SlideShare a Scribd company logo
สารบัญ >>
สารนายกรัฐมนตรี	 	          	     	       	      	    	      	        1
สารรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี	             	 	      2
สารปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี	 	              	      	 	      4
บทความ	 	            	      	     	       	     	     	      	        6
“พระราชด�าริงานวิจัย	พระราชทานให้เมื่อพระชนมพรรษา	๘๓	พรรษา”
คณะผู้บริหาร		       	      	     	       	     	     	      	        	8
วิสัยทัศน์	 	        	      	     	       	      	    	      	        18
พันธกิจ,	ค่านิยม	 	         	     	       	     	     	      	 	      19
เกริ่นน�า	 	         	      	     	       	     	     	      	 	      20
I				การส่งเสริมภาคการเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร		              	 	      23
II			การพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ	 	     37
III			สร้างงาน	สร้างรายได้	พัฒนาชีวิต	ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน	 	 	      61
IV		การเตรียมความพร้อมและรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ	 	      73
V			การสร้างความตระหนักและพัฒนาบุคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์	 	           87
VI		การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์		 	           	 	     107
ภาพข่าวกิจกรรม	 	           	     	       	     	     	      	       118
หน่วยงานในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี		             	 	 	   130
สาร
                                       นายอภิสิทธิ์	เวชชาชีวะ	นายกรัฐมนตรี
                       เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนากระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
                                                   ครบรอบ	๓๒	ปี
                                            วันที่	๒๔	มีนาคม	๒๕๕๔
                                                      --------------
	         	     ในปัจจุบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีก้าวหน้าไปอย่างไม่หยุดยั้ง	ส่งผลให้เกิดความเปลี่ยนแปลง
ในด้านต่างๆ	อย่างกว้างขวาง	รัฐบาลตระหนักดีว่าการพัฒนาประเทศจ�าเป็นต้องพึ่งพาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ที่เหมาะสม	จึงก�าหนดนโยบายด้านวิทยาศาสตร์	 เทคโนโลยี	 การวิจัย	และนวัตกรรมอย่างเป็นระบบ	โดยส่งเสริม
สนับสนุนโครงการวิจัยและพัฒนาตามแนวพระราชด�าริ	 การพัฒนางานวิจัยขั้นพื้นฐานและวิจัยประยุกต์	 เพื่อใช้
ประโยชน์เชิงพาณิชย์	การพัฒนาก�าลังคนเพื่อตอบสนองความต้องการของภาคการผลิต	รวมถึงการวิจัยและพัฒนา	
เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยรวม	นอกจากนี้	 คณะรัฐมนตรียังได้อนุมัตินโยบายและยุทธศาสตร์การ
วจยของชาตฉบบท	๘	(พ.ศ.	๒๕๕๕-๒๕๕๙)	และยทธศาสตรการวจย	(พ.ศ.	๒๕๕๕-๒๕๕๙)	๔	ภมภาค	เพอใหหนวย
  ิั         ิ ั ี่                                 ุ           ์ ิั                     ูิ         ื่ ้ ่
งานต่างๆ	ใช้เป็นแนวทางในการด�าเนินการวิจัยอันจะท�าให้เกิดการบูรณาการเชื่อมโยงระหว่างภาครัฐ	เอกชน	และ
สถาบันวิจัยที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นรูปธรรม
	         	     ผมขอขอบคุณผู้บริหาร	ข้าราชการ	เจ้าหน้าที่	 และผู้ที่เกี่ยวข้องของกระทรวงวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีที่มุ่งมั่น	พยายาม	และรับผิดชอบการด�าเนินงานในฐานะเป็นองค์กรหลักของการพัฒนาวิทยาศาสตร์	
เทคโนโลยีและนวัตกรรม	เพื่อสร้างปัญญาในสังคมและพัฒนาเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศมาอย่างเต็มที่ตลอด
ระยะเวลา	๓๒	ปีที่ผ่านมา	ผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่า	นับจากนี้ไป	กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจะผลักดันผล
งานด้านวิทยาศาสตร์	 เทคโนโลยีและนวัตกรรม	ให้เป็นประโยชน์ต่อชุมชนและประชาชนชาวไทยมากขึ้นอีก	ทั้งนี้	
เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิต	สร้างโอกาสใหม่ๆ	และเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจ	เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและคุณค่าอย่างยั่งยืน
	         	     ในโอกาสครบรอบ	๓๒	ป	วนคลายวนสถาปนากระทรวงวทยาศาสตรและเทคโนโลย	ผมขออวยพรให้
                                         ี ั ้ ั                      ิ        ์            ี
รัฐมนตรี	ผู้บริหาร	ข้าราชการ	เจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้องทุกคน	จงประสบแต่ความสุข	ความเจริญ	มีก�าลังกาย	ก�าลัง
ใจ	เพื่อร่วมสร้างสรรค์และพัฒนางานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศให้ก้าวหน้า	อันจะเป็นประโยชน์
แก่สังคมและประเทศชาติทั้งในปัจจุบันและอนาคต




	      	      	       	      	      	       	      	       (นายอภิสิทธิ์	เวชชาชีวะ)
	      	      	       	      	      	       	      	       						นายกรัฐมนตรี
สาร
                                                         ดร.วีระชัย		วีระเมธีกุล
                                       รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
                        เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนากระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
                                                              ครบรอบ	๓๒	ปี
                                                        วันที่	๒๔	มีนาคม	๒๕๕๔
                                                                --------------
	        	         วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความส�าคัญยิ่งต่อการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของไทย	
ให้ก้าวทันกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกแห่งยุคการใช้องค์ความรู้ใหม่และนวัตกรรม	
	        	         กระทรวงวทยาศาสตรฯ	ไดดาเนนการตามนโยบายรฐบาลดานวทยาศาสตร	เทคโนโลย	และนวตกรรม	
                              ิ               ์ ้� ิ                             ั   ้ ิ        ์       ี    ั
เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าความก้าวหน้านั้นสอดคล้องและสามารถรองรับกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ของประเทศ	อนจะนาไปสการสรางงาน	สรางรายได	และยกระดบคณภาพชวตของประชาชนอยางยงยน	โดยมงเนน
               ั       � ู่              ้        ้             ้              ั ุ    ีิ            ่ ั่ ื     ุ่ ้
การส่งเสริมโครงการวิจัยตามแนวพระราชด�าริและปรัชญา	“เศรษฐกิจพอเพียง”	การขยายผลจากงานวิจัยและ
พฒนาเพอใหเ้ กดประโยชนตอการใชงานจรงในวงกวาง	รวมถงการสรางความตระหนกดานวทยาศาสตรและสงเสรม
  ั        ื่    ิ               ์่         ้       ิ             ้        ึ       ้         ั ้ ิ         ์ ่ ิ
วัฒนธรรมนวัตกรรมในสังคมไทยอย่างต่อเนื่อง			
	        	         ความส�าเร็จในการด�าเนินงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ	เป็นที่ประจักษ์ชัด	โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
การสนับสนุนโครงการตามแนวพระราชด�าริในการพัฒนาระบบจัดการทรัพยากรน�้าเพื่อความมั่นคงของเศรษฐกิจ
ชุมชน		และส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์	สนองพระราชด�าริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ	สยามบรมราชกุมารี		
	        	         ผลงานส�าคัญของกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ	ยังมีผลส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ	สังคม	และความมันคง          ่
ของประเทศในภาพรวม	โดยในด้านเศรษฐกิจ	ได้ด�าเนินโครงการอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทยและภูมิภาค
ให้เป็นนิคมวิจัยส�าหรับธุรกิจอย่างครบวงจร	การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางด้านห้องปฏิบัติการเพื่อสนับสนุน
การส่งออกของไทย	 การเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐ	 ภาควิชาการ	 และภาคเอกชน	 ทั้งในประเทศ
และต่างประเทศในการพัฒนาเทคโนโลยีอาหาร	 เกษตร	 และพลังงานทดแทน	 เป็นต้น	 ส�าหรับทางด้านสังคม	
ไดมการถายทอดเทคโนโลยสชมชนชนบทเพอเสรมสรางเศรษฐกจฐานรากใหเ้ ขมแขงอยางยงยน	การรกษาสงแวดลอม	
    ้ี ่                        ี ู่ ุ                ื่ ิ ้                 ิ           ้ ็ ่ ั่ ื   ั ิ่         ้
และการเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับภัยพิบัติต่าง	ๆ		ในส่วนของการส่งเสริมและรักษาความมั่นคงของประเทศ	
เน้นการน�าเอาเทคโนโลยีไปพัฒนาความเป็นอยู่ของพี่น้องประชาชนและทหารในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ผมขอแสดงความยินดี	 ในโอกาสที่กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ	ได้สถาปนามาเป็นปีที่	 32	และขอเดชะ
พระบารมีแห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ	พระบรมราชินีนาถ	โปรดดลบันดาลให้
ผู้บริหาร	 ข้าราชการ	 พนักงาน	 และเจ้าหน้าที่ทุกท่านประสบความสุข	 ความเจริญ	 สัมฤทธิ์ผลการด�าเนินงาน	
เป็นก�าลังส�าคัญในการพัฒนาชาติไทยสืบไป




	     	      	      	      	      	        	      	       (ดร.วีระชัย		วีระเมธีกุล)
	     	      	      	      	      										รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สาร
                                                      ดร.พรชัย	รุจิประภา
                                         ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
                          เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนากระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
                                                        ครบรอบ	๓๒	ปี
                                                  วันที่	๒๔	มีนาคม	๒๕๕๔
                                                          --------------
	          	       หากมองย้อนกลับไปถึงประวัติศาสตร์ของโลก	จะเห็นได้ว่า	ช่วงเวลาประมาณ	200	ปีที่ผ่านมา	เป็น
ช่วงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว	นับตั้งแต่ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้ถูกน�ามาใช้เพื่อการผลิตซึ่งน�าไป
สู่การปฏิวัติอุตสาหกรรม	และได้กลายเป็นปัจจัยหลักที่ท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างเศรษฐกิจซึ่งท�าให้
มนษยรจกคาวาการเตบโตทางเศรษฐกจ	และทาใหเกดการเปลยนแปลงทางสงคมจากสงคมการเกษตรสสงคมเมอง	
     ุ ์ ู้ ั � ่          ิ                 ิ       � ้ ิ             ี่                  ั          ั                 ู่ ั    ื
ซงการเปลยนแปลงดงกลาวนาไปสการขยายตวของระบอบเศรษฐกจทนนยมผสมกบการปกครองแบบประชาธปไตย
  ึ่          ี่       ั ่ � ู่                    ั                           ิ ุ ิ         ั                                ิ
ไปในประเทศโดยส่วนใหญ่ของโลก			
	          	       ตลอดชวงเวลาดงกลาว	ถงแมวาความรทางวทยาศาสตรและเทคโนโลยจะมจดก�าเนดสวนใหญอยใน
                               ่     ั ่ ึ ้่                 ู้ ิ                ์                ี ีุ         ิ ่          ่ ู่
ประเทศตะวนตก	แตหลายประเทศในเอเชยกไดเรยนรทจะนาวทยาศาสตรและเทคโนโลยมาใชเพอพฒนาเศรษฐกจ
                 ั      ่                      ี ็ ้ ี ู้ ี่ � ิ                       ์                ี ้ ื่ ั                    ิ
และสงคมของตนเอง	ผานทางการกาหนดนโยบายและดาเนนการรวมระหวางภาครฐและภาคสวนตางๆ	ทงจากกรณี
       ั                     ่         �                        � ิ          ่       ่           ั          ่ ่           ั้
ของการสงเสรมอตสาหกรรมและเทคโนโลยรายสาขาโดย	Ministry	of	International	Trade	and	Industry	(MITI)	
             ่ ิ ุ                              ี
กับกลุ่มบริษัทอุตสาหกรรมของประเทศญี่ปุ่น		การท�างานร่วมกันระหว่าง	Korea	Development	Institute	(KDI),	                                 	
Economic	Planning	Board	(EPB)		และ	Korea	Institute	of	Science	and	Technology	(KIST)	กับกลุ่มบริษัท
อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ของประเทศเกาหลีใต้	และกรณีของการประสานงานระหว่าง	Council	for	Economic	Plan-
ning	and	Development	(CEPD)	และ	Minister	of	Economic	Affairs	กับ	Industrial	Technology	Research	
Institute	(ITRI)	ในการก�าหนดทิศทางพัฒนาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมของประเทศไต้หวัน			ซึ่งความร่วมมือใน
การก�าหนดทิศทางของนโยบายและประสานการปฏิบัติงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นปัจจัยส�าคัญที่
ผลักดันให้ประเทศเอเชียเหล่านี้เกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างรวดเร็ว	
	          	       กระทรวงวทยาศาสตรและเทคโนโลย	ในฐานะหนวยงานหลกดานการพฒนาวทยาศาสตร	เทคโนโลยี
                                 ิ         ์               ี               ่             ั ้        ั     ิ           ์
และนวตกรรมของประเทศ	ไดตระหนกถงปจจยทนาไปสความสาเรจดงเชนในกรณของประเทศตางๆ	ทกลาวมา	อน
         ั                         ้      ั ึ ั ั ี่ � ู่                 � ็ ั ่              ี              ่     ี่ ่          ั
ประกอบด้วยการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการวิจัยและการบริหารจัดการเทคโนโลยีร่วมกันระหว่างภาครัฐกับ
ภาคสวนตางๆ		กระทรวงวทยาศาสตรและเทคโนโลยจงเรมตนทจะประสานการวางแผนงานวจยและการใชประโยชน์
      ่ ่               ิ           ์          ี ึ ิ่ ้ ี่                      ิั          ้
ร่วมกันระหว่างหน่วยงานในสังกัดกระทรวงกับหน่วยงานภายใต้กระทรวงอื่นๆ	(เช่น	กระทรวงเกษตรและสหกรณ์	
กระทรวงอุตสาหกรรม	กระทรวงพลังงาน	กระทรวงสาธารณสุข	กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา)	ส�านักงานคณะ
กรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ	 ส�านักงบประมาณ	ภาคเอกชน	และภาคส่วนอื่นๆ	ซึ่งจะเป็นก้าว
แรกที่ส�าคัญในการบูรณาการการท�างานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมกัน	ซึ่งช่วยให้การจัดเตรียมโครงสร้าง
พื้นฐานและก�าหนดหัวข้อวิจัยและพัฒนา	สอดคล้องกับทิศทางและสาขาการผลิตที่ส�าคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมของประเทศ	และช่วยให้วทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้เป็นปัจจัยหลักในการพัฒนาและรักษาเสถียรภาพ
                                  ิ
ทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศต่อไปในอนาคต		
	         กระผมขอขอบคณขาราชการ	พนกงาน	และเจาหนาทหนวยงานในสงกดกระทรวงวทยาศาสตรและเทคโนโลยี
                      ุ ้             ั          ้ ้ ี่ ่        ั ั          ิ         ์
ทกทานทไดรวมกนทมเทการทางานในตลอดชวงป	2553	ทผานมา		พรอมทงขอสงความปรารถนาดไปยงขาราชการ	
  ุ ่ ี่ ้ ่ ั ุ่          �              ่ ี         ี่ ่   ้ ั้ ่                    ี ั ้
พนักงาน	และเจ้าหน้าที่หน่วยงานในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทุกท่านให้ประสบความสุข	ความ
เจริญ	และมีสุขภาพที่แข็งแรง		เพื่อร่วมกันประสานการท�างานอันจะน�าไปสู่การยกระดับการพัฒนาโครงสร้างพื้น
ฐานและการบูรณาการการก�าหนดทิศทางและการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี	 	ซึ่งจะเป็นปัจจัยส�าคัญ
ในการเตรียมความพร้อมของประเทศให้สามารถรองรับต่อการเปลี่ยนแปลงในอนาคต	ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ	สังคม
และสงแวดลอม	และชวยยกระดบขดความสามารถในการแขงขนของไทยในเศรษฐกจโลก	รวมถงสงเสรมความเสมอ
       ิ่    ้      ่        ั ี                         ่ ั             ิ         ึ ่ ิ
ภาคของประชาชนทุกคนในประเทศให้ได้รับสิทธิและคุณภาพชีวิตที่เท่าเทียมกันต่อไป




