื่องของ Mind หรือ Spirit ส่วนสำธำรณะนั้นเป็นเรื่องของส่วนรวมที่ ทุกคนมีควำมรู้สึกเป็นเจ้ำของร่วมกัน มีสิทธิในกำรใช้และมีหน้ำที่ บำำรุงรักษำร่วมกัน โดยลักษณะของสำธำรณะนั้นมี 3 ลักษณะด้วยกัน คือ พื้นที่สำธำรณะ, โครงสร้ำงสำธำรณะ (เช่น กฏหมำย, ระบบ โทรคมนำคม, สื่อมวลชน ฯลฯ), และกระบวนกำรสำธำรณะ (เช่น ประชำพิจำรณ์ เป็นต้น) (ชัยวัฒน์ ถิระพันธ์, 2540) ในอีกควำมหมำยหนึ่ง จิตสำำนึกสำธำรณะก็คือจิตสำำนึกของ สังคม (Social Consciousness) ที่ถ่ำยทอดสืบต่อกันมำตรำบเท่ำที่ยังมี กำรดำำรงอยู่ของสังคม (Social Being) (กำญจนำ แก้วเทพ, 2539) ท่ำมกลำงกระแสเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมำจำกกำรปฏิวัติ อุตสำหกรรมดังที่ได้กล่ำวไว้ตั้งแต่ต้น ควำมก้ำวหน้ำของ อุตสำหกรรม ที่มำควบคู่กับกำรเจริญทำงเทคโนโลยีและกำรเจริญ เติบโตของเมือง ทำำให้วิถีชีวิตในแบบชุมชนดั้งเดิมถูกผลกระทบไป ด้วย ทั้งเรื่องวิถีชีวิตและกำรอพยพเคลื่อนย้ำยแรงงำน (Baldridge, V. J., 1975: 370-407) กำรเปลี่ยนแปลงของสังคมดังกล่ำว ย่อมกระทบถึงกำรดำำรง อยู่ของสังคมในรูปแบบเดิมๆ และกระทบถึงจิตสำำนึกของสังคมด้วย ก่อให้เกิดปัญหำเรื่องจิตสำำนึกสำธำรณะจำกวัฒนธรรมปัจเจกชน ปัญ หำด้ำ นจิต ใจ สำเหตุควำมเครียดในชุมชนเมือง จำก สภำวะแวดล้อมในเมือง ทำำให้เกิด ควำมเครียดได้ในลักษณะที่เรียกว่ำ “ร่ำงกำยเครียด” จำกกำรที่ร่ำงกำยกับจิตใจ มีควำมเกี่ยวข้องกัน แยกจำกกันไม่ได้ กำร เกิดควำมเครียดทำงร่ำงกำยย่อมส่งผลให้ จิตใจเครียดตำมด้วย ซึ่งปัจจัยทำงร่ำงกำยที่ ก่อให้เกิดควำมเครียด ได้แก่ ควำมเหนื่อยล้ำทำงร่ำงกำย ใน ชุมชนเมืองนั้นชีวิตที่เร่งรีบและกำรแข่งขัน
  • 17. ทำำให้เกิดกำรทำำงำนอย่ำงหนัก และติดต่อกันเป็นเวลำนำน ซึ่งจะมี ควำมเกี่ยวเนื่องมำจำกสภำพควำมสมบูรณ์แข็งแรงของร่ำงกำยที่จะ ทำำให้แต่ละคนมีควำมพร้อมในกำรทำำกิจกรรมในชีวิตประจำำวันแตก ต่ำงกัน ภำวะโภชนำกำรได้แก่ ลักษณะนิสัยกำรรับประทำนอำหำร ที่จะมีผลต่อควำมสมบูรณ์แข็งแรงของร่ำงกำย กำรรับประทำน อำหำรไม่ถูกส่วน ไม่ถูกสุขลักษณะ กำรรับประทำนอำหำรไม่เพียง พอหรือมำกเกินไป ซึ่งเกิดจำกชีวิตที่เร่งรีบในชุมชนเมือง กำรใช้ หรืออำกำรบริโภคสำรบำงประเภท อำทิ สุรำ บุหรี่ ชำ กำแฟ ตลอด จนสำรเสพติดต่ำงๆ เหล่ำนี้ ล้วนทำำให้เกิดควำมเครียดได้ กำรพักผ่อนไม่เพียงพอ ทำำให้ร่ำงกำยอยู่ในภำวะอ่อนเพลีย ติดต่อกันเป็นเวลำนำน กำรเจ็บป่วยทำงร่ำงกำย ทั้งกำรเจ็บป่วยแบบเฉียบพลัน เช่น กำรมีไข้สูง อุบัติเหตุ หรือกำรเจ็บป่วยเรื้อรังต่ำงๆ เช่น โรคเบำหวำน มะเร็ง ควำมดันโลหิตสูง เป็นต้น ลักษณะท่ำทำงที่ปรำกฏเกี่ยวกับโครงสร้ำงของกล้ำมเนื้อ ผิวหนังและกำรทรงตัว เช่น กำรเดินยืน วิ่ง นั่น นอน หำกอยู่ใน ลักษณะที่ไม่เหมำะสมย่อมก่อนให้เกิดควำมเครียดได้
  • 19. รำยงำนกำรทำำงำนของสมำชิกในกลุ่มแต่ละคน และประโยชน์ที่ได้ รับจำกกำรทำำรำยงำนกลุ่ม คนละไม่เกิน 1 หน้ำกระดำษ ปัญหำกำรรับประทำนอำหำร 5 ปัญหำ บุหรี่ สุรำ สำรเสพย์ติด กำรพนัน และ กำรสำำส่อนทำงเพศ 6
  • 20. นำยทวีฤ ทธิ์ มำนวกุล 47180138 ทำำหัวข้อ “ปัญหำกำรรับประทำนอำหำร” และ หัวข้อ “ปัญหำบุหรี่ สุรำ สำรเสพย์ติด กำรพนัน และ กำรสำำส่อนทำงเพศ” ได้รับประโยชน์ในกำรทำำงำนคือ จำกหัวข้อที่รับมอบหมำยมำ ได้ใช้เวลำในกำรค้นหำและเลือกข้อมูลที่เหมำะสม นำำมำเรียบเรียง เป็นรำยงำน นอกจำกนี้เมื่อนำำรำยงำนของแต่ละคนที่ได้เรียบเรียง แล้วมำอ่ำนทำำควำมเข้ำใจ ทำำให้ได้ควำมรู้เพิ่มเติมขึ้นอีกมำก ซึ่ง ช่วยให้เข้ำใจถึงปัญหำควำมเครียดของประชำชนในชุมชนเมือง ซึ่ง จะได้ใช้ควำมรู้ที่ได้เรียนมำป้องกันปัญหำต่ำงๆ รวมทั้งควำมเครียด เพื่อสุขภำพกำย และ สุขภำพจิตที่ดี ในส่วนของกำรทำำงำนกลุ่มได้ประโยชน์คือ ได้รู้จักกำรทำำงำน ร่วมกับผู้อื่น และเมื่อมีปัญหำต่ำงๆ ก็ได้ปรึกษำเพื่อนร่วมงำน และยิ่ง ไปกว่ำนั้น กำรได้รับควำมคิดเห็นของผู้อื่น ทำำให้แนวคิดนั้นเปิด กว้ำงขึ้น ไม่ติดอยู่กับควำมคิดของตนเอง ได้รู้จักมุมมองใหม่ๆ ของ เพื่อนร่วมงำน ช่วยให้รู้จักคิดในอีกทำงหนึ่ง ซึ่งเป็นควำมคิดที่ช่วย เปิดโลกทัศน์ให้แก่ตนเอง นำำไปสู่กำรพัฒนำควำมรู้ใหม่ๆ ซึ่งอำจ เป็นประโยชน์แก่ประเทศชำติต่อไปในอนำคต