SlideShare a Scribd company logo
1 of 85
Download to read offline
การแพทย์วิถีใหม่ เพื่อสุขภาพดี
ที่สร้างได้ด้วยตนเอง
นพ. จิติศักดิ์ พูนศรีสวัสดิ์
อนุมัติบัตร เวชศาสตร์ป้องกัน
เวชศาสตร์ครอบครัวและอาชีวเวชศาสตร์
1
ความรู้ที่ถูกต้อง
และ การปฏิบัติ
ตั้งเป้าหมาย และทาให้ได้
2
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
3
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
ความเป็นจริง
4
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
สิ่งเรามองเห็นและสิ่งที่ซ่อนอยู่
5
เกิดความเจ็บป่ วย
ความเจ็บป่ วยที่ไม่แสดงอาการ
รอยต่อระหว่างสุขภาพที่ดี กับ เกิดความเจ็บป่ วย
การปรับตัว, การรักษาตัวของร่างกายแต่ละบุคคล
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
การปรากฎของสภาวะทางสุขภาพ
6
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
อย่าปล่อยให้ สุขภาพและชีวิต
อยู่ในความเสี่ยง จนแก้ไขได้ยาก
7
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
ปัจจัยที่สัมพันธ์และเกี่ยวข้องกับการมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี ไม่มีภาวะทุพพลภาพ
สภาวะร่างกาย
ความเจ็บป่ วย และความผิดปกติต่างๆ
การมีส่วนร่วมในสังคม
การทางานของร่างกาย
และสุขภาพ
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ปัจจัยส่วนบุคคล
กิจกรรมการดาเนินชีวิต
8
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
เป้าหมายของการสร้างเสริมสุขภาพ ตามกลุ่มอายุ
ศักยภาพที่สร้างได้ และพัฒนาได้
Ref: องค์การอนามัยโลก, WHO: Ageing and life-course.
อายุ
ความสามารถในการใช้ชีวิต
วัยเด็กและวัยผู้ใหญ่ตอนต้น
การเติบโตและการสร้างสมรรถภาพ
วัยผู้ใหญ่
การพัฒนาศักยภาพและสมรรถภาพ
วัยผู้ใหญ่ตอนปลายและวัยสูงอายุ
การรักษาสุขภาพและสมรรถภาพที่แข็งแรง
ภาวะทุพพลภาพ
9
ศักยภาพและสมรรถภาพที่
สามารถเพิ่มและพัฒนาได้
การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่ม
สมรรถภาพและ ศักยภาพ
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
ปัจจัยที่ใช้ทานาย ความสามารถในการทากิจกรรมต่างๆที่สาคัญในชีวิตประจาวัน
(Activity of Daily Living)
•แรงบีบมือ
•ความเร็วในการเดิน
•การทรงตัว
•ความทรงจา, การแก้ปัญหา
Ref:
WHO CLINICAL CONSORTIUM ON HEALTHY AGEING,
NOVEMBER 21-22 2017, GENEVA, SWITZERLAND
กิจกรรมต่างๆที่สาคัญในชีวิตประจาวัน ADL, IADL
10
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
Holistic medicine
การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม (Holistic Health Care)
หมายถึง การดูแลสุขภาพเพื่อให้เกิดความสมดุล กลมกลืน ระหว่าง
ร่างกาย จิตใจ สังคม จิตวิญญาณ ปัญญา และ สิ่งแวดล้อมทั้งในระดับ
บุคคล ครอบครัว ชุมชน สังคม
* การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค
* การรักษาพยาบาล
* การฟื้ นฟูสุขภาพเมื่อเกิดการเจ็บป่ วย 11
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
• ปัจจัยฯด้าน
อาหารกับอัตรา
การเสียชีวิต
จากการวิจัย
ทางการแพทย์
ที่พบ
** วิจัยในปี ค.ศ.
1999 – 2017
Medical research study people from 195 countries show relation of foods and morbidity & mortality, Yr. 1999 – 2017.
อัตราการเสียชีวิตที่มีสาเหตุจากอาหาร จานวนผู้เสียชีวิตที่มีสาเหตุจากอาหาร
อาหารที่มีโซเดียมสูง
รับประทานผลไม้น้อย
รับประทานผักน้อย
รับประทานโอเมกา 3 น้อย
รับประทานไขมันไม่อิ่มตัวน้อย
รับประทานไขมันทรานส์มาก
โรคหัวใจและหลอดเลือด
โรคเบาหวาน
รับประทานอาหารแปรรูปมาก
12
อัตราการตายต่อแสนประชากร
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
Magda R. Hamczyk et al. J Am Coll Cardiol 2020;75:919-930
อายุจะยืนยาวได้
อย่างไร
ปัจจัยที่มีผลต่อ
การมีชีวิตที่ยืนยาว
13
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
การรักษาสุขภาพให้แข็งแรงและมีสุขภาพดี
จากการวิจัยทางการแพทย์พบว่าปัจจัยที่ทาให้เกิดโรคชราและความเสื่อมตามอายุ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด โดยมีปัจจัยที่สาคัญได้แก่
• ภาวะการอักเสบของร่างกาย (inflammation)
• การทางานระดับเซลล์ที่ผิดปกติ (mitochondrial metabolism)
• ความผิดปกติของพุทธิปัญญา (cognition)
• การทรงตัวผิดปกติ (balance)
• ปัญหาการนอนหลับ (sleep)
Ref: Daniel E. Forman, Ross Arena, et.al., Prioritizing Functional Capacity as a Principal End Point for Therapies Oriented to Older Adults
With Cardiovascular Disease: A Scientific Statement for Healthcare Professionals From the American Heart Association; Circulation. 2017;135:e894–e918
Link: https://www.ahajournals.org/doi/full/10.1161/cir.0000000000000483
14
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
ผลการศึกษาวิจัย จากนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบล
Elizabeth Blackburn’s ปี พ.ศ. 2552
•การทาสมาธิ (meditation) 12 นาที
ต่อ วัน นาน 2 เดือน
•สร้างทัศนคติด้านบวก (promote positive