	     	      	      	      	      	        	       									(ดร.พรชัย	รุจิประภา)
	     	      	      	      	      															ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีี
บทความ
                 “พระราชด�าริงานวิจัย พระราชทานให้เมื่อพระชนมพรรษา ๘๓ พรรษา”

	         นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชย์	 ได้ทรงอุทิศพระองค์ประกอบพระราชกรณียกิจ
ในทุกด้านที่จะก่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ราษฎรและประเทศชาติ	 พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงงานหนัก
ที่สุดพระองค์หนึ่งของโลก	พระราชกรณียกิจที่ทรงปฏิบัติครอบคลุมไปทั่วทุกภูมิภาค	การเสด็จเยี่ยมราษฎรในพื้นที่
ต่างๆ	ทั่วราชอาณาจักร	ท�าให้พระองค์ทอดพระเนตรเห็นสภาพความเป็นจริงและทรงตระหนักถึงปัญหาอันแท้จริง
ของราษฎร	พระองค์ทรงทุ่มเทพระวรกายและพระราชหฤทัยที่จะแก้ปัญหาความเดือดร้อนให้แก่ประชาชนเสมือน
เป็นความทุกข์ส่วนพระองค์	ดังพระราชด�ารัสที่ทรงรับสั่งอยู่เสมอว่า	“ทุกข์ของประชาชน	ก็คือทุกข์ของแผ่นดิน”	
	         ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี	 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนพระราชหฤทัยในวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลย	เพราะทรงเลงเหนวาการพฒนาประเทศและการชวยเหลอราษฎรของพระองคใหมชวตความเปนอยู่
                  ี          ็ ็ ่       ั                      ่       ื                 ์ ้ีีิ       ็
ที่ดีขึ้นนั้น	จะต้องอาศัยความรู้และวิทยาการสมัยใหม่เข้ามาช่วยด้วย	พระองค์ทรงศึกษา	ค้นคว้า	วิจัย		ทดลอง	และ
ทรงน�าความรู้ทางสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในทุกสาขาวิชามาใช้ในการพัฒนา	โดยทรงมุ่งให้เกิดการพัฒนา
คนให้อยู่ได้ด้วยการพึ่งตนเองเป็นส�าคัญ	
	         ทุกๆ	โครงการพระราชด�าริ	 ล้วนมีวิธีด�าเนินการที่ง่าย	ไม่ยุ่งยากซับซ้อน	มีความสอดคล้องกับธรรมชาติ	
สภาพแวดล้อม	และสภาพสังคมของชุมชนนั้นๆ	การน�าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนา	พระองค์
ไม่ทรงปิดกั้นเทคโนโลยีใหม่จากต่างประเทศ	แต่ทรงเน้นว่าจะต้องเลือกใช้เทคโนโลยีที่เป็นประโยชน์มาปรับปรุงใช้
ใหพอเหมาะพอดกบสภาพและฐานะของประเทศ	โดยเนนทประสทธภาพและประหยด	พระองคทรงเหนวาเทคโนโลยี
    ้                ีั                                ้ ี่ ิ ิ                  ั         ์   ็ ่
ของไทยบางอยางยงสตางชาตไมได	แตทรงโปรดใหใชเ้ ทคโนโลยของคนไทย	และประเทศไทยจาเปนตองมเี ทคโนโลยี
                    ่ ั ู้ ่  ิ ่ ้ ่             ้           ี                          � ็ ้
เป็นของตัวเอง	เพื่อเป็นการพิสูจน์ว่าเรามีความรู้เป็นของตัวเองเช่นกัน
	         พระราชด�าริงานวิจัย	 พระราชทานให้เมื่อพระชนมพรรษา	 ๘๓	 พรรษา	 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้คณะบุคคลเข้าเฝ้าฯ	เมื่อวันที่	 ๓๐	กรกฎาคม	๒๕๕๓	ณ	ห้องประชุมชั้น	๑๔	
อาคารเฉลิมพระเกียรติ	โรงพยาบาลศิริราช	สรุปพระราชด�าริ	ความตอนหนึ่งว่า

	        “...ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศเห็นได้ชัด ทั้งทิศทางลม ฝน ฤดูกาล เห็นได้จากแนวฝน
ที่เคลื่อนตัวลงต�่ากว่าเขื่อนภูมิพล ทิศทางลมที่ทาให้เกิดฝนก็เปลี่ยนและวกวนมาก เช่น สัปดาห์นี้ ลมพาฝนมาจาก
                                                �
ทะเลอันดามันพัดไปทางตะวันออกแล้ววกกลับมาตกตอนเหนือของไทย จึงต้องเร่งศึกษาวิจัย แนวทางการศึกษา
ของสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน�้าและการเกษตร (องค์การมหาชน) ที่ท�าเกี่ยวกับอุณหภูมิ และคลื่นในทะเล และ
แบบจ�าลองลม นั้นถูกแล้ว ให้ดาเนินการต่อให้ใช้ได้โดยเร็ว”
                                  �




6 Annual Science and Technology
  Ministry of
              Report 2010
“...การบรหารจดการน�้านน ทสาคญคอจงหวะการ
                    ิ ั           ั้ ี่ � ั ื ั
ปด เปด ระบายหรือรับน�้า เพราะน�้าเมื่อไหลไปแล้วไม่ไหล
ย้อนกลับขึ้นมา จะท�าได้ก็ต้องใช้พลังงานมาก นอกจากนี้
หากเข้าใจธรรมชาติของน�้าอย่างถ่องแท้ ไม่ใช่แค่การไหล
ต้องเข้าใจตั้งแต่น�้าในมหาสมุทรที่อุณหภูมิเปลี่ยน ต่างกัน
จึงเกิดการไหล ระเหยเปนฝนตกลงมา บางส่วนซึมเปน
น�้าใต้ดิน ซึ่งหากเข้าใจศึกษาก็พัฒนาเขื่อนใต้ดิน แหล่งน�้า
ใต้ดินได้ เหมือนที่เชียงดาว หรือแม่ฮ่องสอน และถ้าเข้าใจ
พชชนดตางๆ กสามารถเลอกพชมาปลกใหดดซบ ดง สราง
   ื ิ ่         ็         ื ื          ู ู้ ั ึ ้
และรักษาความชื้นในผิวดินไว้ได้”

	          กระทรวงวทยาศาสตรและเทคโนโลย	ไดดาเนนการ
                       ิ      ์              ี ้� ิ
สนองพระราชดารดงกลาว	มอบหมายใหสถาบนสารสนเทศ
                  � ิั ่                ้ ั
ทรัพยากรน�้าและการเกษตร	 (องค์การมหาชน)	 ร่วมกับ	
ส� า นั ก งานพั ฒ นาเทคโนโลยี อ วกาศและภู มิ ส ารสนเทศ	
(องค์ ก ารมหาชน)	 ศึ ก ษาวิ จั ย การเปลี่ ย นแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ	จัดท�าฐานข้อมูลการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศเพื่อน�ามาประกอบการบริหารจัดการน�้า	ส�าหรับเรื่อง
แหล่งน�้าใต้ดิน	สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน�้าและการเกษตร	(องค์การมหาชน)	ได้ด�าเนินการร่วมกับสถาบัน
เทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ	(องค์การมหาชน)	สถาบันการศึกษา	และ	International	Atomic	Energy	Agency	
(IAEA)	ดาเนนงานโครงการประยกตใชไอโซโทปและเคมเทคนคเพอบรหารจดการทรพยากรนาบาดาล	พนทลมนาชี
            � ิ                   ุ ์ ้              ี ิ ื่ ิ ั                  ั      �้       ื้ ี่ ุ่ �้
ตอนบน	ส่วนที่	๑	และ	๒	จังหวัดชัยภูมิ
	          นอกจากน	กระทรวงวทยาศาสตรและเทคโนโลย	ยงไดเ้ ขาไปมสวนสนองโครงการในพระราชดาร	ดวยการนา
                    ี้          ิ        ์            ี ั ้ ี่                                � ิ ้          �
ผลงานวิจัย	วิทยาศาสตร์	เทคโนโลยี	และนวัตกรรม	สนับสนุนโครงการในพระราชด�าริต่างๆ	ให้ประชาชนในชนบท
ได้รับผลอย่างเป็นรูปธรรม	 เพิ่มรายได้	 และปรับปรุงความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น	 ซึ่งเห็นได้จากผลงาน/โครงการต่างๆ	
ที่ปรากฏในรายงานประจ�าปี	พ.ศ.	๒๕๕๓	ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเล่มนี้




                                                                      รายงานประจ�าแปี 2553 7
                                                                        กระทรวงวิทยาศาสตร์ ละเทคโนโลยี
คณะผู้บริหาร >>



              ส�นักงานรัฐมนตรี
               า



                                     ดร.วีระชัย วีระเมธีกุล
           รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี




    นายสุรเชษฐ์ แวอาแซ              นายอนุชา จันทร์สุริยา         นายก้องศักดิ์ ยอดมณี
      ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการ        เลขานุการรัฐมนตรีว่าการ         ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี




  8 Annual Science and Technology
    Ministry of
                Report 2010
ส�นักงานปลัด
                                า
         กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

    ดร.พรชัย รุจิประภา
    ปลัดกระทรวง




รศ.ดร.วีระพงษ์ แพสุวรรณ       นางสาวเสาวณี มุสิแดง
     รองปลัดกระทรวง              รองปลัดกระทรวง




 ดร.สุทธิเวช ต.แสงจันทร์      นางนันทวรรณ ชื่นศิริ
หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวง    ผู้ตรวจราชการกระทรวง




                                รายงานประจ�าแปี 2553 9
                                  กระทรวงวิทยาศาสตร์ ละเทคโนโลยี
คณะผู้บริหาร >>

               กรมวิทยาศาสตร์บริการ




               นายเกษม พิฤทธิ์บูรณะ       นางสาวจันทร์เพ็ญ ใจธีรภาพกุล
                          อธิบดี                      รองอธิบดี



               ส�นักงานปรมาณูเพื่อสันติ
                า




ศ.เกียรติคุณ ดร.ชัยวัฒน์ ต่อสกุลแก้ว   นายวิเชียร วงษ์สมาน        นางประไพพิศ สุปรารภ
              เลขาธิการ                    รองเลขาธิการ            รักษาการรองเลขาธิการ




   10 Annual Science and Technology
      Ministry of
                  Report 2010
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
                                    แห่งประเทศไทย




 นางเกษมศรี หอมชื่น          ดร.ลักษมี ปลั่งแสงมาศ                ดร.สุทธิพร ชีวสาธน์
         ผู้ว่าการ           รองผู้ว่าการบริการอุตสาหกรรม        รองผู้ว่าการวิจัยและพัฒนา
                                                                   ด้านพัฒนาอย่างยั่งยืน




ดร.สุภาพ อัจฉริยศรีพงศ์      ดร.อนุชา เล็กสกุลดิลก                นายชวลิต ลีลาศิวพร
 รองผู้ว่าการวิจัยและพัฒนา       รองผู้ว่าการบริหาร         รองผู้ว่าการยุทธศาสตร์และพัฒนาธุรกิจ
  ด้านอุตสาหกรรมชีวภาพ




                                                      รายงานประจ�าแปี 2553 11
                                                        กระทรวงวิทยาศาสตร์ ละเทคโนโลยี
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ




                ดร.พิชัย สนแจ้ง    นายธนากร พละชัย
                  ผู้อานวยการ
                      �               รองผู้อ�นวยการ
                                             า




