SlideShare a Scribd company logo
Nastic movement
Nastic movement
การตอบสนองของพืช
จัดทําโดย
นางสาววรินทร จงเกียรติกาญจน์
เลขที 5 ห้อง 125 ชันมัธยมศึกษาป
ที 6 แผนการเรียนวิทย์-คณิต
เสนอ
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
สํานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 กรุงเทพมหานคร
แบบ
บรรณานุกรม
บรรณานุกรม
ข้อควรรู้เพิมเติม
ข้อควรรู้เพิมเติม
-การตอบสนองตามการเปลียนแปลงความเข้มข้นของแสง
***ทัง2อย่างทีกล่าวมานีก็จัดเปนการเคลือนไหวแบบนาสติก
(Nastic movement) แต่ก็ยังน้อยกว่าการเกิดจากแรงดันเต่ง
จึงถูกจัดประเภทอยู่ในหัวข้อของการเคลือนไหวทีเกิดจากแรงดัน
เต่ง(Turgor movement)***
การตอบสนองของพืชทีเกิดจากการเปลียนแปลงความเต่งของเซลล์
พิเศษทีควรรู้เพิมเติม คือ
Hydronasty เปนการเคลือนไหวของพืชทีตอบสนองเมือพืชขาดนํา
โดยการพับหรือม้วนใบ ซึงเปนการช่วยลดการคายนําโดยลดพืนทีของ
ใบในการรับแสง การพับหรือม้วนของใบเกิดจากการสูญเสียความ
เต่งใน Bulliform cell ทีผิวใบ ซึงเปนเซลล์พิเศษทีมี Cuticle น้อย
มาก จึงสูญเสียนําได้เร็วกว่าเซลล์ผิว(epidermis)อืนๆ
การทํางานของทัง 2 อย่างนี เกิดจากการเคลือนทีของนําเข้าไป
ในเซลล์พิเศษทีทําหน้าทีเกียวกับการเคลือนไหว คือ Motor cells ที
รวมกันเปนเนือเยือพัลวินัส(Pulvinus)กลุ่มเซลล์พวกนีเปนพวก
เซลล์parenchymaทีมีผนังบางและมีขนาดใหญ่ นําจะเข้าออกผ่าน
เซลล์ไม่เท่ากัน เมือเซลล์มีนํามากก็จะเต่ง เซลล์ทีสูญเสียนําก็จะแฟบ
-การหุบและกางของใบทีเกิดจากการสัมผัส
(Seismonasty/Thigmonasty)
(Nyctinasty)หรือการนอนของต้นไม้(Sleep movement)
ภาพที 13 แสดงพัลวินัสทีโคนก้านใบ
ภาพที 14 แสดงตําแหน่ง Bulliform cell
ความแตกต่างของTropic movement
ความแตกต่างของTropic movement
กับ Nastic movement
กับ Nastic movement
(ทีมา:https://www.slideshare.net/oui608/oui60)
(ทีมา:https://www.slideshare.net/meemahidol/4-66403346)
https://www.scimath.org/lesson-biology/item/9432-2018-11-14-08-51-04
https://web.facebook.com/SirinartCenter/photos/pcb.178106508530
8647/1781064878642001/
https://www.slideshare.net/oui608/oui60
https://evaprofebio.jimdofree.com/biology-and-geology-
1st-eso/ud-9-las-plantas/5-relacion-en-plantas/
https://www.brainkart.com/article/More-to-Movement-than-
Growth_35815/
https://www.bodin.ac.th/home/wp-content/uploads/2018/06/act-3.pdf
https://www.tulipstore.eu/en/crocus-flower-record.html
https://www.slideshare.net/Pranruthai/1-16201110
https://www.slideshare.net/ssuser3976c0/15-30756954
http://119.46.166.126/self_all/selfaccess11/m5/biology5_2/lesson4.php
https://hugepdf.com/download/54-5b31def963ff6_pdf
https://ejora.wordpress.com/2020/07/25/%E0%B8%94%E0%B8%AD%
E0%B8%81%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%A7-
%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%
B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%AB
%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A7/
https://www.slideshare.net/oui608/oui60
https://www.slideshare.net/meemahidol/4-66403346