attitude)
•ความเครียดและทัศนคติด้านลบ จะไปกระตุ้น
การสร้าง ฮอร์โมน คอติซอล (cortisol) ส่งผล
ให้ telomere สั้นลง
15
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
เซลล์ หน่วยย่อยที่สุด ของร่างกาย
16
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
Telomere of
Chromosome
เทโลเมียร์
สิ่งปกป้อง ให้
เซลล์มีอายุยืนยาว
17
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
เทโลเมียร์
(Telomere)
18
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
ความสุข (Happy retirement)
ที่มา Health and Retirement: Planning for the Great Unknown;
Merrill Lynch Trust Company, and Private Banking & Investments Group. June 30, 2014
การมีสุขภาพที่ดี
ความมั่นคงด้านการเงิน
การมีครอบครัวและเพื่อนที่ดี
การมีเป้าหมายในชีวิต
การได้ทาสิ่งใหม่ๆ
19
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
ลักษณะสาคัญของการตอบสนองที่นามาสู่ความผิดปกติ
(Causes of Bad Effects)
* วงจรอุบาทว์ (Vicious Cycle)
+ ความเคยชิน นิสัย พฤติกรรมซ้าๆ
+ ความคิดลบ ความเครียด ความคาดหวัง
+ ความกดดัน
+ สถานที่อยู่อาศัย
+ ความไม่สมดุล – การ “เข้า” และ “ออก”
20
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
ชีวิตและสุขภาพที่ดี ต้อง “ลงทุน”
• ความรู้ สุขภาพ ร่างกาย ใจ และ คุณภาพชีวิต
• จิตใจ แจ่มใส เบิกบาน สงบ ร่มเย็น มีคุณค่า และ เป็นสุข
• ฐานะ ความเป็นอยู่ ไม่เดือดร้อน สิ่งแวดล้อมที่ดี
• ชีวิตประจาวัน งาน การสร้างสรรค์ ตนเอง ครอบครัว เพื่อน
และสังคม
21
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
งานวิจัยที่สาคัญ ที่บอกคนทั่วโลกถึง
“การมีชีวิตที่ยืนยาวและมีความสุข”
Harvard university research as the longest study.
• การมีพันธุกรรมที่ดี นั้นดีมาก แต่ การสนุก การพึงพอใจกับชีวิต
และมีความสุข นั้นสาคัญกว่า
• ความเหงา ทาร้ายและฆ่าคุณได้ จงมีเพื่อนที่ดี และความสัมพันธ์ที่ดี
+++ See in : https://youtu.be/8KkKuTCFvzI
22
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
การมีอายุสั้น การมีอายุยืน ในพระพุทธศาสนา
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๕ ประการนี้ เป็นเหตุให้อายุสั้น ๕ ประการ
เป็นไฉน คือ บุคคลไม่เป็นผู้ทาความสบายแก่ตนเอง ๑
ไม่รู้จัก ประมาณในสิ่งที่สบาย ๑
บริโภคสิ่งที่ย่อยยาก ๑
เป็นผู้เที่ยวในกาลไม่สมควร ๑
ไม่ประพฤติเพียงดังพรหม ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๕ ประการนี้แล เป็นเหตุ ให้อายุสั้น ฯ
(อนายุสสสูตรที่ ๒ [๑๒๖]) 23
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
ธรรม ๕ ประการนี้ เป็นเหตุให้อายุยืน
• ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๕ ประการนี้ เป็นเหตุให้อายุยืน ๕ ประการ
เป็นไฉน คือ บุคคลเป็นผู้ทาความสบายแก่ตนเอง ๑ รู้จักประมาณใน
สิ่งที่ สบาย ๑ บริโภคสิ่งที่ย่อยง่าย ๑ เป็นผู้เที่ยวในกาลสมควร ๑
เป็นผู้ประพฤติ เพียงดังพรหม ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๕ ประการ
นี้แล เป็นเหตุให้อายุยืน ฯ
(อนายุสสสูตรที่ ๒ [๑๒๖])
24
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
IKIGAI “ ศิลปะในการใช้ชีวิต “
กฎ 10 ข้อของ IKIGAI ศิลปะในการใช้ชีวิต
1) Stay active; don’t retire กระตือรือร้นกับชีวิต, ชนิดไม่มีวันเกษียณ"
- เรียนรู้และตื่นเต้นกับสิ่งใหม่ๆ ทาในสิ่งที่สาคัญและมีคุณค่าต่อชีวิต
ตนเอง ทาหน้าที่ตนเองให้ดี สร้างความก้าวหน้าทุกๆวัน และชื่นชมสิ่งดีๆ รอตตัว
25
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
IKIGAI “ ศิลปะในการใช้ชีวิต “
2) Take it slow "ทาอะไรให้ช้าลง"
• มีสติ คิดใคร่ครวญสิ่งต่างๆ ก่อนทา มีกระตวนการคิด พิจารณา และมีแผนงานที่
ดี วิเคราะห์ ว่าหากทาสิ่งนั้นสิ่งนี้ แล้วจะเกิดผลลัพธ์อะไรขึ้นต้าง
3) Don’t fill your stomach "อย่ากินให้อิ่มเกินไป"
• หากอยากมีสุขภาพดี อายุยืน ต้องใช้กฎ 80 เปอร์เซ็นต์ ที่เรียกว่า “hara hachibu”
คือให้หยุดกินทันทีเมื่อรู้สึกอิ่มแล้ว หรือ คิดเป็นปริมาณ 1,200 – 1,500
แคลเลอรีต่อวันเท่านั้น โดยเน้นอาหารซึ่งเป็นกลุ่มผักและผลไม้สดทั่วๆไป
26
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
IKIGAI “ ศิลปะในการใช้ชีวิต “
4) Surrounding yourself with good friends "แวดล้อมด้วยเพื่อนดีๆ"
• เพราะ การมีเพื่อน คือการเยียวยาที่ดี การได้รัตฟัง พูดคุย แต่งปันทุกข์ สุข
การหัวเราะ เล่าเรื่องราวต่างๆ การไปเที่ยวด้วยกัน ทาให้ชีวิตของเรามีชีวา นาไปสู่
สุขภาพจิตที่ดี
5) Get in shape for your next birthday "ฟิ ตร่างกายให้ดีต้อนรับวันเกิดปีหน้า"
• ร่างกายก็ต้องการได้รับการดูแลบารุงรักษา คล้ายเครื่องยนต์ ที่หากใช้งานทุกวัน
ก็ต้องเสื่อมไปต้างเป็นธรรมดา การออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ เป็นการทาให้
ร่างกายแข็งแรงแล้วยังช่วยสร้างสารภายในสมอง เพื่อช่วยทาให้เรามีความสุขอีกด้วย
27
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
IKIGAI “ ศิลปะในการใช้ชีวิต “
6) Smile "ยิ้มเข้าไว้"