             นายมานพ อิสสะรีย์     นายสาคร ชนะไพฑูรย์
                 รองผู้อ�นวยการ
                        า             รองผู้อ�นวยการ
                                             า




12 Annual Science and Technology
   Ministry of
               Report 2010
ส�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
                             า
                                  และเทคโนโลยีแห่งชาติ




   ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล                 ศ.ดร.มรกต ตันติเจริญ               ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล
            ผู้อานวยการ
                �                                รองผู้อานวยการ
                                                        �                           รองผู้อานวยการ
                                                                                           �




  ดร.ชฎามาศ ธุวะเศรษฐกุล                  ดร.กัญญวิมว์ กีรติกร           รศ.ดร.วีระศักดิ์ อุดมกิจเดชา
          รองผู้อ�นวยการ
                 า                       ผู้อ�นวยการศูนย์พันธุวิศวกรรม
                                             า                               ผู้อานวยการศูนย์เทคโนโลยีโลหะ
                                                                                 �
                                          และเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ                 และวัสดุแห่งชาติ




  ดร.พันธ์ศักดิ์ ศิริรัชตพงษ์           ศ.นพ. สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล             ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล
      ผู้อ�นวยการศูนย์เทคโนโลยี
          า                          ผู้อานวยการศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ
                                         �                                       รักษาการผู้อ�นวยการ
                                                                                             า
อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ                                          ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี



                                                                  รายงานประจ�าแปี 2553 13
                                                                    กระทรวงวิทยาศาสตร์ ละเทคโนโลยี
สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ




          พล.อ.ต. ดร.เพียร โตท่าโรง   นายสมศักดิ์ ฉากเขียน
                   ผู้อ�นวยการ
                       า                  รองผู้อานวยการ
                                                 �


           ส�นักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์
            า
           เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ




            ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์     ดร.ญาดา มุกดาพิทักษ์
                    เลขาธิการ              รองเลขาธิการ



14 Annual Science and Technology
   Ministry of
               Report 2010
ส�นักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ
 า
                            (องค์การมหาชน)




              ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา นายชาญชัย เพียรวิจารณ์พงศ์
                     รักษาการผู้อ�นวยการ
                                 า                          รองผู้อานวยการ
                                                                   �




   ดร.สุรชัย รัตนเสริมพงศ์         นางปราณีต ดิษริยะกุล               นายสามารถ ดวงวิจิตรกุล
        รองผู้อ�นวยการ
               า                           รองผู้อ�นวยการ
                                                  า                          รองผู้อานวยการ
                                                                                    �




                                                            รายงานประจ�าแปี 2553 15
                                                              กระทรวงวิทยาศาสตร์ ละเทคโนโลยี
สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)




     ศ.ดร.ประสาท สืบค้า            นายศักดา เจริญ       ดร.สิรินาฏ เลาหะโรจนพันธ์
       รักษาการผู้อ�นวยการ
                   า                รองผู้อ�นวยการ
                                           า                   รองผู้อ�นวยการ
                                                                      า


            สถาบันวิจัย                        สถาบันสารสนเทศ
            แสงซินโครตรอน               ทรัพยากรน�และการเกษตร
                                                 ้า
            (องค์การมหาชน)                      (องค์การมหาชน)




   รศ.ดร.ประยูร ส่งสิริฤทธิกุล                       ดร.รอยล จิตรดอน
         รักษาการผู้อ�นวยการ
                     า                                  ผู้อ�นวยการ
                                                            า



16 Annual Science and Technology
   Ministry of
               Report 2010
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ(องค์การมหาชน)




รศ.บุญรักษา สุนทรธรรม           ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา              นายภัทรวรรธน์ อาจองค์
      ผู้อ�นวยการ
          า                            รองผู้อานวยการ
                                              �                         รองผู้อ�นวยการ
                                                                               า



              ส�นักงานนวัตกรรมแห่งชาติ(องค์การมหาชน)
               า




                    ดร.ศุภชัย หล่อโลหการ                ดร.วันทนีย์ จองค�
                                                                        า
                         ผู้อ�นวยการ
                             า                ผู้อ�นวยการฝ่ายส่งเสริมวัฒนธรรมนวัตกรรม
                                                  า




                                                           รายงานประจ�าแปี 2553 17
                                                             กระทรวงวิทยาศาสตร์ ละเทคโนโลยี
วิสัยทัศน์ >>


“   เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อสร้างปัญญาในสังคม
    สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และความสามารถ
    ในการแข่งขันของประเทศอย่างยั่งยืน
                                                   “
        เป็ น องค์ ก รหลั ก ในการพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์
<< พันธกิจ
      1. เสนอแนะนโยบาย จัดท�ยุทธศาสตร์และแผนด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ
                                  า
นวัตกรรม
      2. ริเริ่ม เร่งรัด ผลักดันและด�เนินการวิจัยและพัฒนา เพื่อสร้างองค์ความรู้ และ
                                    า
สร้างผลกระทบเชิงเศรษฐกิจและสังคม รวมทังพัฒนาโครงสร้างพืนฐานด้านวิทยาศาสตร์
                                            ้                 ้
เทคโนโลยีและนวัตกรรม
      3. ร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ สร้างคนดีและเก่งในทุกระดับ รวมทั้งสร้างความ
ตระหนักด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ให้แพร่หลายและเป็นที่ยอมรับ
      4. สร้างระบบสนับสนุนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อสามารถสร้างปัญญา เข้าถึงความรู้ใหม่ๆ และน�ภูมิปัญญาไทยมาใช้ผสมผสานกันได้
                                                  า
      5. สนับสนุนให้มการถ่ายทอดเทคโนโลยี และสร้างนวัตกรรมให้แก่ภาคการผลิตและ
                        ี
บริการ รวมทังบริการสังคมด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพือเพิมผลิตภาพ
               ้                                                     ่ ่
ทางเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตของประชาชน



                                                                   << ค่านิยม
MOST :
M    =     merit , modernization (สร้างสรรค์สิ่งดีงาม และทันสมัยอยู่เสมอ)
O    =     outcome – oriented (มุ่งประโยชน์ของชาติเป็นหลัก)
S    =     social accountability (มีส�นึกรับผิดชอบต่อสังคม)
                                     า
T    =     transparency (โปร่งใสตรวจสอบได้)
           teamwork (มีการท�งานร่วมกันทั้งองค์กร เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน)
                            า
เกริ่นน�า                                                             วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี	 เนื่องจากที่ผ่านมางาน

 	ภ                  ายหลงการเขารบตาแหนงของ	ดร.วระชย	 วิ จั ย จะถู ก ริ เริ่ ม และจ� า กั ด อยู ่ แ ต ่ เ ฉพาะในมุ ม ของ
                              ั        ้ ั �          ่          ี ั
                     วี ร ะเมธี กุ ล 	 รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวง นกวทยาศาสตรซงทางานในหองปฏบตการ	และกระทรวง
                                                                        ิ
                                                                              ั ิ
 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี	 (วท.)	คนที่	 29	ในช่วง วทยาศาสตรและเทคโนโลยไมมหนวยงานประจาอยใน          ์
                                                                                                        ์ ึ่ �                ้ ิ ัิ
                                                                                                                             ี ่ี ่                        � ู่
 ครงปหลงของปงบประมาณ	2553	กระทรวงวทยาศาสตร์ ต่างจังหวัด	ท�าให้มีการน�าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
     ึ่ ี ั             ี                                    ิ
 และเทคโนโลยี	 ได้ปรับกลยุทธ์ในการท�างานเพื่อให้ ไม่ได้อย่างเต็มที่หรือเต็มศักยภาพ	ดังนั้น	กระทรวง
 สอดคล้องกับทิศทางและนโยบายที่รัฐมนตรีว่าการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี	 จึงได้ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์
 กระทรวงวทยาศาสตรและเทคโนโลย	ี ทานใหมมอบหมาย	 การทางาน	โดยใหความสาคญกบการสรางเครอขายการ
                ิ               ์                   ่          ่                           �                    ้     � ั ั                 ้ ื ่
 โดยนอกจากการให้ความส�าคัญสูงสุดในการสืบสาน ทางานรวมกบภาคเอกชน	ภาคประชาสงคม	ภาควชาการ	
                                                                               �              ่ ั                                         ั                 ิ
 แนวพระราชด�าริในการน�าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่		เพื่อให้
 มาใช้เพื่อการพัฒนาประเทศ	และการสานต่อโครงการ เกิดการท�างานร่วมกันอย่างบูรณาการในการก�าหนด
 ตามพระราชด�าริฯ	แล้ว	กระทรวงวิทยาศาสตร์และ โจทย์วิจัยและการน�าผลงานวิจัยไปใช้ให้เกิดประโยชน์
 เทคโนโลยี	 ยังได้ให้ความส�าคัญกับการน�าวิทยาศาสตร์ สงสด	ไมวาจะเปน	ดาน	การเกษตร	อาหาร	พลงงานและ
                                                                          ู ุ ่่                          ็ ้                                        ั
 และเทคโนโลยีลงไปสู่พี่น้องประชาชนในชุมชนระดับ สงแวดลอม	การรบมอการเปลยนแปลงสภาพภมอากาศ	
                                                                           ิ่                  ้              ั ื              ี่                      ูิ
 รากหญ้า	และไปสู่ผู้ประกอบการโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การสรางศกยภาพชมชนดวยวทยาศาสตรและเทคโนโลยี	    ้ ั                  ุ    ้ ิ                   ์
 ขนาดกลาง	ขนาดเล็ก	และวิสาหกิจชุมชน		                                  การสงเสรมผประกอบการดวยนวตกรรม	และสรางความ
                                                                                          ่ ิ ู้                          ้ ั                          ้
 	          ทั้งนี้	โดยมุ่งหวังให้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เชอมนในระดบนานาชาต	ตลอดจนพฒนากาลงคนและ
                                                                                    ื่ ั่           ั                   ิ               ั         � ั
 เป็นครื่องมือส�าคัญอีกประการหนึ่งในการลดรายจ่าย	 สรางความตระหนก	ซงจะนาไปสการพฒนาวทยาศาสตร์
                                                                                      ้                        ั ึ่ � ู่ ั                         ิ
 สร้างงาน	สร้างรายได้	และพัฒนาคุณภาพชีวตของพีนอง และเทคโนโลยีของประเทศในอนาคต
                                                           ิ      ่้
 ประชาชนในชนบท	รวมทั้งเป็นกลไกส�าคัญในการเพิ่ม 	                                               การสร้างศักยภาพของชุมชนและเสริมสร้าง
 ศกยภาพของผประกอบการ	ยกระดบขดความสามารถใน ความแข็งแกร่งให้แก่เศรษฐกิจชุมชนด้วยวิทยาศาสตร์
   ั                 ู้                         ั ี
 การแขงขนของประเทศ	และผลกดนการพฒนาเศรษฐกจ และเทคโนโลยี	 เป็นอีกเรื่องที่กระทรวงวิทยาศาสตร์
         ่ ั                                ั ั          ั           ิ
 และสังคมไทยไปสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์และสังคมฐาน และเทคโนโลยี	ให้ความส�าคัญและพยายามสร้างกลไก
 ความเชอ	เพอการพฒนาประเทศใหกาวหนาอยางยงยน เชอมโยงใหงานวจยถกนาไปใชไดจรงในชมชนระดบราก
          ื่ ื่             ั                    ้ ้ ้ ่ ั่ ื                    ื่              ้ ิั ู �                         ้ ้ ิ ุ                     ั
 ตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ                                            หญา	ดวยการสรางเครอขายการทางานรวมกบสถาบน
                                                                                        ้ ้                 ้       ื ่               �        ่ ั              ั
 	          การน� า วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ล งไปสู ่ วิชาการและอาสาสมัครวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี	
 ชุมชนกลายเป็นโจทย์ใหม่ที่ท้าทายส�าหรับกระทรวง (อสวท.)	การนาวทยาศาสตรและเทคโนโลยลงไปจดแสดง	           � ิ                  ์                    ี        ั




20 Annual Science and Technology
   Ministry of
               Report 2010
เผยแพร่ แ ละฝึ ก อบรมให้ กั บ ประชาชนถึ ง ในพื้ น ที่
ผานโครงการคาราวานเทคโนโลย	ี การสงเสรมและพฒนา
  ่                                              ่ ิ          ั
หมู่บ้านแม่ข่ายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อเป็น
ศนยการเรยนรชมชนทางดานวทยาศาสตรขนในภมภาค
        ู ์ ี ู้ ุ                ้ ิ               ์ ึ้ ู ิ
ต่าง	ๆ		โดยเน้นการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่สามารถเสริม
สร้างอาชีพให้คนในชุมชน	ยกระดับมาตรฐานการผลิต
สินค้าและบริการของชุมชน		และสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่
วัตถุดิบหรือของเหลือใช้	“ขยะ”	ที่มีอยู่ในท้องถิ่น			
	             อย่างไรก็ตาม	นอกจากการผลักดันให้เกิดการน�า
วิทยาศาสตร์	 เทคโนโลยีและนวัตกรรม	ไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ	สังคม	และ
สิ่งแวดล้อมแล้ว		สิ่งส�าคัญที่ขาดไม่ได้คือก�าลังคน	หรือ
นักวิทยาศาสตร์ที่เป็นหัวใจส�าคัญในการสร้างงานวิจัย
และพฒนา	ดงนน	กระทรวงวทยาศาสตรและเทคโนโลยี
            ั       ั ั้              ิ           ์
ยังได้มุ่งมั่นในการน�าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีลงไป
สู่เด็กและเยาวชน		ผ่านกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ใน
รูปแบบต่าง	ๆ	ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน	ทั้งนี้	
เพื่อเป็นการสร้างความตระหนักทางด้านวิทยาศาสตร์
ใหกบสงคมไทย		กระตนความสนใจและการเรยนรทาง
         ้ั ั                ุ้                            ี ู้
ดานวทยาศาสตรของเดกและเยาวชน		และสงเสรมการ
       ้ ิ                 ์    ็                         ่ ิ
พัฒนาบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี	 เพื่อ
รองรับความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจ	สังคม	และ
สงแวดลอมของประเทศในอนาคตนนเปนเพยงสวนยอย
    ิ่        ้                               ั้ ็ ี ่ ่
ของการทางานในรอบป	ี 2553	ของกระทรวงวทยาศาสตร์
                �                                       ิ
และเทคโนโลย	ซงประกอบดวยหนวยงานตางๆ	กวา	14	
                      ี ึ่          ้       ่         ่         ่
หนวยงาน	ซงแบงหนาทความรบผดชอบตามงานทถนด	
          ่       ึ่ ่ ้ ี่             ั ิ                       ี่ ั
ซึ่งจะสรุปโดยแยกเป็นกลุ่มงานที่น่าสนใจต่อไป		