https://postjung.com/tag/%E0%B8%AB%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0
%B8%94%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%84%E0%B9%
89%E0%B8%B2%E0%B8%87
ทังTropic movement และNastic movement เปนการ
ตอบสนองของพืชในรูปแบบการเคลื่อนไหวเนืองจากการ
เจริญเติบโตแบบParatonic movement(การเคลื่อนไหว
เนืองจากสิ่งเร้าภายนอก) แต่ความต่างคือ Tropic
movement เปนการเคลือนไหวทีมีทิศทางสัมพันธ์กับสิง
เร้า แต่Nastic movement เปนการเคลือนไหวทีมีทิศทาง
ไม่สัมพันธ์กับสิงเร้า
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตําแหน่งครูชํานาญการ(คศ.2)
สาขาวิชาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รายวิชาชีววิทยา ว.30245
ภาคเรียนที 1 ปการศึกษา พ.ศ.2564
(Nastic movement/Nasty)
หมายถึง การตอบสนองของพืชในรูปแบบของการเคลือนไหวที
เกิดเนืองจากการเจริญเติบโตของพืชในรูปแบบของParatonic
movement(การเคลือนไหวเนืองจากสิงเร้าภายนอก)ซึงไม่ถูก
กําหนดโดยทิศทางของปจจัยภายนอกทีมากระตุ้น เปนการ
เคลือนไหวทีมีทิศทางไม่สัมพันธ์กับทิศทางของสิงเร้า เปนการ
ตอบสนองของพืชทีมีทิศทางคงทีเช่น การบานของดอกไม้ การ
หุบของดอกไม้ การหุบและกางของใบ
การเคลือนไหวแบบนาสติก
การเคลือนไหวแบบนาสติก
-Epinasty(การบานของดอกไม้)
เกิดจากกลุ่มเซลล์ด้านในหรือด้านบนของกลีบดอกยืดตัวหรือ
ขยายขนาดมากกว่ากลุ่มเซลล์ด้านนอกหรือด้านล่าง
-Hyponasty(การหุบของดอกไม้)
เกิดจากกลุ่มเซลล์ด้านนอกหรือด้านล่างของกลีบดอกยืดตัว
หรือขยายขนาดมากกว่ากลุ่มเซลล์ด้านในหรือด้านบน
#ดอกชมจันทร์(Moon flower) ส่วนมากจะบานในตอนกลางคืน
และหุบในตอนกลางวัน
#ดอกบัว จะบานในตอนกลางวัน และหุบในตอนกลางคืน
#ดอกทิวลิป จะบานเมือได้รับอุณหภูมิสูง จะหุบเมือมีอุณหภูมตําลง
-แสงเปนสิงเร้า(Photonasty)
-แสงเปนสิงเร้า(Photonasty)
การบานของดอกไม้เนืองจากแสงเปนสิงเร้า
-อุณหภูมิเปนสิงเร้า(Thermonasty)
-อุณหภูมิเปนสิงเร้า(Thermonasty)
การบานของดอกไม้เนืองจากอุณหภูมิเปนสิงเร้า
-สัมผัสเปนสิงเร้า(Thigmonasty)
-สัมผัสเปนสิงเร้า(Thigmonasty)
กลางวัน กลางคืน
สิงเร้าทีสําคัญ
สิงเร้าทีสําคัญ
เมือพืชบางชนิดได้รับสิงเร้า เซลล์ด้านในและด้านนอกหรือเซลล์
ด้านบนและด้านล่างของดอกจะเจริญไม่เท่ากัน จึงเกิดการบาน
และหุบของดอก
-กลางวันอุณหภูมิสูงขึน เซลล์ด้านในของกลีบดอกทิวลิปจะเจริญเร็ว
ขึน ทําให้กลีบดอกอ้าออก ดอกจึงบาน
-ตอนเย็นอุณหภูมิลดลง เซลล์ด้านนอกของกลีบดอกเจริญกว่าด้าน
ใน กลีบดอกโค้งเข้า ดอกจึงหุบ
#ดอกโครคัส(Crocus)หรือดอกบัวดินฝรัง จะหุบดอกเมืออุณหภูมิตํา
แต่พออุณหภูมิสูงขึนดอกจะบานออก
#ดอกกระบองเพชร ในเวลากลางวันดอกจะหุบ และจะบานในเวลา
กลางคืน
การหุบและกางของใบเมือการสัมผัสเปนสิงเร้า
#ดอกบัวสวรรค์ ดอกจะบานเมือมีอุณหภูมิสูง และดอกจะหุบเมือมี
อุณหภูมิตําลง
#กาบหอยแครง มีโครงสร้างกับดักคล้ายบานพับแบ่งออกเปน2กลีบ
อยู่ทีปลายใบของแต่ละใบ และมีขนกระตุ้นบางๆบนพืนผิวด้านในกับ
ดัก เมือมีอะไรมาสัมผัสขนกระตุ้น2ครังกับดักจะงับเข้า
***จัดเปนNastic movementด้วย แต่ก็ยังน้อยกว่าเกิดการ
เคลือนไหวจากแรงดันเต่ง(Turgor movement)***
#หยาดนําค้าง เมือมีแมลงหรือมีวัตถุต่างๆมาติดทีปลายปุมขนซึงมี