• ยิ้ม ทาให้จิตใจผ่อนคลาย ทาให้เรามีเพื่อน และคนดีๆ เข้ามาสู่ชีวิตเรา
เพิ่มขึ้นได้ง่ายๆ
7) Reconnect with nature "เชื่อมต่อกับธรรมชาติ"
• ทาสวน ปลูกต้นไม้ และ เดินทางไปท่องเที่ยวพักผ่อนตามแหล่งธรรมชาติ
ต่างๆ เช่น ทะเล ภูเขา น้าตก เพื่อเพิ่มพลังงานให้ตัวเองอยู่เสมอๆ
28
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
IKIGAI “ ศิลปะในการใช้ชีวิต “
8) Give thanks "ขอบคุณในสิ่งที่เรามี"
• ความรู้สึกขอตคุณและกตัญญูต่อธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม อาหารและสิ่งที่เรา
มี ทาให้เรารู้สึกโชคดีที่ได้มีชีวิตอยู่และจะเพิ่มพูนความสุขให้เราในทุกๆ วัน
9) Live the moment "อยู่กับปัจจุบันขณะ"
• หยุดเสียใจกัตสิ่งที่เกิดขึ้นในอดีต หยุดกลัวหรือกังวลสิ่งที่จะเกิดขึ้นใน
อนาคต “วันนี้ ” และ “ขณะนี้ ” คือช่วงเวลาที่ดีที่สุดของคุณ! ใช้ให้ดีที่สุด
10) Follow your IKIGAI จงออกตามหา IKIGAI ของคุณ ! 29
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
โรคภัยใกล้ตัว
30
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non- communicable diseases)
ข้อมูลที่ควรรู้
• เพื่อการดูแลสุขภาพตนเอง ให้รักษาสุขภาพดีและไม่ต้อง
ได้รับผลเสียของการป่วยมากขึ้น
• เพื่อให้ไม่ต้องเพิ่มการใช้ยา และ สามารถลดการรับประทาน
ยา หรือ การต้องรับการรักษา
• เพื่อการมีชีวิตที่ไม่ถูกผูกมัด คุณภาพชีวิตที่ดี หากเป็นโรค ก็
สามารถควบคุมโรคได้ดี และสร้างความภาคภูมิใจ
31
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
อะไรบ้างที่ซ่อนอยู่ ในอายุ วัย และ ความไม่รู้สึกว่าเจ็บป่ วย
• ปัญหาหลอดเลือดแข็งตัว ความยืดหยุ่น
• การอักเสบในร่างกาย
• การขาดวิตามินและความเครียด
• การพบเจอปัญหาเดิมๆ ปัจจัยเสี่ยงเดิม
• การละเลย หรือไม่ให้ความสาคัญ
32
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
ค่าความดันโลหิต ที่ควรรู้
ความดันโลหิตสูงระดับที่ 1
ความดันโลหิตสูงระดับที่ 2
ระยะเริ่มมีความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตปกติ
ความดันโลหิตสูงระดับรุนแรง
ความดันโลหิตค่าบน ความดันโลหิตค่าล่าง
ระดับความดันโลหิต
และ
หรือ
หรือ
หรือ
หรือ
นิยามค่าความดันโลหิตโดยสมาคมแพทย์โรคหัวใจประเทศสหรัฐอเมริกา (American Heart Association)
33
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
ความดันโลหิตสูง
• หลอดเลือดคือ สิ่งสาคัญ หลอดเลือดแข็งตัว หัวใจต้องบีบตัวแรงขึ้น
ความเร็วของเลือดที่ไหลผ่านหลอดเลือดเร็วขึ้น
• ความเสี่ยงโรคเส้นเลือดตีบแคบ หรืออุดตัน ที่อวัยวะสาคัญ สมอง ตา ไต หัวใจ
• อายุ ที่เพิ่มขึ้น อาหารที่เรารับประทาน เราจะจัดการสุขภาพให้ดีได้ อย่างไร
• อาหาร อาหารหรือโภชนาการเสริม
• การออกกาลังกาย
• การดาเนินกิจกรรมในชีวิตประจาวัน และ การออกแบบการใช้ชีวิต
34
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
ปัจจัยเสี่ยง และผลของการควบคุมและจัดการปัจจัยเสี่ยงที่ดี
การควบคุมอาหารและน้าหนัก
การลดเกลือ อาหารรสเค็ม
การลดแอลกอฮอล์
การออกกาลังกาย
35
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
36
ที่มา www.forevagoodhealth.com: โรคเบาหวาน - Forevagoodhealth Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
ระดับน้าตาล และ
โรคเบาหวาน
6.4
> or = 6.5
5.7
2-ชั่วโมง หลังรับประทาน
น้าตาลกลูโคส ปริมาณ 75-กรัม
(OGTT) ค่าที่มากกว่า
140 mg/dL ถึง 199 mg/dL
เป็นความเสี่ยงสูงต่อการเกิด
โรคเบาหวาน
37
ค่าระดับ
น้าตาลในเลือด
ค่าปกติ
เป็นเบาหวาน
ค่าปกติ
เสี่ยงสูง
เสี่ยงสูง
เป็นเบาหวาน
ที่ 2 ช.ม. หลังอาหาร
ที่ 2 ช.ม. หลังอาหาร
5.6
38
ที่มา รูปกราฟฟิก เฟสบุคของ
“ กรุงเทพเมดิคัลแลป “
https://web.facebook.com/BangkokMedicalLab/
posts/2484257591651537/
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
น้าตาลสะสม (Hemoglobin A 1 C, HbA1C)
การตรวจค่าน้าตาลสะสม เป็นการบ่งบอกระดับน้าตาลในเลือดเฉลี่ยในช่วง 2-3 เดือนที่ผ่านมา
39
ที่มา ภาพกราฟฟิ ก ; Unilever Life: ลดน้าตาลสะสมในเลือด ทางเลือกต่อชีวิต Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
โรคเบาหวาน หลักการดูแลสุขภาพ A1C % eAG mg/dL
7 154
8 183
9 212
10 240
• รู้ตัวเร็ว แก้ไขเร็ว กลุ่มเริ่มเสี่ยง FBS > 100 ออกกาลังกาย คุมอาหาร
ลดการเกิดเบาหวานได้จริง
• รักษาระดับน้าตาลในเลือด ให้อยู่ในเป้าหมาย HbA1C ที่ไม่เกิน 7 %
• รับประทานอาหารที่เหมาะสม ผักสด ผลไม้น้าตาลน้อย
• หวานได้ แต่ กาลังดี Glycemic index (GI) ไม่เกิน 5.5
• อาหารคาร์โบไฮเดรทเชิงซ้อน กากใยสูง โปรไบโอติกส์ เช่น ขนมปังวีท (Wheat
Bread) หรือ มัลติเกรน (Multi Grain) ซึ่งอาจทามาจากธัญพืชที่ผ่านการขัดสีบางส่วน
40
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
อาหารหวานกับการเกิดโรค
การรับประทานอาหารรสหวานมาก เพิ่มความเสี่ยงการเสียชีวิตจากการเกิด
โรคหัวใจและหลอดเลือดอย่างชัดเจน
Glycemic Index, Glycemic Load, and Cardiovascular Disease and Mortality
Authors: David J.A. Jenkins and et.al., February 24, 2021 41