                                                                         รายงานประจ�าแปี 2553 21
                                                                           กระทรวงวิทยาศาสตร์ ละเทคโนโลยี
การส่งเสริมภาคการเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร
I. การส่งเสริมภาคการเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร
	         ในสถานการณ์ปจจุบน	ต้องยอมรับว่าภาคเกษตรกรรม
                        ั ั                                   ความหมายมากกว่าอาหารส�าหรับด�ารงชีวต	แต่ขาวคือวิถชวต        ิ               ้         ีีิ
และอุตสาหกรรมอาหารเป็นภาคเศรษฐกิจหลักของประเทศ	               ทีผกพันกับคนไทยมาอย่างยาวนาน	โดยกระทรวงวิทยาศาสตร์
                                                                  ู่
เนืองจากเกียวข้องกับวิถชวตและปากท้องของคนส่วนใหญ่ของ
     ่         ่       ีีิ                                    และเทคโนโลยีได้ให้การสนับสนุนงานวิจยและพัฒนาพันธุขาว      ั                           ์้
ประเทศ	และสร้างรายได้หลักให้กับประเทศด้วยมูลค่าการส่ง         ให้ได้ผลผลิตต่อไร่สง	ต้านทานโรคแมลง	ทนต่อสภาพภูมอากาศ
                                                                                           ู                                                    ิ
ออกมากกว่าแสนล้านบาทต่อปี	 	อีกทั้งยังเป็นภาคเศรษฐกิจ         ที่เปลี่ยนแปลงไม่ว่าจะเป็นภัยแล้ง	หรือน�้าท่วม	จนกระทั่งได้
ที่อาศัยทรัพยากร	วัตถุดิบ	แรงงาน	และเทคโนโลยีภายใน            พันธุ์ข้าวตัวอย่างแจกจ่ายให้กับเกษตรกร
ประเทศในสัดส่วนทีสง	และมีแนวโน้มในการเติบโตสูงอย่างต่อ
                    ู่                                        	          ต้องยอมรับว่าปัญหาส�าคัญประการหนึงทีมาพร้อมกับ                 ่ ่
เนื่อง		แต่ขณะเดียวกันก็ยังมีประเด็นที่ท้าทายหลายประการ	      อุทกภัย	คือ	ผลผลิตข้าวเสียหายเนื่องจากน�้าท่วมพื้นที่นาข้าว	
ซึ่งอาจท�าให้ศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันของ           ซึงนอกจากส่งผลกระทบต่อเกษตรกรเจ้าของทีนาแล้ว	ยังส่งผล
                                                                ่                                                                   ่
ประเทศลดลง	หากไม่มีการปรับตัว	และพัฒนาให้ก้าวหน้าไป           กระทบโดยตรงต่อเศรษฐกิจของประเทศ	เนืองจากประเทศไทย             ่
อย่างต่อเนื่อง	                                               ส่งออกข้าวเป็นอันดับ	1	ของโลก	
	         การน�าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้เพือสร้างความ
                                               ่              	          ด้วยเหตุน	กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี	โดย
                                                                                             ี้
เข้มแข็งเพือยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันจึงกลายเป็น
           ่                                                  ศูนย์พนธุวศวกรรมและเทคโนโลยีชวภาพแห่งชาติ	(ไบโอเทค)	
                                                                      ั ิ                                    ี
สิงจ�าเป็นทีจะหนุนภาคเกษตรและอุตสาหกรรมอาหารของไทย
   ่         ่                                                ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ	(สวทช.)	
ให้ก้าวไปข้างหน้า	และสามารถยืนหยัดอยู่บนเวทีโลกได้อย่าง       จึงได้พฒนาและปรับปรุงพันธุขาวให้มคณสมบัตทนต่อภาวะน�า
                                                                       ั                             ์้           ีุ                  ิ                   ้
ยั่งยืนและสง่างาม                                             ท่วมด้วยเทคโนโลยีชวภาพร่วมกับวิธการผสมพันธุแบบดังเดิม	
                                                                                                ี              ี                            ์     ้
                                                              จนได้สายพันธุ	“ข้าวหอมชลสิทธิ์	ทนน�าท่วมฉับพลัน”	ที่เป็น
                                                                                      ์                               ้
1.1 ภาคการเกษตร                                               ลูกผสมระหว่างข้าวทนน�าท่วมกับข้าวขาวดอกมะลิ	105	สามารถ
                                                                                                   ้
                                                              ทนต่อภาวะน�าท่วมฉับพลันได้นาน	2	สัปดาห์	และให้ผลผลิต
                                                                                ้
	        เกษตร	คือ	ภาคการผลิตพืชอาหารทีสาคัญของประเทศ	
                                           ่�                 สูงถึง	900	กิโลกรัมต่อไร่	เหมาะกับพืนทีปลูกข้าวในภาคกลาง	
                                                                                                                 ้ ่
แต่ดวยสภาพการเปลียนแปลงของภูมอากาศท�าให้ภยธรรมชาติ
     ้               ่             ิ           ั              ทั้งยังเป็นพันธุ์ข้าวที่สามารถปลูกได้ตลอดทั้งปี	 โดยกระทรวง
มีความรุนแรงและมีความถี่มากขึ้น	โดยพืชที่ได้รับผลกระทบ        วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี	 ได้ทดลองปลูกข้าวสายพันธุ์ใหม่
ในวงกว้างได้แก่	 ข้าว	ซึ่งที่ผ่านมาผู้ผลิตรายใหญ่	 ไม่ว่าจะ   ทีได้จากการวิจยร่วมกับเกษตรกร	เพือหาแนวทางในการแจกจ่าย
                                                                  ่                 ั                      ่
เป็น	อินเดีย	จีน	เวียดนาม	รวมทั้งไทย	ล้วนประสบปัญหาภัย        พันธุ์ข้าวทนน�าท่วมต่อไป
                                                                                  ้
ธรรมชาติกระทบการผลิต	ส่งผลให้สต๊อกข้าวของโลกลดลงจึง           	          ทั้งนี้	 ไบโอเทคได้ให้ความส�าคัญและด�าเนินงานวิจัย
เป็นสาเหตุท�าให้นานาประเทศหวันวิตกว่าจะกระทบกับความ
                                 ่                            และพัฒนาด้านการปรับปรุงพันธุขาวด้วยวิธการทางเทคโนโลยี
                                                                                                        ์้                    ี
มั่นคงทางอาหารของโลก	                                         ชีวภาพอย่างต่อเนือง	ตังแต่ป	2532	และได้เข้าร่วม	“โครงการ
                                                                                          ่ ้ ี
                                                              วิจยจีโนมข้าวนานาชาติ”	ในปี	2542	เพือเพิมศักยภาพการวิจย
                                                                    ั                                                ่ ่                                ั
	        1.1.1	การพัฒนาพันธุ์ข้าว		                           ด้าน	whole-genome	sequencing	ของนักวิจัยไทย	และ
	        กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี	เล็งเห็นถึงปัญหา      สามารถน�าความรูจากการเข้าร่วมโครงการฯ	ไปเป็นประโยชน์
                                                                                        ้
ดังกล่าวและได้ให้ความส�าคัญกับภาคการเกษตรและความมันคง่        ส�าหรับการพัฒนาพันธุขาว	โดยเฉพาะอย่างยิงการค้นหายีน	ที่
                                                                                                  ์้                              ่
ด้านอาหาร	โดยเฉพาะ	“ข้าว”	ซึ่งถือเป็น	”หัวใจ”	ส�าคัญที่มี     ส�าคัญในข้าวไทย	และการพัฒนาดีเอ็นเอเครืองหมายทีควบคุม             ่             ่

                                                                                      รายงานประจ�าแปี 2553 25
                                                                                        กระทรวงวิทยาศาสตร์ ละเทคโนโลยี
แปลงปลูกข้าวน�้าท่วมนาน 7 วัน                                 แปลงปลูกข้าวหลังน�้าลด พันธุ์หอมชลสิทธิ์
                                                                                   (ภาพบน) และพันธุ์ กข31 (ภาพล่าง)

           พื้นที่ปลูกข้าวเปรียบเทียบระหว่างพันธุ์หอมชลสิทธิ์ (ทนน�้าท่วม) และพันธุ์ กข31 (ไม่ทนน�้าท่วม) อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี

 ลักษณะส�าคัญเพือใช้ในการคัดเลือกและปรับปรุงพันธุรวมกับ
                    ่                               ์่                 ก็ได้พฒนางานวิจยด้านการวิเคราะห์ทดสอบและการผลิตสาร
                                                                              ั          ั
 วิธการปรับปรุงพันธุแบบมาตรฐาน	(conventional	breeding)	
    ี                  ์                                               อ้างอิงการวัดแคดเมียมในข้าว		เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือด้าน
 เช่น	คุณภาพเมล็ด	ความสามารถทนต่อน�้าท่วม	ทนเค็ม	ทน                    การวัดแคดเมียมให้กับข้าวไทย	ซึ่งนอกจากจะช่วยสร้างหลัก
 แล้ง	ต้านทานโรคไหม้	ต้านทานโรคขอบใบแห้ง	ต้านทานเพลีย      ้           ประกันทางด้านคุณภาพและความปลอดภัยในการบริโภคข้าว
 กระโดดสีน�้าตาล	เป็นต้น	ท�าให้ร่นระยะเวลาในการปรับปรุง                แล้ว	ยังช่วยเพิมขีดความสามารถในการแข่งขันของข้าวไทยใน
                                                                                      ่
 พันธุ์ข้าวได้เร็วกว่าวิธีดั้งเดิม                                     ตลาดโลกได้เพิ่มมากขึ้น
 		        ในปีงบประมาณ	2553		กระทรวงวิทยาศาสตร์และ                    	         อย่างไรก็ตาม	พันธุ์ข้าวที่พัฒนาขึ้น	พร้อมกับเทคนิค
 เทดโนโลยี	 โดยส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี                   ตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนในข้าวที่แม่นย�า	จะใช้ให้ได้ผล	
 แห่งชาติ	 (สวทช.)	ได้ร่วมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์	                    จ�าเป็นต้องบริหารจัดการพืนทีเ่ พาะปลูกให้มความเหมาะสม	โดย
                                                                                                 ้                 ี
 ทดลองน�าพันธุ์ข้าวหอมชลสิทธิ์	 ซึ่งเป็นพันธุ์ข้าวทนน�้าท่วม           กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี	ได้มอบหมายให้สานักงาน �
 ฉับพลันและมีกลิ่นหอม	ลงไปปลูกในแปลงนาของเกษตรกร                       พัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ	(องค์กรมหาชน)	
 ในพื้นที่หมู่บ้านข้าวหอมนิล	จังหวัดอ่างทอง	และหมู่บ้านข้าว            (สทอภ.)	เดินหน้าใช้ประโยชน์จากภาพถ่ายแผนที่ดาวเทียม
 อ�าเภอผักไห่	จังหวัดพระนครศรีอยุธยา	เพือให้เป็นศูนย์เรียนรู	
                                         ่                   ้         ในการตรวจสอบสภาพพืนทีเ่ พาะปลูก	รวมถึงขึนทะเบียนพืนที่
                                                                                               ้                      ้         ้
 สาธิตและถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ภาคการผลิตในชุมชน	                         เพาะปลูกข้าวของเกษตรกรทังประเทศ	ในโครงการประกันรายได้
                                                                                                   ้
 	         ในขณะเดียวกัน	สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ	 (มว.)	               เกษตรกรผู้ปลูกข้าว	รอบที่	2	