ของเหลวเหนียวๆ ปุมขนนีจะเคลือนตัวกดหรือจับแมลงและวัตถุไว้
#ไมยราบ จะมีเซลล์ทีโคนก้านใบและโคนก้านใบย่อยซึงมีขนาดใหญ่
กว่าเซลล์อืนๆเรียกว่าพัลวินัส(pulvinus) มีความไวสูงต่อสิงเร้าทีมา
กระตุ้น เช่นการสัมผัส เมือสิงเร้ากระตุ้นจะมีผลทําให้แรงดันเต่ง
เปลียนแปลงอย่างรวดเร็วคือเซลล์จะสูญเสียนําให้กับเซลล์ค้างเคียง
ทําให้ใบหุบลงทันที
- ก กลุ่มเซลล์ด้านนอกขยาย
ขนาดมากกว่าด้านใน
(ดอกไม้หุบ)
- ข กลุ่มเซลล์ด้านใน
ขยายขนาดมากกว่าด้าน
นอก(ดอกไม้บาน)
(ทีมา:https://www.slideshare.net/Pranruthai/1-16201110)
(ทีมา:https://web.facebook.com/SirinartCenter/photo
s/pcb.1781065085308647/1781064878642001/)
(ทีมา:https://www.slideshare.net/oui608/oui60)
(ทีมา:https://evaprofebio.jimdofree.com/biology-and-
geology-1st-eso/ud-9-las-plantas/5-relacion-en-plantas/)
ภาพที 2 Nastic movement
(ทีมา:https://www.brainkart.com/article/More-to-Movement-than-Growth_35815/)
(ทีมา:https://www.bodin.ac.th/home/wp-content/uploads/2018/06/act-3.pdf)
(ทีมา:https://www.tulipstore.eu/en/crocus-flower-record.html)
(ทีมา:http://119.46.166.126/self_all/selfaccess11)
(ทีมา:https://hugepdf.com/download/54-5b31def963ff6_pdf)
(ทีมา:https://hugepdf.com/download/54-5b31def963ff6_pdf)
-ใบไมยราบกางออก
- ใบไมยราบจะหุบเพราะได้รับการสัมผัส
(ทีมา:https://postjung.com/tag/%E0%B8%AB%E0%B8%)
ภาพที 11 การดักจับแมลงของหยาดนําค้าง
ภาพที 1 แสดงการเคลือนไหวแบบนาสติกของดอกไม้
ภาพที 4 แสดงการหุบและบานของดอกชมจันทร์
ภาพที 5 การตอบสนองต่อแสงของดอกบัว
ภาพที 6 แสดงการตอบสนองต่อแสงของดอกกระบองเพชร
ภาพที 7แสดงการหุบและบานของดอกทิวลิป
ภาพที 8 แสดงการหุบและบานของดอกโครคัส
ภาพที 9 แสดงการตอบสนองต่ออุณหภูมิของดอกบัวสวรรค์
ภาพที 10 แสดงการหุบของใบกาบหอยแครงเมือแมลงเข้าไปสัมผัส
ภาพที 12 แสดงการหุบและกางของใบไมยราบเมือได้รับการสัมผัส
(ทีมา:https://www.chrislewiscasey.com/biomimicry-solar-
shade-system/)
ภาพที 3 แสดงการหุบและบานของดอกบัว
กลางคืน
กลางวัน
กลางวัน กลางคืน
อุณหภูมิตํา อุณหภูมิสูง
อุณหภูมิสูง อุณหภูมิตํา

More Related Content

What's hot

อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
Pinutchaya Nakchumroon
 
ธรณีภิบัติภัย
ธรณีภิบัติภัยธรณีภิบัติภัย
ธรณีภิบัติภัย
Mark Pitchayut
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
Thitaree Samphao
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Thitaree Samphao
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
Ta Lattapol
 
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชหน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
Preeda Kholae
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52krukrajeab
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ศิริชัย เชียงทอง
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
โทโต๊ะ บินไกล
 
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blankการรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์BlankThanyamon Chat.