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
อ้วน & เบาหวาน เกี่ยวข้องกันอย่างไร
:
• อ้วน กินมาก
กินบ่อย กินหวาน
• กินมื้อค่า
• กินดึก
• ไม่ค่อยทา
กิจกรรมที่ออก
แรงมาก
• ทากิจกรรมลด
น้าหนักไม่
สม่าเสมอ
42
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
การดูแลสุขภาพ หากมีความเสี่ยง เป็นโรคเบาหวาน
• หากยังไม่เป็น แต่ใกล้จะเป็น นั่นคือ ความเสี่ยง ซึ่งรู้ได้จากการตรวจ
ระดัตน้าตาลในเลือด ที่มากกว่า 100 mg/dL หรือ HBA1C ที่ มากกว่า
5.7 จะมีวิธีการดูแล และป้องกันให้กัตตนเองอย่างไร
• หากมีความเสี่ยงคือ ประวัติทางพันธุกรรม
หรือ ได้รัตการวินิจฉัยว่า เป็นโรคเตาหวานแล้วในระยะต้น จะทา
อย่างไร
43
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
ระดับน้าตาลปกติ และระดับน้าตาลเป้าหมาย
ระดับน้าตาลที่ช่วงเวลา ผู้ที่ไม่เป็นโรคเบาหวาน ผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน
ก่อนอาหารเช้า ต่ากว่า 70-99 mg/dL 80-130 mg/dL
ก่อนอาหารกลางวัน และ
ก่อนอาหารเย็น
ต่ากว่า 70-99 mg/dL 80-130 mg/dL
สองชั่วโมงหลังรับประทาน
อาหาร
ต่ากว่า 140 mg/dL ต่ากว่า 180 mg/dL
ก่อนนอน - ต่ากว่า 120 mg/dL
ระดับ น้าตาลสะสม - น้อยกว่า 7.0
44
Ref: https://www.healthline.com/health/blood-sugar-tests#results
https://www.medicalnewstoday.com/articles/317224#interpreting-results
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
โรคเบาหวาน : เดินย่อยอาหารให้ได้ 30 นาที
• เป้าหมายคือ ระดับน้าตาลที่ดี
เหมาะสม คือ ระดัตน้าตาลหลังอาหาร
น้อยกว่า 180 mg/dL (9.0
mmol/L) ที่ 1 - 2 ชั่วโมงหลังอาหาร
• มื้ ออาหาร นั้นสาคัญ
จากการวิจัย ระดัตน้าตาลในเลือดจะขึ้น
สูงสุดหลังรัตประทานอาหาร 90 นาที
และเมื่อได้ออกกาลังกายเตาๆ จะช่วย
ลดระดัตน้าตาลในเลือด
• ร่างกายทางานดี หากน้าตาลในเลือด
หลัง 2 ชั่วโมงกลัตไปเท่ากัตก่อนทาน
อาหาร
อยู่เฉยๆ ไม่ทาอะไร
หลังจากออกกาลังกาย
ระดับน้าตาลในเลือด
ระดับน้าตาลในเลือดตามระยะเวลาหลังรับประทานอาหาร
45
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
ผลของการออกกาลังกายกับการควบคุมน้าตาลในเลือด
ไม่ออกกาลังกาย
ออกกาลังกายทุกวัน
46
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
ผลของการออกกาลังกายกับการควบคุมน้าตาลในเลือด
47
ความไว
และการ
ตอบสนอง
ของ
ฮอร์โมน
อินซูลินต่อ
น้าตาลใน
เลือด
น้าตาลใน
เลือด
หลังงดน้า
และอาหาร
อย่างน้อย
8 – 12
ชั่วโมง
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
โรคเบาหวาน
•มื้ อเช้า คือราชา มื้ อกลางวัน ทานพอดี แต่ มื้ อเย็น รับประทานแป้งและอาหาร
หวานให้น้อย ทั้งหมด จะเป็นหมอที่ดีต่อร่างกาย
•ลดมื้ อเย็น คือ ลดน้าหนัก และ เดินออกกาลัง ทาให้รัตประทานยาปริมาณน้อย
•ยามาตรฐานคือ ยา Metformin > ยาอื่นๆ (CKD : SGPT2 (sodium–glucose
cotransporter 2 inhibitor) และ : ยา GLP (Glucagon Like Peptide) ตาม
เป้าหมาย คือ HbA1C ที่เหมาะสม ในช่วง 7.5 – 8.0
•การรักษาเพื่อตรรลุเป้าหมาย ที่น้าตาลไม่ต่า และไม่สูงเกินไป เพื่อป้องกันหลอด
เลือดเสียหาย และป้องกันผลแทรกซ้อน
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
โรคเบาหวาน ข้อควรรู้
• ระดับน้าตาล ที่มากกว่า 250 ถึง 300 mg/dL ร่วมกับการติดเชื้ อ ความเครียด
รุนแรง เสี่ยงต่อการเกิดภาวะเลือดเป็นกรด (Keto acidosis)*
* รู้ได้อย่างไร การตรวจหาคีโตนในปัสสาวะจะบอกได้
• การรับประทานอาหาร คีโต (Keto) (ไขมัน 70% , โปรตีน 20%, แป้ง หรือ
คาร์โบไฮเดรต 10%) ช่วยหรือไม่
คาตอบคือ มีประโยชน์จริง ทาให้ควบคุมน้าตาลได้ดีขึ้น
* แต่ไม่แนะนาให้ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานรับประทานอาหารคีโตในระยะเวลานาน
เพราะเพิ่มโอกาสการเกิดภาวะกรดในเลือดสูง
49
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
ระวังน้าตาลต่า (น้อยกว่า 70 mg/dL)
น้าตาลในเลือดต่า เกิดจากสาเหตุสาคัญ เช่น
• ใช้ยาฉีด อินซูลิน
• รับประทานยาลดน้าตาลแต่ไม่ได้รับประทานอาหาร
• ออกกาลังกายหนักเกินไป
• ระยะห่างระหว่างมื้ ออาหารนานเกินไป
• เครื่องดื่มแอลกอฮอล์จะไปบดบังการมีน้าตาลในเลือดต่า อันตราย
• ใช้หลัก 15 - 15 คือ รับประทานอาหารหวาน 15 กรัม แล้วรอ 15 นาที
50
อาการ เหงื่อแตก ตาพร่ามัว หมดแรง สับสน หน้ามืด เป็นลม
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
ไขมันในเลือดสูง
ผลจากการตรวจไขมันในเลือด ค่ามาตรฐานและการใช้ประโยชน์
51
ที่มา ภาพกราฟฟิ ก การตรวจไขมันในเลือด
(Lipid Profile : Cholesterol,
Triglyceride, HDL, LDL): By MedThai |
POSTED: 1 กุมภาพันธ์ 2018
HDL
Triglyceride
LDL
Total
Cholesterol
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
กรณีตัวอย่าง
• ไขมันในเลือด LDL สูง ระดับ HDL ต่า และ ค่า Triglyceride สูง
• ความเสี่ยงหัวใจและหลอดเลือด
- ปัญหาระดับน้าตาลในเลือด โรคเบาหวาน
- ปัญหาโรคความดันโลหิตสูง
- ประวัติครอบครัว อายุที่เริ่มเกิดปัญหาสุขภาพ (ผู้ชาย < 55 ปี ผู้หญิง < 65 ปี)
- การสูบบุหรี่ การรับควันบุหรี่ทางอ้อม และมลพิษทางอากาศ