26 Annual Science and Technology
   Ministry of
               Report 2010
สทอภ.	ได้จดหาข้อมูลจากดาวเทียม	THEOS,	LANDSAT	
                    ั
และ	ALOS	เพือน�ามาใช้วเิ คราะห์	พร้อมทังด�าเนินการจัดท�าฐาน
              ่                        ้
ข้อมูลส�าหรับโครงการ	แผนที่แสดงพื้นที่ปลูกข้าว	มาตราส่วน	
1:25,000	จ�าแนกรายต�าบล	พร้อมทังพัฒนาระบบบริการแผนที่
                                  ้                             ภาพสผสมจรง (Red Green Blue) ขอมลจากดาวเทยม THEOS ตาง
                                                                      ี     ิ                      ้ ู           ี         ่
ทางอินเทอร์เน็ตแสดงพื้นที่ปลูกข้าว	(Web	Map	Service:	           ช่วงเวลา บันทึกภาพวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2553 (บน) และ 22 เมษายน
WMS)	เพือให้หน่วยงานร่วมโครงการ	และหน่วยงานทีเ่ กียวข้อง
           ่                                         ่          2553 (ล่าง) แสดงการติดตามพื้นที่ปลูกข้าว ปี 2552/53 รอบที่
เรียกดูขอมูลแผนทีผานอินเทอร์เน็ตได้	โดยข้อมูลทีได้ถกส่งให้
        ้           ่่                           ่ ู            2 ของต�าบลดอนแสลบ กิ่งอ�าเภอห้วย กระเจา จังหวัดกาญจนบุรี
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์	เพือน�าข้อมูลไปใช้ในกระบวนการ
                               ่
ตรวจสอบข้อมูลพื้นที่ปลูกข้าวให้ถูกต้องตามข้อเท็จจริงต่อไป     ค้นพบพืชเศรษฐกิจใหม่	 อย่างเช่น	ดอกชมจันทร์	 ที่มีคุณค่า
                                                              ทางโภชนาการ	 ไขมันต�่า	 ช่วยในการระบาย	 อีกทั้งศึกษา
	        1.1.2	วิจัยพันธุ์พืชเพื่อการเกษตรกร                  คุณสมบัติของชาผักหวานป่า	ที่ช่วยต้านอนุมูลอิสระสูงกว่า
	        กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี	โดยสถาบันวิจยั        ชาใบหม่อน/ชาดอกค�าฝอย		ที่ประกอบด้วยวิตามิน	ช่วยลด
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย	(วว.)	ได้ด�าเนิน         ระดับคอเลสเตอรอลและลดความเสี่ยงการเกิดโรคเนื่องจาก
งานวิจยและพัฒนา	เพือพัฒนาและปรับปรุงพันธุพช	ณ	สถานี
       ั               ่                     ์ ื              การเสือมสภาพของร่างกาย	ทีมวิจยจึงได้พฒนาชาผักหวานป่า
                                                                      ่                        ั    ั
วิจยล�าตะคอง	อ�าเภอปากช่อง	จังหวัดนครราชสีมา	ซึงสามารถ
   ั                                             ่            ให้อยูในรูป	ชาผักหวานป่าพร้อมดืม	สามารถผลิตและจ�าหน่าย	
                                                                    ่                        ่

                                                                              รายงานประจ�าแปี 2553 27
                                                                                กระทรวงวิทยาศาสตร์ ละเทคโนโลยี
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010

More Related Content

Similar to MOST-Annual-report-2010

S&T with NSTDA
S&T with NSTDAS&T with NSTDA
Nstda 55 final
Nstda 55 finalNstda 55 final
Nstda 55 final
Invest Ment
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
Kobwit Piriyawat
 
E news-agritec-july-2018-final
E news-agritec-july-2018-finalE news-agritec-july-2018-final
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
190828 royal council (5) sirirerk
190828 royal council (5) sirirerk190828 royal council (5) sirirerk
190828 royal council (5) sirirerk
worsak kanok-nukulchai
 
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-2019083101 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
thanaruk theeramunkong
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
Satapon Yosakonkun
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&Dพลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Annual Report-2007
NSTDA Annual Report-2007NSTDA Annual Report-2007
Analysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the educationAnalysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the education
Tor Jt
 
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคตกลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
freelance
 
STKS Handbook
STKS HandbookSTKS Handbook
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 

Similar to MOST-Annual-report-2010 (20)

Policy24jan55
Policy24jan55Policy24jan55
Policy24jan55
 
S&T with NSTDA
S&T with NSTDAS&T with NSTDA
S&T with NSTDA
 
Nstda 55 final
Nstda 55 finalNstda 55 final
Nstda 55 final
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
E news-agritec-july-2018-final
E news-agritec-july-2018-finalE news-agritec-july-2018-final
E news-agritec-july-2018-final
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
 
190828 royal council (5) sirirerk
190828 royal council (5) sirirerk190828 royal council (5) sirirerk
190828 royal council (5) sirirerk
 
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-2019083101 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
 
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&Dพลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
 
NSTDA Annual Report-2007
NSTDA Annual Report-2007NSTDA Annual Report-2007
NSTDA Annual Report-2007
 
Analysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the educationAnalysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the education
 
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคตกลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
 
STKS Handbook
STKS HandbookSTKS Handbook
STKS Handbook
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
 

More from Ministry of Science and Technology

ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
Ministry of Science and Technology
 
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
Ministry of Science and Technology
 
Mos taction plan2555-2558
Mos taction plan2555-2558Mos taction plan2555-2558
Mos taction plan2555-2558
Ministry of Science and Technology
 
Scius55 1-out-most
Scius55 1-out-mostScius55 1-out-most
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOSTกรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
Ministry of Science and Technology
 
Gov policy-55
Gov policy-55Gov policy-55
V531
V531V531
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯแบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
Ministry of Science and Technology
 
กำหนดการ
กำหนดการกำหนดการ
กำหนดการ
Ministry of Science and Technology
 
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Ministry of Science and Technology
 
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]Ministry of Science and Technology
 

More from Ministry of Science and Technology (20)

ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
 
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
 
Thesearch index-information54
Thesearch index-information54Thesearch index-information54
Thesearch index-information54
 
Mos taction plan2555-2558
Mos taction plan2555-2558Mos taction plan2555-2558
Mos taction plan2555-2558
 
Scius55 1-out-most
Scius55 1-out-mostScius55 1-out-most
Scius55 1-out-most
 
Semina boi
Semina boiSemina boi
Semina boi
 
S ci us54-shift-2
S ci us54-shift-2S ci us54-shift-2
S ci us54-shift-2
 
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOSTกรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
 
Gov policy-55
Gov policy-55Gov policy-55
Gov policy-55
 
V532
V532V532
V532
 
V531
V531V531
V531
 
Gmo in-usa
Gmo in-usaGmo in-usa
Gmo in-usa
 
P 20101027-map60
P 20101027-map60P 20101027-map60
P 20101027-map60
 
Interview106magazine
Interview106magazineInterview106magazine
Interview106magazine
 
Interview106magazine
Interview106magazineInterview106magazine
Interview106magazine
 
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯแบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
 