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
พัน พัน
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
Thitaree Samphao
 

What's hot (20)

อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
Resistor
ResistorResistor
Resistor
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ธรณีภิบัติภัย
ธรณีภิบัติภัยธรณีภิบัติภัย
ธรณีภิบัติภัย
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชหน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blankการรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdfMeaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
George638435
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdfMeaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

แผ่นพับ การตอบสนองแบบ Nasty

  • 1. Nastic movement Nastic movement การตอบสนองของพืช จัดทําโดย นางสาววรินทร จงเกียรติกาญจน์ เลขที 5 ห้อง 125 ชันมัธยมศึกษาป ที 6 แผนการเรียนวิทย์-คณิต เสนอ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา สํานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กรุงเทพมหานคร แบบ บรรณานุกรม บรรณานุกรม ข้อควรรู้เพิมเติม ข้อควรรู้เพิมเติม -การตอบสนองตามการเปลียนแปลงความเข้มข้นของแสง ***ทัง2อย่างทีกล่าวมานีก็จัดเปนการเคลือนไหวแบบนาสติก (Nastic movement) แต่ก็ยังน้อยกว่าการเกิดจากแรงดันเต่ง จึงถูกจัดประเภทอยู่ในหัวข้อของการเคลือนไหวทีเกิดจากแรงดัน เต่ง(Turgor movement)*** การตอบสนองของพืชทีเกิดจากการเปลียนแปลงความเต่งของเซลล์ พิเศษทีควรรู้เพิมเติม คือ Hydronasty เปนการเคลือนไหวของพืชทีตอบสนองเมือพืชขาดนํา โดยการพับหรือม้วนใบ ซึงเปนการช่วยลดการคายนําโดยลดพืนทีของ ใบในการรับแสง การพับหรือม้วนของใบเกิดจากการสูญเสียความ เต่งใน Bulliform cell ทีผิวใบ ซึงเปนเซลล์พิเศษทีมี Cuticle น้อย มาก จึงสูญเสียนําได้เร็วกว่าเซลล์ผิว(epidermis)อืนๆ การทํางานของทัง 2 อย่างนี เกิดจากการเคลือนทีของนําเข้าไป ในเซลล์พิเศษทีทําหน้าทีเกียวกับการเคลือนไหว คือ Motor cells ที รวมกันเปนเนือเยือพัลวินัส(Pulvinus)กลุ่มเซลล์พวกนีเปนพวก เซลล์parenchymaทีมีผนังบางและมีขนาดใหญ่ นําจะเข้าออกผ่าน เซลล์ไม่เท่ากัน เมือเซลล์มีนํามากก็จะเต่ง เซลล์ทีสูญเสียนําก็จะแฟบ -การหุบและกางของใบทีเกิดจากการสัมผัส (Seismonasty/Thigmonasty) (Nyctinasty)หรือการนอนของต้นไม้(Sleep movement) ภาพที 13 แสดงพัลวินัสทีโคนก้านใบ ภาพที 14 แสดงตําแหน่ง Bulliform cell ความแตกต่างของTropic movement ความแตกต่างของTropic movement กับ Nastic movement กับ Nastic movement (ทีมา:https://www.slideshare.net/oui608/oui60) (ทีมา:https://www.slideshare.net/meemahidol/4-66403346) https://www.scimath.org/lesson-biology/item/9432-2018-11-14-08-51-04 https://web.facebook.com/SirinartCenter/photos/pcb.178106508530 8647/1781064878642001/ https://www.slideshare.net/oui608/oui60 https://evaprofebio.jimdofree.com/biology-and-geology- 1st-eso/ud-9-las-plantas/5-relacion-en-plantas/ https://www.brainkart.com/article/More-to-Movement-than- Growth_35815/ https://www.bodin.ac.th/home/wp-content/uploads/2018/06/act-3.pdf https://www.tulipstore.eu/en/crocus-flower-record.html https://www.slideshare.net/Pranruthai/1-16201110 https://www.slideshare.net/ssuser3976c0/15-30756954 http://119.46.166.126/self_all/selfaccess11/m5/biology5_2/lesson4.php https://hugepdf.com/download/54-5b31def963ff6_pdf https://ejora.wordpress.com/2020/07/25/%E0%B8%94%E0%B8%AD% E0%B8%81%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%A7- %E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0% B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%AB %E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A7/ https://www.slideshare.net/oui608/oui60 https://www.slideshare.net/meemahidol/4-66403346 https://postjung.com/tag/%E0%B8%AB%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0 %B8%94%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%84%E0%B9% 89%E0%B8%B2%E0%B8%87 ทังTropic movement และNastic movement เปนการ ตอบสนองของพืชในรูปแบบการเคลื่อนไหวเนืองจากการ เจริญเติบโตแบบParatonic movement(การเคลื่อนไหว เนืองจากสิ่งเร้าภายนอก) แต่ความต่างคือ Tropic movement เปนการเคลือนไหวทีมีทิศทางสัมพันธ์กับสิง เร้า แต่Nastic movement เปนการเคลือนไหวทีมีทิศทาง ไม่สัมพันธ์กับสิงเร้า นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตําแหน่งครูชํานาญการ(คศ.2) สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาชีววิทยา ว.30245 ภาคเรียนที 1 ปการศึกษา พ.ศ.2564
  • 2. (Nastic movement/Nasty) หมายถึง การตอบสนองของพืชในรูปแบบของการเคลือนไหวที เกิดเนืองจากการเจริญเติบโตของพืชในรูปแบบของParatonic movement(การเคลือนไหวเนืองจากสิงเร้าภายนอก)ซึงไม่ถูก กําหนดโดยทิศทางของปจจัยภายนอกทีมากระตุ้น เปนการ เคลือนไหวทีมีทิศทางไม่สัมพันธ์กับทิศทางของสิงเร้า เปนการ ตอบสนองของพืชทีมีทิศทางคงทีเช่น การบานของดอกไม้ การ หุบของดอกไม้ การหุบและกางของใบ การเคลือนไหวแบบนาสติก การเคลือนไหวแบบนาสติก -Epinasty(การบานของดอกไม้) เกิดจากกลุ่มเซลล์ด้านในหรือด้านบนของกลีบดอกยืดตัวหรือ ขยายขนาดมากกว่ากลุ่มเซลล์ด้านนอกหรือด้านล่าง -Hyponasty(การหุบของดอกไม้) เกิดจากกลุ่มเซลล์ด้านนอกหรือด้านล่างของกลีบดอกยืดตัว หรือขยายขนาดมากกว่ากลุ่มเซลล์ด้านในหรือด้านบน #ดอกชมจันทร์(Moon flower) ส่วนมากจะบานในตอนกลางคืน และหุบในตอนกลางวัน #ดอกบัว จะบานในตอนกลางวัน และหุบในตอนกลางคืน #ดอกทิวลิป จะบานเมือได้รับอุณหภูมิสูง จะหุบเมือมีอุณหภูมตําลง -แสงเปนสิงเร้า(Photonasty) -แสงเปนสิงเร้า(Photonasty) การบานของดอกไม้เนืองจากแสงเปนสิงเร้า -อุณหภูมิเปนสิงเร้า(Thermonasty) -อุณหภูมิเปนสิงเร้า(Thermonasty) การบานของดอกไม้เนืองจากอุณหภูมิเปนสิงเร้า -สัมผัสเปนสิงเร้า(Thigmonasty) -สัมผัสเปนสิงเร้า(Thigmonasty) กลางวัน กลางคืน สิงเร้าทีสําคัญ สิงเร้าทีสําคัญ เมือพืชบางชนิดได้รับสิงเร้า เซลล์ด้านในและด้านนอกหรือเซลล์ ด้านบนและด้านล่างของดอกจะเจริญไม่เท่ากัน จึงเกิดการบาน และหุบของดอก -กลางวันอุณหภูมิสูงขึน เซลล์ด้านในของกลีบดอกทิวลิปจะเจริญเร็ว ขึน ทําให้กลีบดอกอ้าออก ดอกจึงบาน -ตอนเย็นอุณหภูมิลดลง เซลล์ด้านนอกของกลีบดอกเจริญกว่าด้าน ใน กลีบดอกโค้งเข้า ดอกจึงหุบ #ดอกโครคัส(Crocus)หรือดอกบัวดินฝรัง จะหุบดอกเมืออุณหภูมิตํา แต่พออุณหภูมิสูงขึนดอกจะบานออก #ดอกกระบองเพชร ในเวลากลางวันดอกจะหุบ และจะบานในเวลา กลางคืน การหุบและกางของใบเมือการสัมผัสเปนสิงเร้า #ดอกบัวสวรรค์ ดอกจะบานเมือมีอุณหภูมิสูง และดอกจะหุบเมือมี อุณหภูมิตําลง #กาบหอยแครง มีโครงสร้างกับดักคล้ายบานพับแบ่งออกเปน2กลีบ อยู่ทีปลายใบของแต่ละใบ และมีขนกระตุ้นบางๆบนพืนผิวด้านในกับ ดัก เมือมีอะไรมาสัมผัสขนกระตุ้น2ครังกับดักจะงับเข้า ***จัดเปนNastic movementด้วย แต่ก็ยังน้อยกว่าเกิดการ เคลือนไหวจากแรงดันเต่ง(Turgor movement)*** #หยาดนําค้าง เมือมีแมลงหรือมีวัตถุต่างๆมาติดทีปลายปุมขนซึงมี ของเหลวเหนียวๆ ปุมขนนีจะเคลือนตัวกดหรือจับแมลงและวัตถุไว้ #ไมยราบ จะมีเซลล์ทีโคนก้านใบและโคนก้านใบย่อยซึงมีขนาดใหญ่ กว่าเซลล์อืนๆเรียกว่าพัลวินัส(pulvinus) มีความไวสูงต่อสิงเร้าทีมา กระตุ้น เช่นการสัมผัส เมือสิงเร้ากระตุ้นจะมีผลทําให้แรงดันเต่ง เปลียนแปลงอย่างรวดเร็วคือเซลล์จะสูญเสียนําให้กับเซลล์ค้างเคียง ทําให้ใบหุบลงทันที - ก กลุ่มเซลล์ด้านนอกขยาย ขนาดมากกว่าด้านใน (ดอกไม้หุบ) - ข กลุ่มเซลล์ด้านใน ขยายขนาดมากกว่าด้าน นอก(ดอกไม้บาน) (ทีมา:https://www.slideshare.net/Pranruthai/1-16201110) (ทีมา:https://web.facebook.com/SirinartCenter/photo s/pcb.1781065085308647/1781064878642001/) (ทีมา:https://www.slideshare.net/oui608/oui60) (ทีมา:https://evaprofebio.jimdofree.com/biology-and- geology-1st-eso/ud-9-las-plantas/5-relacion-en-plantas/) ภาพที 2 Nastic movement (ทีมา:https://www.brainkart.com/article/More-to-Movement-than-Growth_35815/) (ทีมา:https://www.bodin.ac.th/home/wp-content/uploads/2018/06/act-3.pdf) (ทีมา:https://www.tulipstore.eu/en/crocus-flower-record.html) (ทีมา:http://119.46.166.126/self_all/selfaccess11) (ทีมา:https://hugepdf.com/download/54-5b31def963ff6_pdf) (ทีมา:https://hugepdf.com/download/54-5b31def963ff6_pdf) -ใบไมยราบกางออก - ใบไมยราบจะหุบเพราะได้รับการสัมผัส (ทีมา:https://postjung.com/tag/%E0%B8%AB%E0%B8%) ภาพที 11 การดักจับแมลงของหยาดนําค้าง ภาพที 1 แสดงการเคลือนไหวแบบนาสติกของดอกไม้ ภาพที 4 แสดงการหุบและบานของดอกชมจันทร์ ภาพที 5 การตอบสนองต่อแสงของดอกบัว ภาพที 6 แสดงการตอบสนองต่อแสงของดอกกระบองเพชร ภาพที 7แสดงการหุบและบานของดอกทิวลิป ภาพที 8 แสดงการหุบและบานของดอกโครคัส ภาพที 9 แสดงการตอบสนองต่ออุณหภูมิของดอกบัวสวรรค์ ภาพที 10 แสดงการหุบของใบกาบหอยแครงเมือแมลงเข้าไปสัมผัส ภาพที 12 แสดงการหุบและกางของใบไมยราบเมือได้รับการสัมผัส (ทีมา:https://www.chrislewiscasey.com/biomimicry-solar- shade-system/) ภาพที 3 แสดงการหุบและบานของดอกบัว กลางคืน กลางวัน กลางวัน กลางคืน อุณหภูมิตํา อุณหภูมิสูง อุณหภูมิสูง อุณหภูมิตํา