- น้าหนักเกิน และ ความอ้วน
- ระดับไขมันไม่ดี (LDL), ไตรกลีเซอร์ไรด์, และ ไขมันดี (HDL)
- การอักเสบในร่างกายและหลอดเลือด (protein (hs-CRP) > or = 2.0 mg/dL)
52
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
สาคัญที่ "เส้นเลือด" • https://novom.ru/en/wa
tch/bx99qQoHk5I
• https://www.youtube.co
m/watch?v=bx99qQoHk5
I#action=share
https://www.mims.co.uk/pcsk9-inhibitor-licensed-risk-
reduction-established-cardiovascular
-disease/cardiovascular-system/article/1465667 53
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
Atherosclerotic Cardiovascular Disease (ASCVD) และความเสี่ยงต่อ
การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
• โรคเส้นเลือดหัวใจตีบ หรืออุดตัน (CHD) เช่น โรคกล้ามเนื้ อหัวใจขาดเลือด
(myocardial infarction), อาการเจ็บเค้นหน้าอก (angina), และ เส้นเลือดหัวใจตีบอย่าง
มาก (coronary artery stenosis > 50%)
• โรคเส้นเลือดสมองแตก, เส้นเลือดสมองตีบ (transient ischemic attack, TIA), โรค
หลอดเลือดที่คอ คาโรติดตีบแคบ (carotid artery stenosis > 50%)
• โรคเส้นเลือดส่วนปลายตีบแคบ (Peripheral artery disease) อาการปวดขาชนิดจาก
หลอดเลือดตีบ (claudication)
• ภาวะเส้นเลือดแดงใหญ่ในช่องท้อง และทรวงอกมีไขมันเกาะ
54
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
ตัวช่วยสุขภาพ ป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด
• โปรแกรม คานวณความเสี่ยง เพื่อการกาหนดแนวทางการดูแลและรักษา
https://www.rama.mahidol.ac.th/cardio_vascular_risk/thai_cv_risk_score/#
regat2
55
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
56
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
คะแนน ASCVD และความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
Ref:
Special Report:
Risk Assessment
Tools for ASCVD
Prevention:
Circulation.
2019;139:
e1162–e1177.
57
ความเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดและหลอดเลือดสมอง ในระยะเวลา 10 ปี
ความเสี่ยงต่า ความเสี่ยงปานกลาง ความเสี่ยงสูง ความเสี่ยงสูงมาก
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
การรักษาด้วยการใช้ยาลดไขมันในเลือด
• ข้อบ่งใช้ยากลุ่ม statin ตามความเสี่ยงโดยแบ่งออกเป็น 2 แนวทาง ได้แก่
1. มีโรคความดันโลหิตสูง ร่วมกับมีความเสี่ยงต่อไปนี้ ≥ 3 ข้อขึ้นไป ได้แก่
* เป็นเพศชายอายุมากกว่า 55 ปี สูบบุหรี่
* มีผลการตรวจร่างกายพบว่าหัวใจห้องล่างซ้ายโต
* มีประวัติโรคหลอดเลือดหัวใจในครอบครัว มีผลการตรวจแอลบูมินในปัสสาวะ
เป็นโรคเบาหวาน มีโรคหลอดเลือดแดงบริเวณอื่น หรือ
* มีสัดส่วนของ total cholesterol/HDL-C ตั้งแต่ 6 ขึ้นไป เสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจมีปัญหา
2. ผู้ป่ วยที่มีโรคความดันโลหิตสูงที่มีผลประเมินความเสี่ยงโดยใช้ THAI CV risk score
แบบประเมินโดยใช้ผลเลือด มีค่าคะแนน ASCVD ≥ 10%
58
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
การออกแบบการออกกาลังกายทางการแพทย์
• ความหนักของการออกกาลังกาย (Intensity of exercise)
คานวณจาก 220 – อายุ (ปี)) เช่น อายุ 20 ปี ชีพจรสูงสุดจะเท่ากับ
220 - 20 ซึ่ง เท่ากับ 200 ครั้งต่อนาที ชีพจรเป้าหมายขณะออกกาลังกาย
จึง อยู่ระหว่าง 70% ของ 200 ซึ่งเท่ากับ 140 และ 80% ของ 200 ซึ่ง
เท่ากับ 160 เป็นต้น
• ระยะเวลาการออกกาลังกาย (duration)
• ความถี่ของการออกกาลังกาย (frequency)
• วิธีการออกกาลังกาย (mode of exercise)
ความแข็งแรง, ความยืดหยุ่น, การทรงตัว
59
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
การออกกาลังกายในผู้ป่ วยโรคเบาหวาน
คาแนะนาในการออกกาลังกายในผู้ป่ วยโรคเบาหวาน
1. ควรที่จะออกกาลังกายแบบ แอโรบิก และการออกกาลังกายเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้ อ
2. ควรออกกาลังกายหลังรับประทานอาหาร ประมาณ 1 – 3 ชั่วโมง และ ควรออกกาลังกาย ให้ได้
ระยะเวลารวมเท่ากับ 150 ถึง 210 นาที ต่อสัปดาห์ ของการออกกาลังกายชนิด แอโรบิก ความหนัก
ปานกลาง ร่วมกับการออกกาลังกายชนิดมีแรงต้าน
3. ควรทราบค่าระดับน้าตาล ค่าระดับน้าตาลในเลือด อยู่ที่
- ต่ากว่า 100 mg/dL จะเป็นระดับน้าตาลในเลือดที่ต่าเกินไปในการที่จะออกกาลังกาย ดังนั้น จึงควร
รับประทานอาหารกลุ่ม คาร์โบไฮเดรท หรือแป้ง หรือรสหวาน
- ที่ระดับ 100 ถึง 250 mg/dL เป็นระดับน้าตาลที่เหมาะสมในการออกกาลังกาย
- ที่ระดับ 250 mg/dL หรือมากกว่า ถือว่าเป็นระดับน้าตาล ที่มีความเสี่ยงสูงมากเกินไป ไม่เหมาะสมที่
จะออกกาลังกาย 60
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
การออกกาลังกายในผู้ป่ วยโรคเบาหวาน
4. ควรตรวจการมีคีโตนในปัสสาวะร่วมด้วย หากระดับน้าตาลในเลือดเท่ากับ 250 mg/dL
5. ควรหยุดการออกกาลังกาย หากพบว่า ระดับน้าตาลในเลือด เท่ากับหรือน้อยกว่า 70
mg/dL หรือ ควรหยุดการออกกาลังกายเมื่อ มีความรู้สึกอ่อนแรง หรือความรู้สึกตัวลดลง