กำหนดการ
กำหนดการกำหนดการ
กำหนดการ
 
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
 
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
 
Concept Goverment
Concept GovermentConcept Goverment
Concept Goverment
 

MOST-Annual-report-2010

  • 1.
  • 2. สารบัญ >> สารนายกรัฐมนตรี 1 สารรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 สารปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4 บทความ 6 “พระราชด�าริงานวิจัย พระราชทานให้เมื่อพระชนมพรรษา ๘๓ พรรษา” คณะผู้บริหาร 8 วิสัยทัศน์ 18 พันธกิจ, ค่านิยม 19 เกริ่นน�า 20 I การส่งเสริมภาคการเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร 23 II การพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 37 III สร้างงาน สร้างรายได้ พัฒนาชีวิต ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน 61 IV การเตรียมความพร้อมและรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 73 V การสร้างความตระหนักและพัฒนาบุคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์ 87 VI การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์ 107 ภาพข่าวกิจกรรม 118 หน่วยงานในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 130
  • 3.
  • 4. สาร นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนากระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครบรอบ ๓๒ ปี วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๔ -------------- ในปัจจุบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีก้าวหน้าไปอย่างไม่หยุดยั้ง ส่งผลให้เกิดความเปลี่ยนแปลง ในด้านต่างๆ อย่างกว้างขวาง รัฐบาลตระหนักดีว่าการพัฒนาประเทศจ�าเป็นต้องพึ่งพาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เหมาะสม จึงก�าหนดนโยบายด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรมอย่างเป็นระบบ โดยส่งเสริม สนับสนุนโครงการวิจัยและพัฒนาตามแนวพระราชด�าริ การพัฒนางานวิจัยขั้นพื้นฐานและวิจัยประยุกต์ เพื่อใช้ ประโยชน์เชิงพาณิชย์ การพัฒนาก�าลังคนเพื่อตอบสนองความต้องการของภาคการผลิต รวมถึงการวิจัยและพัฒนา เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยรวม นอกจากนี้ คณะรัฐมนตรียังได้อนุมัตินโยบายและยุทธศาสตร์การ วจยของชาตฉบบท ๘ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) และยทธศาสตรการวจย (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) ๔ ภมภาค เพอใหหนวย ิั ิ ั ี่ ุ ์ ิั ูิ ื่ ้ ่ งานต่างๆ ใช้เป็นแนวทางในการด�าเนินการวิจัยอันจะท�าให้เกิดการบูรณาการเชื่อมโยงระหว่างภาครัฐ เอกชน และ สถาบันวิจัยที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นรูปธรรม ผมขอขอบคุณผู้บริหาร ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ และผู้ที่เกี่ยวข้องของกระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีที่มุ่งมั่น พยายาม และรับผิดชอบการด�าเนินงานในฐานะเป็นองค์กรหลักของการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อสร้างปัญญาในสังคมและพัฒนาเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศมาอย่างเต็มที่ตลอด ระยะเวลา ๓๒ ปีที่ผ่านมา ผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่า นับจากนี้ไป กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจะผลักดันผล งานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ให้เป็นประโยชน์ต่อชุมชนและประชาชนชาวไทยมากขึ้นอีก ทั้งนี้ เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิต สร้างโอกาสใหม่ๆ และเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและคุณค่าอย่างยั่งยืน ในโอกาสครบรอบ ๓๒ ป วนคลายวนสถาปนากระทรวงวทยาศาสตรและเทคโนโลย ผมขออวยพรให้ ี ั ้ ั ิ ์ ี รัฐมนตรี ผู้บริหาร ข้าราชการ เจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้องทุกคน จงประสบแต่ความสุข ความเจริญ มีก�าลังกาย ก�าลัง ใจ เพื่อร่วมสร้างสรรค์และพัฒนางานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศให้ก้าวหน้า อันจะเป็นประโยชน์ แก่สังคมและประเทศชาติทั้งในปัจจุบันและอนาคต (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) นายกรัฐมนตรี
  • 5. สาร ดร.วีระชัย วีระเมธีกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนากระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครบรอบ ๓๒ ปี วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๔ -------------- วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความส�าคัญยิ่งต่อการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของไทย ให้ก้าวทันกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกแห่งยุคการใช้องค์ความรู้ใหม่และนวัตกรรม กระทรวงวทยาศาสตรฯ ไดดาเนนการตามนโยบายรฐบาลดานวทยาศาสตร เทคโนโลย และนวตกรรม ิ ์ ้� ิ ั ้ ิ ์ ี ั เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าความก้าวหน้านั้นสอดคล้องและสามารถรองรับกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ของประเทศ อนจะนาไปสการสรางงาน สรางรายได และยกระดบคณภาพชวตของประชาชนอยางยงยน โดยมงเนน ั � ู่ ้ ้ ้ ั ุ ีิ ่ ั่ ื ุ่ ้ การส่งเสริมโครงการวิจัยตามแนวพระราชด�าริและปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” การขยายผลจากงานวิจัยและ พฒนาเพอใหเ้ กดประโยชนตอการใชงานจรงในวงกวาง รวมถงการสรางความตระหนกดานวทยาศาสตรและสงเสรม ั ื่ ิ ์่ ้ ิ ้ ึ ้ ั ้ ิ ์ ่ ิ วัฒนธรรมนวัตกรรมในสังคมไทยอย่างต่อเนื่อง ความส�าเร็จในการด�าเนินงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ เป็นที่ประจักษ์ชัด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การสนับสนุนโครงการตามแนวพระราชด�าริในการพัฒนาระบบจัดการทรัพยากรน�้าเพื่อความมั่นคงของเศรษฐกิจ ชุมชน และส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สนองพระราชด�าริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ผลงานส�าคัญของกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ยังมีผลส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และความมันคง ่ ของประเทศในภาพรวม โดยในด้านเศรษฐกิจ ได้ด�าเนินโครงการอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทยและภูมิภาค ให้เป็นนิคมวิจัยส�าหรับธุรกิจอย่างครบวงจร การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางด้านห้องปฏิบัติการเพื่อสนับสนุน การส่งออกของไทย การเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาควิชาการ และภาคเอกชน ทั้งในประเทศ และต่างประเทศในการพัฒนาเทคโนโลยีอาหาร เกษตร และพลังงานทดแทน เป็นต้น ส�าหรับทางด้านสังคม ไดมการถายทอดเทคโนโลยสชมชนชนบทเพอเสรมสรางเศรษฐกจฐานรากใหเ้ ขมแขงอยางยงยน การรกษาสงแวดลอม ้ี ่ ี ู่ ุ ื่ ิ ้ ิ ้ ็ ่ ั่ ื ั ิ่ ้ และการเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับภัยพิบัติต่าง ๆ ในส่วนของการส่งเสริมและรักษาความมั่นคงของประเทศ เน้นการน�าเอาเทคโนโลยีไปพัฒนาความเป็นอยู่ของพี่น้องประชาชนและทหารในจังหวัดชายแดนภาคใต้
  • 6. ผมขอแสดงความยินดี ในโอกาสที่กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ได้สถาปนามาเป็นปีที่ 32 และขอเดชะ พระบารมีแห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ โปรดดลบันดาลให้ ผู้บริหาร ข้าราชการ พนักงาน และเจ้าหน้าที่ทุกท่านประสบความสุข ความเจริญ สัมฤทธิ์ผลการด�าเนินงาน เป็นก�าลังส�าคัญในการพัฒนาชาติไทยสืบไป (ดร.วีระชัย วีระเมธีกุล) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  • 7. สาร ดร.พรชัย รุจิประภา ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนากระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครบรอบ ๓๒ ปี วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๔ -------------- หากมองย้อนกลับไปถึงประวัติศาสตร์ของโลก จะเห็นได้ว่า ช่วงเวลาประมาณ 200 ปีที่ผ่านมา เป็น ช่วงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว นับตั้งแต่ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้ถูกน�ามาใช้เพื่อการผลิตซึ่งน�าไป สู่การปฏิวัติอุตสาหกรรม และได้กลายเป็นปัจจัยหลักที่ท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างเศรษฐกิจซึ่งท�าให้ มนษยรจกคาวาการเตบโตทางเศรษฐกจ และทาใหเกดการเปลยนแปลงทางสงคมจากสงคมการเกษตรสสงคมเมอง ุ ์ ู้ ั � ่ ิ ิ � ้ ิ ี่ ั ั ู่ ั ื ซงการเปลยนแปลงดงกลาวนาไปสการขยายตวของระบอบเศรษฐกจทนนยมผสมกบการปกครองแบบประชาธปไตย ึ่ ี่ ั ่ � ู่ ั ิ ุ ิ ั ิ ไปในประเทศโดยส่วนใหญ่ของโลก ตลอดชวงเวลาดงกลาว ถงแมวาความรทางวทยาศาสตรและเทคโนโลยจะมจดก�าเนดสวนใหญอยใน ่ ั ่ ึ ้่ ู้ ิ ์ ี ีุ ิ ่ ่ ู่ ประเทศตะวนตก แตหลายประเทศในเอเชยกไดเรยนรทจะนาวทยาศาสตรและเทคโนโลยมาใชเพอพฒนาเศรษฐกจ ั ่ ี ็ ้ ี ู้ ี่ � ิ ์ ี ้ ื่ ั ิ และสงคมของตนเอง ผานทางการกาหนดนโยบายและดาเนนการรวมระหวางภาครฐและภาคสวนตางๆ ทงจากกรณี ั ่ � � ิ ่ ่ ั ่ ่ ั้ ของการสงเสรมอตสาหกรรมและเทคโนโลยรายสาขาโดย Ministry of International Trade and Industry (MITI) ่ ิ ุ ี กับกลุ่มบริษัทอุตสาหกรรมของประเทศญี่ปุ่น การท�างานร่วมกันระหว่าง Korea Development Institute (KDI), Economic Planning Board (EPB) และ Korea Institute of Science and Technology (KIST) กับกลุ่มบริษัท อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ของประเทศเกาหลีใต้ และกรณีของการประสานงานระหว่าง Council for Economic Plan- ning and Development (CEPD) และ Minister of Economic Affairs กับ Industrial Technology Research Institute (ITRI) ในการก�าหนดทิศทางพัฒนาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมของประเทศไต้หวัน ซึ่งความร่วมมือใน การก�าหนดทิศทางของนโยบายและประสานการปฏิบัติงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นปัจจัยส�าคัญที่ ผลักดันให้ประเทศเอเชียเหล่านี้เกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างรวดเร็ว กระทรวงวทยาศาสตรและเทคโนโลย ในฐานะหนวยงานหลกดานการพฒนาวทยาศาสตร เทคโนโลยี ิ ์ ี ่ ั ้ ั ิ ์ และนวตกรรมของประเทศ ไดตระหนกถงปจจยทนาไปสความสาเรจดงเชนในกรณของประเทศตางๆ ทกลาวมา อน ั ้ ั ึ ั ั ี่ � ู่ � ็ ั ่ ี ่ ี่ ่ ั ประกอบด้วยการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการวิจัยและการบริหารจัดการเทคโนโลยีร่วมกันระหว่างภาครัฐกับ
  • 8. ภาคสวนตางๆ กระทรวงวทยาศาสตรและเทคโนโลยจงเรมตนทจะประสานการวางแผนงานวจยและการใชประโยชน์ ่ ่ ิ ์ ี ึ ิ่ ้ ี่ ิั ้ ร่วมกันระหว่างหน่วยงานในสังกัดกระทรวงกับหน่วยงานภายใต้กระทรวงอื่นๆ (เช่น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงพลังงาน กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา) ส�านักงานคณะ กรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ส�านักงบประมาณ ภาคเอกชน และภาคส่วนอื่นๆ ซึ่งจะเป็นก้าว แรกที่ส�าคัญในการบูรณาการการท�างานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมกัน ซึ่งช่วยให้การจัดเตรียมโครงสร้าง พื้นฐานและก�าหนดหัวข้อวิจัยและพัฒนา สอดคล้องกับทิศทางและสาขาการผลิตที่ส�าคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ และช่วยให้วทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้เป็นปัจจัยหลักในการพัฒนาและรักษาเสถียรภาพ ิ ทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศต่อไปในอนาคต กระผมขอขอบคณขาราชการ พนกงาน และเจาหนาทหนวยงานในสงกดกระทรวงวทยาศาสตรและเทคโนโลยี ุ ้ ั ้ ้ ี่ ่ ั ั ิ ์ ทกทานทไดรวมกนทมเทการทางานในตลอดชวงป 2553 ทผานมา พรอมทงขอสงความปรารถนาดไปยงขาราชการ ุ ่ ี่ ้ ่ ั ุ่ � ่ ี ี่ ่ ้ ั้ ่ ี ั ้ พนักงาน และเจ้าหน้าที่หน่วยงานในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทุกท่านให้ประสบความสุข ความ เจริญ และมีสุขภาพที่แข็งแรง เพื่อร่วมกันประสานการท�างานอันจะน�าไปสู่การยกระดับการพัฒนาโครงสร้างพื้น ฐานและการบูรณาการการก�าหนดทิศทางและการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งจะเป็นปัจจัยส�าคัญ ในการเตรียมความพร้อมของประเทศให้สามารถรองรับต่อการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสงแวดลอม และชวยยกระดบขดความสามารถในการแขงขนของไทยในเศรษฐกจโลก รวมถงสงเสรมความเสมอ ิ่ ้ ่ ั ี ่ ั ิ ึ ่ ิ ภาคของประชาชนทุกคนในประเทศให้ได้รับสิทธิและคุณภาพชีวิตที่เท่าเทียมกันต่อไป (ดร.พรชัย รุจิประภา) ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีี
  • 9. บทความ “พระราชด�าริงานวิจัย พระราชทานให้เมื่อพระชนมพรรษา ๘๓ พรรษา” นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชย์ ได้ทรงอุทิศพระองค์ประกอบพระราชกรณียกิจ ในทุกด้านที่จะก่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ราษฎรและประเทศชาติ พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงงานหนัก ที่สุดพระองค์หนึ่งของโลก พระราชกรณียกิจที่ทรงปฏิบัติครอบคลุมไปทั่วทุกภูมิภาค การเสด็จเยี่ยมราษฎรในพื้นที่ ต่างๆ ทั่วราชอาณาจักร ท�าให้พระองค์ทอดพระเนตรเห็นสภาพความเป็นจริงและทรงตระหนักถึงปัญหาอันแท้จริง ของราษฎร พระองค์ทรงทุ่มเทพระวรกายและพระราชหฤทัยที่จะแก้ปัญหาความเดือดร้อนให้แก่ประชาชนเสมือน เป็นความทุกข์ส่วนพระองค์ ดังพระราชด�ารัสที่ทรงรับสั่งอยู่เสมอว่า “ทุกข์ของประชาชน ก็คือทุกข์ของแผ่นดิน” ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนพระราชหฤทัยในวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลย เพราะทรงเลงเหนวาการพฒนาประเทศและการชวยเหลอราษฎรของพระองคใหมชวตความเปนอยู่ ี ็ ็ ่ ั ่ ื ์ ้ีีิ ็ ที่ดีขึ้นนั้น จะต้องอาศัยความรู้และวิทยาการสมัยใหม่เข้ามาช่วยด้วย พระองค์ทรงศึกษา ค้นคว้า วิจัย ทดลอง และ ทรงน�าความรู้ทางสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในทุกสาขาวิชามาใช้ในการพัฒนา โดยทรงมุ่งให้เกิดการพัฒนา คนให้อยู่ได้ด้วยการพึ่งตนเองเป็นส�าคัญ ทุกๆ โครงการพระราชด�าริ ล้วนมีวิธีด�าเนินการที่ง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน มีความสอดคล้องกับธรรมชาติ สภาพแวดล้อม และสภาพสังคมของชุมชนนั้นๆ การน�าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนา พระองค์ ไม่ทรงปิดกั้นเทคโนโลยีใหม่จากต่างประเทศ แต่ทรงเน้นว่าจะต้องเลือกใช้เทคโนโลยีที่เป็นประโยชน์มาปรับปรุงใช้ ใหพอเหมาะพอดกบสภาพและฐานะของประเทศ โดยเนนทประสทธภาพและประหยด พระองคทรงเหนวาเทคโนโลยี ้ ีั ้ ี่ ิ ิ ั ์ ็ ่ ของไทยบางอยางยงสตางชาตไมได แตทรงโปรดใหใชเ้ ทคโนโลยของคนไทย และประเทศไทยจาเปนตองมเี ทคโนโลยี ่ ั ู้ ่ ิ ่ ้ ่ ้ ี � ็ ้ เป็นของตัวเอง เพื่อเป็นการพิสูจน์ว่าเรามีความรู้เป็นของตัวเองเช่นกัน พระราชด�าริงานวิจัย พระราชทานให้เมื่อพระชนมพรรษา ๘๓ พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้คณะบุคคลเข้าเฝ้าฯ เมื่อวันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๓ ณ ห้องประชุมชั้น ๑๔ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช สรุปพระราชด�าริ ความตอนหนึ่งว่า “...ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศเห็นได้ชัด ทั้งทิศทางลม ฝน ฤดูกาล เห็นได้จากแนวฝน ที่เคลื่อนตัวลงต�่ากว่าเขื่อนภูมิพล ทิศทางลมที่ทาให้เกิดฝนก็เปลี่ยนและวกวนมาก เช่น สัปดาห์นี้ ลมพาฝนมาจาก � ทะเลอันดามันพัดไปทางตะวันออกแล้ววกกลับมาตกตอนเหนือของไทย จึงต้องเร่งศึกษาวิจัย แนวทางการศึกษา ของสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน�้าและการเกษตร (องค์การมหาชน) ที่ท�าเกี่ยวกับอุณหภูมิ และคลื่นในทะเล และ แบบจ�าลองลม นั้นถูกแล้ว ให้ดาเนินการต่อให้ใช้ได้โดยเร็ว” � 6 Annual Science and Technology Ministry of Report 2010
  • 10. “...การบรหารจดการน�้านน ทสาคญคอจงหวะการ ิ ั ั้ ี่ � ั ื ั ปด เปด ระบายหรือรับน�้า เพราะน�้าเมื่อไหลไปแล้วไม่ไหล ย้อนกลับขึ้นมา จะท�าได้ก็ต้องใช้พลังงานมาก นอกจากนี้ หากเข้าใจธรรมชาติของน�้าอย่างถ่องแท้ ไม่ใช่แค่การไหล ต้องเข้าใจตั้งแต่น�้าในมหาสมุทรที่อุณหภูมิเปลี่ยน ต่างกัน จึงเกิดการไหล ระเหยเปนฝนตกลงมา บางส่วนซึมเปน น�้าใต้ดิน ซึ่งหากเข้าใจศึกษาก็พัฒนาเขื่อนใต้ดิน แหล่งน�้า ใต้ดินได้ เหมือนที่เชียงดาว หรือแม่ฮ่องสอน และถ้าเข้าใจ พชชนดตางๆ กสามารถเลอกพชมาปลกใหดดซบ ดง สราง ื ิ ่ ็ ื ื ู ู้ ั ึ ้ และรักษาความชื้นในผิวดินไว้ได้” กระทรวงวทยาศาสตรและเทคโนโลย ไดดาเนนการ ิ ์ ี ้� ิ สนองพระราชดารดงกลาว มอบหมายใหสถาบนสารสนเทศ � ิั ่ ้ ั ทรัพยากรน�้าและการเกษตร (องค์การมหาชน) ร่วมกับ ส� า นั ก งานพั ฒ นาเทคโนโลยี อ วกาศและภู มิ ส ารสนเทศ (องค์ ก ารมหาชน) ศึ ก ษาวิ จั ย การเปลี่ ย นแปลงสภาพ ภูมิอากาศ จัดท�าฐานข้อมูลการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศเพื่อน�ามาประกอบการบริหารจัดการน�้า ส�าหรับเรื่อง แหล่งน�้าใต้ดิน สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน�้าและการเกษตร (องค์การมหาชน) ได้ด�าเนินการร่วมกับสถาบัน เทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) สถาบันการศึกษา และ International Atomic Energy Agency (IAEA) ดาเนนงานโครงการประยกตใชไอโซโทปและเคมเทคนคเพอบรหารจดการทรพยากรนาบาดาล พนทลมนาชี � ิ ุ ์ ้ ี ิ ื่ ิ ั ั �้ ื้ ี่ ุ่ �้ ตอนบน ส่วนที่ ๑ และ ๒ จังหวัดชัยภูมิ นอกจากน กระทรวงวทยาศาสตรและเทคโนโลย ยงไดเ้ ขาไปมสวนสนองโครงการในพระราชดาร ดวยการนา ี้ ิ ์ ี ั ้ ี่ � ิ ้ � ผลงานวิจัย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม สนับสนุนโครงการในพระราชด�าริต่างๆ ให้ประชาชนในชนบท ได้รับผลอย่างเป็นรูปธรรม เพิ่มรายได้ และปรับปรุงความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น ซึ่งเห็นได้จากผลงาน/โครงการต่างๆ ที่ปรากฏในรายงานประจ�าปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเล่มนี้ รายงานประจ�าแปี 2553 7 กระทรวงวิทยาศาสตร์ ละเทคโนโลยี
  • 11. คณะผู้บริหาร >> ส�นักงานรัฐมนตรี า ดร.วีระชัย วีระเมธีกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายสุรเชษฐ์ แวอาแซ นายอนุชา จันทร์สุริยา นายก้องศักดิ์ ยอดมณี ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการ เลขานุการรัฐมนตรีว่าการ ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 8 Annual Science and Technology Ministry of Report 2010
  • 12. ส�นักงานปลัด า กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดร.พรชัย รุจิประภา ปลัดกระทรวง รศ.ดร.วีระพงษ์ แพสุวรรณ นางสาวเสาวณี มุสิแดง รองปลัดกระทรวง รองปลัดกระทรวง ดร.สุทธิเวช ต.แสงจันทร์ นางนันทวรรณ ชื่นศิริ หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวง ผู้ตรวจราชการกระทรวง รายงานประจ�าแปี 2553 9 กระทรวงวิทยาศาสตร์ ละเทคโนโลยี
  • 13. คณะผู้บริหาร >> กรมวิทยาศาสตร์บริการ นายเกษม พิฤทธิ์บูรณะ นางสาวจันทร์เพ็ญ ใจธีรภาพกุล อธิบดี รองอธิบดี ส�นักงานปรมาณูเพื่อสันติ า ศ.เกียรติคุณ ดร.ชัยวัฒน์ ต่อสกุลแก้ว นายวิเชียร วงษ์สมาน นางประไพพิศ สุปรารภ เลขาธิการ รองเลขาธิการ รักษาการรองเลขาธิการ 10 Annual Science and Technology Ministry of Report 2010
  • 14. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย นางเกษมศรี หอมชื่น ดร.ลักษมี ปลั่งแสงมาศ ดร.สุทธิพร ชีวสาธน์ ผู้ว่าการ รองผู้ว่าการบริการอุตสาหกรรม รองผู้ว่าการวิจัยและพัฒนา ด้านพัฒนาอย่างยั่งยืน ดร.สุภาพ อัจฉริยศรีพงศ์ ดร.อนุชา เล็กสกุลดิลก นายชวลิต ลีลาศิวพร รองผู้ว่าการวิจัยและพัฒนา รองผู้ว่าการบริหาร รองผู้ว่าการยุทธศาสตร์และพัฒนาธุรกิจ ด้านอุตสาหกรรมชีวภาพ รายงานประจ�าแปี 2553 11 กระทรวงวิทยาศาสตร์ ละเทคโนโลยี
  • 15. องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ดร.พิชัย สนแจ้ง นายธนากร พละชัย ผู้อานวยการ � รองผู้อ�นวยการ า นายมานพ อิสสะรีย์ นายสาคร ชนะไพฑูรย์ รองผู้อ�นวยการ า รองผู้อ�นวยการ า 12 Annual Science and Technology Ministry of Report 2010
  • 16. ส�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ า และเทคโนโลยีแห่งชาติ ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ศ.ดร.มรกต ตันติเจริญ ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผู้อานวยการ � รองผู้อานวยการ � รองผู้อานวยการ � ดร.ชฎามาศ ธุวะเศรษฐกุล ดร.กัญญวิมว์ กีรติกร รศ.ดร.วีระศักดิ์ อุดมกิจเดชา รองผู้อ�นวยการ า ผู้อ�นวยการศูนย์พันธุวิศวกรรม า ผู้อานวยการศูนย์เทคโนโลยีโลหะ � และเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ และวัสดุแห่งชาติ ดร.พันธ์ศักดิ์ ศิริรัชตพงษ์ ศ.นพ. สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผู้อ�นวยการศูนย์เทคโนโลยี า ผู้อานวยการศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ � รักษาการผู้อ�นวยการ า อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี รายงานประจ�าแปี 2553 13 กระทรวงวิทยาศาสตร์ ละเทคโนโลยี
  • 17. สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ พล.อ.ต. ดร.เพียร โตท่าโรง นายสมศักดิ์ ฉากเขียน ผู้อ�นวยการ า รองผู้อานวยการ � ส�นักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ า เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ ดร.ญาดา มุกดาพิทักษ์ เลขาธิการ รองเลขาธิการ 14 Annual Science and Technology Ministry of Report 2010
  • 18. ส�นักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ า (องค์การมหาชน) ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา นายชาญชัย เพียรวิจารณ์พงศ์ รักษาการผู้อ�นวยการ า รองผู้อานวยการ � ดร.สุรชัย รัตนเสริมพงศ์ นางปราณีต ดิษริยะกุล นายสามารถ ดวงวิจิตรกุล รองผู้อ�นวยการ า รองผู้อ�นวยการ า รองผู้อานวยการ � รายงานประจ�าแปี 2553 15 กระทรวงวิทยาศาสตร์ ละเทคโนโลยี
  • 19. สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ศ.ดร.ประสาท สืบค้า นายศักดา เจริญ ดร.สิรินาฏ เลาหะโรจนพันธ์ รักษาการผู้อ�นวยการ า รองผู้อ�นวยการ า รองผู้อ�นวยการ า สถาบันวิจัย สถาบันสารสนเทศ แสงซินโครตรอน ทรัพยากรน�และการเกษตร ้า (องค์การมหาชน) (องค์การมหาชน) รศ.ดร.ประยูร ส่งสิริฤทธิกุล ดร.รอยล จิตรดอน รักษาการผู้อ�นวยการ า ผู้อ�นวยการ า 16 Annual Science and Technology Ministry of Report 2010
  • 20. สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ(องค์การมหาชน) รศ.บุญรักษา สุนทรธรรม ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา นายภัทรวรรธน์ อาจองค์ ผู้อ�นวยการ า รองผู้อานวยการ � รองผู้อ�นวยการ า ส�นักงานนวัตกรรมแห่งชาติ(องค์การมหาชน) า ดร.ศุภชัย หล่อโลหการ ดร.วันทนีย์ จองค� า ผู้อ�นวยการ า ผู้อ�นวยการฝ่ายส่งเสริมวัฒนธรรมนวัตกรรม า รายงานประจ�าแปี 2553 17 กระทรวงวิทยาศาสตร์ ละเทคโนโลยี
  • 21. วิสัยทัศน์ >> “ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อสร้างปัญญาในสังคม สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศอย่างยั่งยืน “ เป็ น องค์ ก รหลั ก ในการพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์
  • 22. << พันธกิจ 1. เสนอแนะนโยบาย จัดท�ยุทธศาสตร์และแผนด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ า นวัตกรรม 2. ริเริ่ม เร่งรัด ผลักดันและด�เนินการวิจัยและพัฒนา เพื่อสร้างองค์ความรู้ และ า สร้างผลกระทบเชิงเศรษฐกิจและสังคม รวมทังพัฒนาโครงสร้างพืนฐานด้านวิทยาศาสตร์ ้ ้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม 3. ร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ สร้างคนดีและเก่งในทุกระดับ รวมทั้งสร้างความ ตระหนักด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ให้แพร่หลายและเป็นที่ยอมรับ 4. สร้างระบบสนับสนุนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อสามารถสร้างปัญญา เข้าถึงความรู้ใหม่ๆ และน�ภูมิปัญญาไทยมาใช้ผสมผสานกันได้ า 5. สนับสนุนให้มการถ่ายทอดเทคโนโลยี และสร้างนวัตกรรมให้แก่ภาคการผลิตและ ี บริการ รวมทังบริการสังคมด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพือเพิมผลิตภาพ ้ ่ ่ ทางเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตของประชาชน << ค่านิยม MOST : M = merit , modernization (สร้างสรรค์สิ่งดีงาม และทันสมัยอยู่เสมอ) O = outcome – oriented (มุ่งประโยชน์ของชาติเป็นหลัก) S = social accountability (มีส�นึกรับผิดชอบต่อสังคม) า T = transparency (โปร่งใสตรวจสอบได้) teamwork (มีการท�งานร่วมกันทั้งองค์กร เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน) า