และให้รีบรับประทานน้าตาล จากลูกอม หรือของหวานในปริมาณที่เหมาะสม เพื่อเพิ่ม
ระดับน้าตาลในเลือด
6. ความเสี่ยงต่อการเกิดน้าตาลในเลือดต่าในผู้ป่ วยโรคเบาหวาน ได้แก่ ได้รับอินซูลินก่อน
การออกกาลังกาย, การงดมื้ ออาหาร, การออกกาลังกายเป็นระยะเวลานาน, การออกกาลัง
กายอย่างหนัก (Exercise strenuously)
61
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
การออกกาลังกายในผู้ที่มีปัญหาความดันโลหิตสูง
เหตุผลสาคัญในการออกกาลังกายเพื่อช่วยรักษาและควบคุมค่าความดันโลหิตใน
โรคความดันโลหิตสูง
• จากการวิจัยพบว่า หากสามารถลดค่าความดันโลหิตลงได้ 5 - 7 มิลลิเมตร
ปรอท (mmHg) จะช่วยลดอัตราการเสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือดลงได้
ถึง 20 - 30 เปอร์เซ็นต์
• ควรออกกาลังกายในความหนักปานกลาง (Moderate) เช่น ที่ 40 ถึง น้อยกว่า
60 เปอร์เซ็นต์
62
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
การออกกาลังกายในผู้ที่มีปัญหาความดันโลหิตสูง
• ผลของการลดความดันโลหิต พบว่ามีความสัมพันธ์กับความหนัก ระยะเวลา
และความต่อเนื่องของการออกกาลังกาย
• ควรค่อยๆ เพิ่มความหนักให้มากขึ้นเพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงต่อการเพิ่ม
ความดันโลหิตและผลแทรกซ้อนที่เกิดจากค่าความดันโลหิตสูง
• สมาคมการแพทย์ด้านเวชศาสตร์การกีฬาประเทศสหรัฐอเมริกา (ACSM)
แนะนาให้ผู้ป่ วยโรคความดันโลหิตสูง ควรออกกาลังกาย 3 ถึง 5 วันต่อสัปดาห์
โดยใช้ระยะเวลา 20 - 60 นาที ในระดับ การออกกาลังกายความหนักปาน
กลาง (50 – 90 เปอร์เซ็นต์ ของ อัตราการเต้นหัวใจสูงสุด (HR max))
63
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
การออกกาลังกายในผู้ที่มีปัญหาความดันโลหิตสูง
• ผู้ที่มีปัญหาความดันโลหิตสูง ควรปฏิบัติ ทั้งการอบอุ่นร่างกาย และการผ่อน
คลาย ก่อนหยุดหรือพักการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ เนื่องจาก อาจเกิด
ภาวะความดันโลหิตลดลงอย่างมากทันที หากหยุดการออกกาลังกายกระทันหัน
• การออกกาลังกายที่เหมาะสมได้แก่ การเดิน (walking), การปั่นจักรยาน
(cycling), การว่ายน้า (swimming) เป็นต้น
64
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
โรคเส้นเลือดสมอง (Stroke)
เส้นเลือดสมองตีบ 85 เปอร์เซ็นต์ เส้นเลือดสมองแตก 15 เปอร์เซ็นต์
65
66
เส้นเลือดสมองตีบ แยกตามสาเหตุ
จาก ฐานข้อมูล โรคหลอดเลือดสมอง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
จากไขมันบริเวณ
ผนังเส้นเลือดขนาด
ใหญ่ 31 %
จากลิ่มเลือดที่
มาจากหัวใจ 22 %
เส้นเลือดขนาดเล็ก
ในสมองอุดตัน 37 %
อื่นๆ
10 %
การป้องกันโรคเส้นเลือดสมองผิดปกติ ตีบหรือแตก
• ควบคุม และรักษาความดันโลหิต (ไม่ควรมากกว่า 160/95 มิลลิเมตรปรอท)
• ลดและควบคุมน้าหนัก ค่าดัชนีมวลกาย (body mass index (BMI))
(ควรน้อยกว่า 25 kg/m2)
• ควบคุมระดับน้าตาล รักษาโรคเบาหวาน (ให้ น้อยกว่า 120 mg/dL)
• งดหรือเลิกการสูบบุหรี่ ลดการสัมผัสมลพิษทางอากาศ
• ลดไขมันที่ผิดปกติ
(ลดไตรกลีเซอร์ไรด์ ลดไขมันไม่ดี เพิ่มไขมันดี เพิ่มไขมันไม่อิ่มตัว)
• ออกกาลังกาย เพื่อสุขภาพที่ดีของ เส้นเลือด
• รักษาสุขภาพหัวใจ
67
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
สัญญาณเตือนโรคเส้นเลือดสมอง ตีบ และ แตก
*** ความเงียบที่อันตราย ***
คาที่ ทาให้จาได้ง่ายๆคือ F A S T
F = FACE ชาหรืออ่อนแรงที่ใบหน้า, ตามัวมองเห็นภาพซ้อนหรือเห็นครึ่งซีก
A = ARM อาการแขนขาอ่อนแรงข้างใด ข้างหนึ่ง
S = SPEECH ปากเบี้ยว พูดไม่ชัด พูดลาบาก พูดไม่ได้
T = TIME เวลาที่จะต้องรีบไปโรงพยาบาลให้เร็วที่สุด
โทรสายด่วน 1669 ตลอด 24 ชั่วโมง
68
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
พื้นฐานที่เหมือนกันที่ควรพิจารณา
• ความเสื่อมของเซลล์จากสาเหตุต่างๆ
• การอักเสบในร่างกาย
• การสะสมของของเสีย และสารพิษ
• โภชนาการที่ไม่เหมาะสม
• วิถีการใช้ชีวิตและความเครียด ที่เกิดขึ้นส่งผลต่อเนื่อง
และยาวนาน
69
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
Make Life’s “ SIMPLE “
https://www.heart.org/en/professional/
workplace-health/lifes-simple-7
70
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
เราทาอะไรได้บ้าง
• การวางแผน การตริหารจัดการ การปรัตปรุงและพัฒนา
• การปรัตเปลี่ยน วิถีชีวิต การรัตประทานอาหาร ออกกาลังกาย
การทากิจกรรมที่เหมาะสมในแต่ละวัน (Diary planning)
• การวางแผนผ่านประสตการณ์จริง (Case based management plan
and designs)
• เทคโนโลยี นวัตกรรมเพื่ออานวยความสะดวก และเพื่อสุขภาพ
71
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
แผนการจัดการ การดูแลสุขภาพและการรักษา
• กิจกรรม ที่ควรทา, อาหารที่ควรรับประทาน,
การพักผ่อน
• https://www.active.com/fitness/calculators/nutrition
• คานวณหา พลังงานที่ควรจะเป็น ควรจะได้รัต ควรจะเผาผลาญ
https://www.fatnever.com/bmr/
72
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
ทาให้ได้ดีต้องมีการวางแผน
*** เขียนออกมา และนามาปฏิบัติ *** ** คู่มือสุขภาพดีที่สร้างได้ **
1. รู้จักตนเอง
• อายุ น้าหนัก ส่วนสูง น้าหนักเกิน ความอ้วน
• การสูบบุหรี่
• การพักผ่อน
• ความเครียด ความวิตกกังวล ปัญหาต่างๆ
• การรักษา การบริหารจัดการสุขภาพ และการออกกาลังกาย
2. รู้ตนเองในด้านสุขภาพ
• ระดับน้าตาลในเลือด การควบคุมน้าตาล
• ค่าความดันโลหิต
• ไขมันในเลือด ไขมันดี ไขมันไม่ดี และความเสี่ยง
73
3. รู้สิ่งจาเป็น
• อาหารที่ควรรับประทาน
• การออกกาลังกายที่ควรออก
• อาหารที่ควรจากัด หรือไม่ควร
รับประทาน เช่น
ทอด อาหารมัน อาหารทะเล ลดน้าตาล
ลดของหวาน ลดรสจัด รสเค็ม
• รู้ว่า ตนเอง ไม่ได้ออกกาลังกาย
• รู้ว่านั่งโต้ะทางานนานเกินไป
• รู้ว่าจะดูแลตนเองอย่างไร
• รู้ว่า ใคร จะเป็นที่ปรึกษาได้
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
ตัวอย่างกรณีศึกษาที่น่าสนใจ
• การเปลี่ยนชีวิตเพื่อการมีสุขภาพที่ดีขึ้น ด้วยวิถีคุณภาพ
https://fb.watch/4mg5FHX0w8/ (6.58 นาที)
https://www.youtube.com/watch?v=YQufpUV-2Sw
• Cholesterol
https://youtu.be/inaqswqMDds
74
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
ชวนมาวิเคราะห์ กรณีศึกษาที่น่าสนใจกัน
• เพศชาย อายุ บุคลากรด้านการศึกษา ตรวจสุขภาพพบว่า น้าหนักมาก
อ้วน ทางานต่อเนื่อง ไม่ค่อยได้ออกกาลังกาย แต่สามารถจัดการ
ความเครียดได้ดี
• ตรวจสุขภาพ พบว่า หน้าแข้งบวม แพทย์แจ้งว่าอาจเป็นโรคของหลอด
เลือด
* เขาเอาอะไรมาให้ทาน ผมก็ทาน *
* อ้วนอันตราย *
* ไม่ได้ออกกาลังกาย *
75
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
กรณีศึกษาที่น่าสนใจ
วิธีการเปลี่ยนแปลง *** เพื่อดูแลสุขภาพให้ดีขึ้น ***
• นับแคลอรี่ที่รับประทานอาหาร
• มี อาหารที่ชอบแต่รู้ว่าควรรับประทานเท่าใด ที่เหมาะสมกับ
ร่างกาย
• ควบคุมน้าหนัก
• ออกกาลังกาย ทากันเป็นทีม ออกกาลังกายด้วยความตั้งใจ
(เดินออกกาลังกาย และ ปั่นจักรยาน)
• พัฒนาการออกกาลังกาย 76
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
กรณีศึกษาที่น่าสนใจ
• จัดการความเครียด – ได้ดี - เข้าใจ และ ปรับตัวได้
• ตรวจสอบ ติดตาม
• ใช้เทคโนโลยี เป็นผู้ช่วย
77
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
แอปพลิเคชั่นน่าสนใจ ใช้ควบคุมน้าหนักและอาหารที่รับประทาน
•
CalTracker – สมุดบันทึกแคลอรี่
Calory diary - แคลอรี่ไดอารี่
78
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
การปรับวิถีชีวิต เพื่อการบรรลุผลสาเร็จ
*** บุคลากรคุณภาพ องค์กรคุณภาพ ด้วยสุขภาพดี ***
• กิจกรรมครั้งที่ 1 ตั้งใจเปลี่ยน
• กิจกรรมครั้งที่ 2 วางแผนเปลี่ยน
-สมาชิกวางแผนในการเปลี่ยนแปลง และ แลกเปลี่ยนการวางแผนเปลี่ยน
-มีการบันทึก การรับประทาน และ ลดปริมาณ ข้าว น้าตาล ไขมัน เป็นต้น
-การจัดการสิ่งแวดล้อม บอกคนในครอบครัว และ คนรอบข้าง
-กาหนดแนวทาง แผนการปรับวิถีชีวิต การรับประทานอาหาร ที่ควรลด งด
ที่ควรเพิ่ม เติม และปรับ
-การควบคุมน้าหนัก และ การออกกาลังกาย 79
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
การปรับวิถีชีวิต เพื่อการบรรลุผลสาเร็จ
*** บุคลากรคุณภาพ องค์กรคุณภาพ ด้วยสุขภาพดี ***
• กิจกรรมครั้งที่ 3 หยุดความเสี่ยง
• รู้ เตรียมความพร้อมเพื่อรับ “ สถานการณ์เสี่ยง “
• ทบทวน ตรวจสอบ แก้ไข ทาซ้า
• ขยายผล และ ประชาสัมพันธ์
80
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
รับมือ * สถานการณ์เสี่ยง *
• ช่วงงาน * เลี้ยงปีใหม่ *
- มีของที่น่ากินหลายอย่าง ไม่สามารถลดอาหารได้
- ถ้าไม่กินเวลามีเพื่อนชวน ทาไม่ค่อยได้ เพราะรู้สึกเกรงใจ
- มีคนบอก กินไปเถอะ อย่าคิดมาก ค่อยลดเอา
- มีการลืมกินยาเป็นบางวัน
81
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
สร้าง และ แสวงหา กาลังใจ * คาพูดสร้างพลังใจ *
• จะไม่เป็นอย่าง คนที่ทุกข์จากเตาหวาน (แผลเรื้อรัง, โรคไตวายเรื้อรัง
, คนที่ถูกตัดขาเนื่องจากโรคเตาหวาน)
• จะอยู่ดูหน้าหลาน
• จะให้ของขวัญตัวเอง
• ต้องไม่เพิ่มปริมาณในการกินยา
ที่มา โครงการลการใช้โปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่ วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีค่า HbA1C มากกว่าร้อยละ 7
ต่อระดับน้้าตาลในเลือดสะสม : กรณีศึกษา อ้าเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต้าบลแหลมโตนด
อาเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง 82
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
รูปแบบองค์กร คุณภาพ เพื่อสุขภาพดีของบุคลากรและองค์กร
เพื่อเป้าหมาย
“ บุคลากรคุณภาพ องค์กรคุณภาพ ด้วยสุขภาพดี “
โครงการ Healthy CMU
โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
• https://www.youtube.com/channel/UCREjCcKuI3-pJhcWxAtzaJA
83
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
เดินหน้า พัฒนาไปด้วยกัน
ข้อมูล เพื่อให้คาปรึกษา รูปแบบ แนวทาง
การปฏิบัติ เพื่อเป้าหมาย
** บุคคลสุขภาพดี องค์กรสุขภาพดี **
84
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.
ช่วง ตอบคาถาม
แลกเปลี่ยน ความเห็น ประสบการณ์
เพราะทุกคาถาม ทุกความเห็นและประสบการณ์นั้นสาคัญ
85
Present by Jitisak Poonsrisawat, M.D.