  • 23. เกริ่นน�า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เนื่องจากที่ผ่านมางาน ภ ายหลงการเขารบตาแหนงของ ดร.วระชย วิ จั ย จะถู ก ริ เริ่ ม และจ� า กั ด อยู ่ แ ต ่ เ ฉพาะในมุ ม ของ ั ้ ั � ่ ี ั วี ร ะเมธี กุ ล รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวง นกวทยาศาสตรซงทางานในหองปฏบตการ และกระทรวง ิ ั ิ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วท.) คนที่ 29 ในช่วง วทยาศาสตรและเทคโนโลยไมมหนวยงานประจาอยใน ์ ์ ึ่ � ้ ิ ัิ ี ่ี ่ � ู่ ครงปหลงของปงบประมาณ 2553 กระทรวงวทยาศาสตร์ ต่างจังหวัด ท�าให้มีการน�าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ึ่ ี ั ี ิ และเทคโนโลยี ได้ปรับกลยุทธ์ในการท�างานเพื่อให้ ไม่ได้อย่างเต็มที่หรือเต็มศักยภาพ ดังนั้น กระทรวง สอดคล้องกับทิศทางและนโยบายที่รัฐมนตรีว่าการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จึงได้ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ กระทรวงวทยาศาสตรและเทคโนโลย ี ทานใหมมอบหมาย การทางาน โดยใหความสาคญกบการสรางเครอขายการ ิ ์ ่ ่ � ้ � ั ั ้ ื ่ โดยนอกจากการให้ความส�าคัญสูงสุดในการสืบสาน ทางานรวมกบภาคเอกชน ภาคประชาสงคม ภาควชาการ � ่ ั ั ิ แนวพระราชด�าริในการน�าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่ เพื่อให้ มาใช้เพื่อการพัฒนาประเทศ และการสานต่อโครงการ เกิดการท�างานร่วมกันอย่างบูรณาการในการก�าหนด ตามพระราชด�าริฯ แล้ว กระทรวงวิทยาศาสตร์และ โจทย์วิจัยและการน�าผลงานวิจัยไปใช้ให้เกิดประโยชน์ เทคโนโลยี ยังได้ให้ความส�าคัญกับการน�าวิทยาศาสตร์ สงสด ไมวาจะเปน ดาน การเกษตร อาหาร พลงงานและ ู ุ ่่ ็ ้ ั และเทคโนโลยีลงไปสู่พี่น้องประชาชนในชุมชนระดับ สงแวดลอม การรบมอการเปลยนแปลงสภาพภมอากาศ ิ่ ้ ั ื ี่ ูิ รากหญ้า และไปสู่ผู้ประกอบการโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การสรางศกยภาพชมชนดวยวทยาศาสตรและเทคโนโลยี ้ ั ุ ้ ิ ์ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก และวิสาหกิจชุมชน การสงเสรมผประกอบการดวยนวตกรรม และสรางความ ่ ิ ู้ ้ ั ้ ทั้งนี้ โดยมุ่งหวังให้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เชอมนในระดบนานาชาต ตลอดจนพฒนากาลงคนและ ื่ ั่ ั ิ ั � ั เป็นครื่องมือส�าคัญอีกประการหนึ่งในการลดรายจ่าย สรางความตระหนก ซงจะนาไปสการพฒนาวทยาศาสตร์ ้ ั ึ่ � ู่ ั ิ สร้างงาน สร้างรายได้ และพัฒนาคุณภาพชีวตของพีนอง และเทคโนโลยีของประเทศในอนาคต ิ ่้ ประชาชนในชนบท รวมทั้งเป็นกลไกส�าคัญในการเพิ่ม การสร้างศักยภาพของชุมชนและเสริมสร้าง ศกยภาพของผประกอบการ ยกระดบขดความสามารถใน ความแข็งแกร่งให้แก่เศรษฐกิจชุมชนด้วยวิทยาศาสตร์ ั ู้ ั ี การแขงขนของประเทศ และผลกดนการพฒนาเศรษฐกจ และเทคโนโลยี เป็นอีกเรื่องที่กระทรวงวิทยาศาสตร์ ่ ั ั ั ั ิ และสังคมไทยไปสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์และสังคมฐาน และเทคโนโลยี ให้ความส�าคัญและพยายามสร้างกลไก ความเชอ เพอการพฒนาประเทศใหกาวหนาอยางยงยน เชอมโยงใหงานวจยถกนาไปใชไดจรงในชมชนระดบราก ื่ ื่ ั ้ ้ ้ ่ ั่ ื ื่ ้ ิั ู � ้ ้ ิ ุ ั ตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ หญา ดวยการสรางเครอขายการทางานรวมกบสถาบน ้ ้ ้ ื ่ � ่ ั ั การน� า วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ล งไปสู ่ วิชาการและอาสาสมัครวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชุมชนกลายเป็นโจทย์ใหม่ที่ท้าทายส�าหรับกระทรวง (อสวท.) การนาวทยาศาสตรและเทคโนโลยลงไปจดแสดง � ิ ์ ี ั 20 Annual Science and Technology Ministry of Report 2010
  • 24. เผยแพร่ แ ละฝึ ก อบรมให้ กั บ ประชาชนถึ ง ในพื้ น ที่ ผานโครงการคาราวานเทคโนโลย ี การสงเสรมและพฒนา ่ ่ ิ ั หมู่บ้านแม่ข่ายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อเป็น ศนยการเรยนรชมชนทางดานวทยาศาสตรขนในภมภาค ู ์ ี ู้ ุ ้ ิ ์ ึ้ ู ิ ต่าง ๆ โดยเน้นการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่สามารถเสริม สร้างอาชีพให้คนในชุมชน ยกระดับมาตรฐานการผลิต สินค้าและบริการของชุมชน และสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ วัตถุดิบหรือของเหลือใช้ “ขยะ” ที่มีอยู่ในท้องถิ่น อย่างไรก็ตาม นอกจากการผลักดันให้เกิดการน�า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อมแล้ว สิ่งส�าคัญที่ขาดไม่ได้คือก�าลังคน หรือ นักวิทยาศาสตร์ที่เป็นหัวใจส�าคัญในการสร้างงานวิจัย และพฒนา ดงนน กระทรวงวทยาศาสตรและเทคโนโลยี ั ั ั้ ิ ์ ยังได้มุ่งมั่นในการน�าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีลงไป สู่เด็กและเยาวชน ผ่านกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ใน รูปแบบต่าง ๆ ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ทั้งนี้ เพื่อเป็นการสร้างความตระหนักทางด้านวิทยาศาสตร์ ใหกบสงคมไทย กระตนความสนใจและการเรยนรทาง ้ั ั ุ้ ี ู้ ดานวทยาศาสตรของเดกและเยาวชน และสงเสรมการ ้ ิ ์ ็ ่ ิ พัฒนาบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อ รองรับความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และ สงแวดลอมของประเทศในอนาคตนนเปนเพยงสวนยอย ิ่ ้ ั้ ็ ี ่ ่ ของการทางานในรอบป ี 2553 ของกระทรวงวทยาศาสตร์ � ิ และเทคโนโลย ซงประกอบดวยหนวยงานตางๆ กวา 14 ี ึ่ ้ ่ ่ ่ หนวยงาน ซงแบงหนาทความรบผดชอบตามงานทถนด ่ ึ่ ่ ้ ี่ ั ิ ี่ ั ซึ่งจะสรุปโดยแยกเป็นกลุ่มงานที่น่าสนใจต่อไป รายงานประจ�าแปี 2553 21 กระทรวงวิทยาศาสตร์ ละเทคโนโลยี
  • 25.
  • 27.
  • 28. I. การส่งเสริมภาคการเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร ในสถานการณ์ปจจุบน ต้องยอมรับว่าภาคเกษตรกรรม ั ั ความหมายมากกว่าอาหารส�าหรับด�ารงชีวต แต่ขาวคือวิถชวต ิ ้ ีีิ และอุตสาหกรรมอาหารเป็นภาคเศรษฐกิจหลักของประเทศ ทีผกพันกับคนไทยมาอย่างยาวนาน โดยกระทรวงวิทยาศาสตร์ ู่ เนืองจากเกียวข้องกับวิถชวตและปากท้องของคนส่วนใหญ่ของ ่ ่ ีีิ และเทคโนโลยีได้ให้การสนับสนุนงานวิจยและพัฒนาพันธุขาว ั ์้ ประเทศ และสร้างรายได้หลักให้กับประเทศด้วยมูลค่าการส่ง ให้ได้ผลผลิตต่อไร่สง ต้านทานโรคแมลง ทนต่อสภาพภูมอากาศ ู ิ ออกมากกว่าแสนล้านบาทต่อปี อีกทั้งยังเป็นภาคเศรษฐกิจ ที่เปลี่ยนแปลงไม่ว่าจะเป็นภัยแล้ง หรือน�้าท่วม จนกระทั่งได้ ที่อาศัยทรัพยากร วัตถุดิบ แรงงาน และเทคโนโลยีภายใน พันธุ์ข้าวตัวอย่างแจกจ่ายให้กับเกษตรกร ประเทศในสัดส่วนทีสง และมีแนวโน้มในการเติบโตสูงอย่างต่อ ู่ ต้องยอมรับว่าปัญหาส�าคัญประการหนึงทีมาพร้อมกับ ่ ่ เนื่อง แต่ขณะเดียวกันก็ยังมีประเด็นที่ท้าทายหลายประการ อุทกภัย คือ ผลผลิตข้าวเสียหายเนื่องจากน�้าท่วมพื้นที่นาข้าว ซึ่งอาจท�าให้ศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันของ ซึงนอกจากส่งผลกระทบต่อเกษตรกรเจ้าของทีนาแล้ว ยังส่งผล ่ ่ ประเทศลดลง หากไม่มีการปรับตัว และพัฒนาให้ก้าวหน้าไป กระทบโดยตรงต่อเศรษฐกิจของประเทศ เนืองจากประเทศไทย ่ อย่างต่อเนื่อง ส่งออกข้าวเป็นอันดับ 1 ของโลก การน�าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้เพือสร้างความ ่ ด้วยเหตุน กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย ี้ เข้มแข็งเพือยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันจึงกลายเป็น ่ ศูนย์พนธุวศวกรรมและเทคโนโลยีชวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) ั ิ ี สิงจ�าเป็นทีจะหนุนภาคเกษตรและอุตสาหกรรมอาหารของไทย ่ ่ ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ให้ก้าวไปข้างหน้า และสามารถยืนหยัดอยู่บนเวทีโลกได้อย่าง จึงได้พฒนาและปรับปรุงพันธุขาวให้มคณสมบัตทนต่อภาวะน�า ั ์้ ีุ ิ ้ ยั่งยืนและสง่างาม ท่วมด้วยเทคโนโลยีชวภาพร่วมกับวิธการผสมพันธุแบบดังเดิม ี ี ์ ้ จนได้สายพันธุ “ข้าวหอมชลสิทธิ์ ทนน�าท่วมฉับพลัน” ที่เป็น ์ ้ 1.1 ภาคการเกษตร ลูกผสมระหว่างข้าวทนน�าท่วมกับข้าวขาวดอกมะลิ 105 สามารถ ้ ทนต่อภาวะน�าท่วมฉับพลันได้นาน 2 สัปดาห์ และให้ผลผลิต ้ เกษตร คือ ภาคการผลิตพืชอาหารทีสาคัญของประเทศ ่� สูงถึง 900 กิโลกรัมต่อไร่ เหมาะกับพืนทีปลูกข้าวในภาคกลาง ้ ่ แต่ดวยสภาพการเปลียนแปลงของภูมอากาศท�าให้ภยธรรมชาติ ้ ่ ิ ั ทั้งยังเป็นพันธุ์ข้าวที่สามารถปลูกได้ตลอดทั้งปี โดยกระทรวง มีความรุนแรงและมีความถี่มากขึ้น โดยพืชที่ได้รับผลกระทบ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ทดลองปลูกข้าวสายพันธุ์ใหม่ ในวงกว้างได้แก่ ข้าว ซึ่งที่ผ่านมาผู้ผลิตรายใหญ่ ไม่ว่าจะ ทีได้จากการวิจยร่วมกับเกษตรกร เพือหาแนวทางในการแจกจ่าย ่ ั ่ เป็น อินเดีย จีน เวียดนาม รวมทั้งไทย ล้วนประสบปัญหาภัย พันธุ์ข้าวทนน�าท่วมต่อไป ้ ธรรมชาติกระทบการผลิต ส่งผลให้สต๊อกข้าวของโลกลดลงจึง ทั้งนี้ ไบโอเทคได้ให้ความส�าคัญและด�าเนินงานวิจัย เป็นสาเหตุท�าให้นานาประเทศหวันวิตกว่าจะกระทบกับความ ่ และพัฒนาด้านการปรับปรุงพันธุขาวด้วยวิธการทางเทคโนโลยี ์้ ี มั่นคงทางอาหารของโลก ชีวภาพอย่างต่อเนือง ตังแต่ป 2532 และได้เข้าร่วม “โครงการ ่ ้ ี วิจยจีโนมข้าวนานาชาติ” ในปี 2542 เพือเพิมศักยภาพการวิจย ั ่ ่ ั 1.1.1 การพัฒนาพันธุ์ข้าว ด้าน whole-genome sequencing ของนักวิจัยไทย และ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เล็งเห็นถึงปัญหา สามารถน�าความรูจากการเข้าร่วมโครงการฯ ไปเป็นประโยชน์ ้ ดังกล่าวและได้ให้ความส�าคัญกับภาคการเกษตรและความมันคง่ ส�าหรับการพัฒนาพันธุขาว โดยเฉพาะอย่างยิงการค้นหายีน ที่ ์้ ่ ด้านอาหาร โดยเฉพาะ “ข้าว” ซึ่งถือเป็น ”หัวใจ” ส�าคัญที่มี ส�าคัญในข้าวไทย และการพัฒนาดีเอ็นเอเครืองหมายทีควบคุม ่ ่ รายงานประจ�าแปี 2553 25 กระทรวงวิทยาศาสตร์ ละเทคโนโลยี
  • 29. แปลงปลูกข้าวน�้าท่วมนาน 7 วัน แปลงปลูกข้าวหลังน�้าลด พันธุ์หอมชลสิทธิ์ (ภาพบน) และพันธุ์ กข31 (ภาพล่าง) พื้นที่ปลูกข้าวเปรียบเทียบระหว่างพันธุ์หอมชลสิทธิ์ (ทนน�้าท่วม) และพันธุ์ กข31 (ไม่ทนน�้าท่วม) อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี ลักษณะส�าคัญเพือใช้ในการคัดเลือกและปรับปรุงพันธุรวมกับ ่ ์่ ก็ได้พฒนางานวิจยด้านการวิเคราะห์ทดสอบและการผลิตสาร ั ั วิธการปรับปรุงพันธุแบบมาตรฐาน (conventional breeding) ี ์ อ้างอิงการวัดแคดเมียมในข้าว เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือด้าน เช่น คุณภาพเมล็ด ความสามารถทนต่อน�้าท่วม ทนเค็ม ทน การวัดแคดเมียมให้กับข้าวไทย ซึ่งนอกจากจะช่วยสร้างหลัก แล้ง ต้านทานโรคไหม้ ต้านทานโรคขอบใบแห้ง ต้านทานเพลีย ้ ประกันทางด้านคุณภาพและความปลอดภัยในการบริโภคข้าว กระโดดสีน�้าตาล เป็นต้น ท�าให้ร่นระยะเวลาในการปรับปรุง แล้ว ยังช่วยเพิมขีดความสามารถในการแข่งขันของข้าวไทยใน ่ พันธุ์ข้าวได้เร็วกว่าวิธีดั้งเดิม ตลาดโลกได้เพิ่มมากขึ้น ในปีงบประมาณ 2553 กระทรวงวิทยาศาสตร์และ อย่างไรก็ตาม พันธุ์ข้าวที่พัฒนาขึ้น พร้อมกับเทคนิค เทดโนโลยี โดยส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนในข้าวที่แม่นย�า จะใช้ให้ได้ผล แห่งชาติ (สวทช.) ได้ร่วมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จ�าเป็นต้องบริหารจัดการพืนทีเ่ พาะปลูกให้มความเหมาะสม โดย ้ ี ทดลองน�าพันธุ์ข้าวหอมชลสิทธิ์ ซึ่งเป็นพันธุ์ข้าวทนน�้าท่วม กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้มอบหมายให้สานักงาน � ฉับพลันและมีกลิ่นหอม ลงไปปลูกในแปลงนาของเกษตรกร พัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์กรมหาชน) ในพื้นที่หมู่บ้านข้าวหอมนิล จังหวัดอ่างทอง และหมู่บ้านข้าว (สทอภ.) เดินหน้าใช้ประโยชน์จากภาพถ่ายแผนที่ดาวเทียม อ�าเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพือให้เป็นศูนย์เรียนรู ่ ้ ในการตรวจสอบสภาพพืนทีเ่ พาะปลูก รวมถึงขึนทะเบียนพืนที่ ้ ้ ้ สาธิตและถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ภาคการผลิตในชุมชน เพาะปลูกข้าวของเกษตรกรทังประเทศ ในโครงการประกันรายได้ ้ ในขณะเดียวกัน สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (มว.) เกษตรกรผู้ปลูกข้าว รอบที่ 2 26 Annual Science and Technology Ministry of Report 2010
  • 30. สทอภ. ได้จดหาข้อมูลจากดาวเทียม THEOS, LANDSAT ั และ ALOS เพือน�ามาใช้วเิ คราะห์ พร้อมทังด�าเนินการจัดท�าฐาน ่ ้ ข้อมูลส�าหรับโครงการ แผนที่แสดงพื้นที่ปลูกข้าว มาตราส่วน 1:25,000 จ�าแนกรายต�าบล พร้อมทังพัฒนาระบบบริการแผนที่ ้ ภาพสผสมจรง (Red Green Blue) ขอมลจากดาวเทยม THEOS ตาง ี ิ ้ ู ี ่ ทางอินเทอร์เน็ตแสดงพื้นที่ปลูกข้าว (Web Map Service: ช่วงเวลา บันทึกภาพวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2553 (บน) และ 22 เมษายน WMS) เพือให้หน่วยงานร่วมโครงการ และหน่วยงานทีเ่ กียวข้อง ่ ่ 2553 (ล่าง) แสดงการติดตามพื้นที่ปลูกข้าว ปี 2552/53 รอบที่ เรียกดูขอมูลแผนทีผานอินเทอร์เน็ตได้ โดยข้อมูลทีได้ถกส่งให้ ้ ่่ ่ ู 2 ของต�าบลดอนแสลบ กิ่งอ�าเภอห้วย กระเจา จังหวัดกาญจนบุรี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพือน�าข้อมูลไปใช้ในกระบวนการ ่ ตรวจสอบข้อมูลพื้นที่ปลูกข้าวให้ถูกต้องตามข้อเท็จจริงต่อไป ค้นพบพืชเศรษฐกิจใหม่ อย่างเช่น ดอกชมจันทร์ ที่มีคุณค่า ทางโภชนาการ ไขมันต�่า ช่วยในการระบาย อีกทั้งศึกษา 1.1.2 วิจัยพันธุ์พืชเพื่อการเกษตรกร คุณสมบัติของชาผักหวานป่า ที่ช่วยต้านอนุมูลอิสระสูงกว่า กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยสถาบันวิจยั ชาใบหม่อน/ชาดอกค�าฝอย ที่ประกอบด้วยวิตามิน ช่วยลด วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ได้ด�าเนิน ระดับคอเลสเตอรอลและลดความเสี่ยงการเกิดโรคเนื่องจาก งานวิจยและพัฒนา เพือพัฒนาและปรับปรุงพันธุพช ณ สถานี ั ่ ์ ื การเสือมสภาพของร่างกาย ทีมวิจยจึงได้พฒนาชาผักหวานป่า ่ ั ั วิจยล�าตะคอง อ�าเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ซึงสามารถ ั ่ ให้อยูในรูป ชาผักหวานป่าพร้อมดืม สามารถผลิตและจ�าหน่าย ่ ่ รายงานประจ�าแปี 2553 27 กระทรวงวิทยาศาสตร์ ละเทคโนโลยี