More Related Content

Similar to Being healthy and happy life would designed by yourself

Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับWatpadhammaratana Pittsburgh
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 Phet103
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23Phet103
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตแผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตtassanee chaicharoen
 
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิตTongsamut vorasan
 
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11wichien wongwan
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189Raveewin Bannsuan
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐWC Triumph
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก
 สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก
สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติกUtai Sukviwatsirikul
 
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54Watcharapong Rintara
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Vida Yosita
 
2562 final-project 40
2562 final-project 402562 final-project 40
2562 final-project 40ssuserceb50d
 
(นำเสนอ) สุขศึกษา
(นำเสนอ) สุขศึกษา(นำเสนอ) สุขศึกษา
(นำเสนอ) สุขศึกษาkruictsmp37
 

Similar to Being healthy and happy life would designed by yourself (20)

In side-100 story-001-248[1][19]
In side-100 story-001-248[1][19]In side-100 story-001-248[1][19]
In side-100 story-001-248[1][19]
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตแผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
 
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
 
Home visit palliative care
 Home visit   palliative care Home visit   palliative care
Home visit palliative care
 
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก
 สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก
สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก
 
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 40
2562 final-project 402562 final-project 40
2562 final-project 40
 
(นำเสนอ) สุขศึกษา
(นำเสนอ) สุขศึกษา(นำเสนอ) สุขศึกษา
(นำเสนอ) สุขศึกษา
 

Being healthy and happy life would designed by yourself